Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore มะละกอ

มะละกอ

Published by dog_2521, 2020-05-14 03:10:59

Description: มะละกอ

Search

Read the Text Version

ส่งเสรมิ การอ่านออนไลน์ รวบรวมขอ้ มลู โดยหอ้ งสมดุ ประชาชนอาเภอครุ ะบรุ ี กศน.อาเภอครุ ะบรุ ี สานักงาน กศน.จงั หวดั พงั งา มะละกอ มะละกอ มีชื่อวทิ ยาศาสตร์วา่ Carica papaya L. เป็นไมล้ ม้ ลุกขนาดใหญ่สงู ราว 1-8 เมตร ล้าต้นสีน้าตาลอ่อนตงั้ ตรง มนี ้ายางสี ขาวทั่วทัง้ ลา้ ตน้ ไม่แตกกง่ิ แต่มีกา้ นใบยาว 25-90 เซนตเิ มตร มใี บเรยี งสลับรอบต้นไป จนถงึ ยอด ใบกวา้ ง 25-60 เซนตเิ มตร ขอบ ใบเปน็ หยกั ลึก ดอกเปน็ ช่อสีขาวนวล ผลเป็น รูปยาวรี ปลายแหลม เมอ่ื ยงั ดิบเน้อื แข็ง มีสี ขาวอมเขียว เม่ือสุกเน้ือจะออ่ นนมุ่ มสี ีเหลือง สม้ -สม้ -เกือบแดง รสหวาน ภายในผลจะมี เมล็ดรูปไขส่ นี ้าตาลด้า ผวิ ขรุขระจ้านวน มาก มะละกอเปน็ ผลไม้ท่หี ากินไดง้ า่ ย มขี าย ตามทอ้ งตลาดทวั่ ไป มะละกอมีหลายสายพันธุ์ แตล่ ะพนั ธุก์ ใ็ หส้ สี นั ของเนอ้ื ลักษณะของเน้ือ และรสชาติแตกต่างกนั ไป ท่นี ยิ มในประเทศ ไทยได้แก่ พันธแุ์ ขกด้า พนั ธุแ์ ขกนวล พนั ธ์ุ ฮอลแลนด์

คณุ ค่าทางโภชนาการของมะละกอ มะละกอดบิ ปรมิ าณ 100 กรมั ให้พลงั งาน 43 กิโลแคลอรี อดุ มไปดว้ ย คาร์โบไฮเดรต 10.82 กรัม น้าตาล 7.82 กรมั เสน้ ใย 1.7 กรมั ไลโคปีน 1,828 ไมโครกรัม เบตาแคโรทีน 274 ไมโครกรมั ลทู นี และซีแซนทนี 89 ไมโครกรัม นอกจากนย้ี ังมีสารอาหาร วติ ามินและแร่ธาตอุ น่ื ๆ อกี หลายชนดิ ได้แก่ โปรตีน ไขมัน วิตามินเอ วติ ามินบ1ี วติ ามนิ บ2ี วิตามินบ3ี วติ ามินบี 5 วิตามนิ บ6ี วิตามินบ9ี วติ ามินซี 62 มิลลกิ รัม วติ ามินอี วติ ามนิ เค แคลเซียม ธาตุเหล็ก ธาตแุ มกนีเซียม ธาตแุ มงกานสี ธาตุฟอสฟอรัส ธาตุ โพแทสเซยี ม ธาตุโซเดยี ม ธาตุสงั กะสี ประโยชน์ของการรบั ประทานมะละกอ 1. ชว่ ยบา้ รงุ ประสาทและสมองได้เปน็ อย่างดี 2. ชว่ ยในการยอ่ ยอาหารไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ เนอ่ื งจากอดุ มไปด้วยเอนไซม์ ช่วยในการยอ่ ยอาหาร 3. ชว่ ยแกป้ ัญหาท้องผูกได้ เน่อื งจากมะละกอสุกถือเปน็ ยาระบายอ่อนๆ ชว่ ยปอ้ งกันโรคลักปดิ ลกั เปดิ หรือโรคเลอื ดออกตามไรฟัน และยังมีส่วนชว่ ยในการ ป้องกนั การเกิดโรคนิว่ ในระบบทางเดนิ ปัสสาวะได้ อดุ มไปดว้ ยสารต้านอนมุ ลู อสิ ระหลายชนดิ ซึง่ มีสว่ นชว่ ยให้สุขภาพแขง็ แรง ช่วย ชะลอวัย และบา้ รุงผิวพรรณให้เปลง่ ปลั่ง สดใส ผลงานวจิ ยั ชิน้ หนึ่งอ้างวา่ การรับประทานมะละกอเปน็ ประจา้ ชว่ ยปอ้ งกนั การเกิด มะเรง็ ได้

ไอเดยี การใชม้ ะละกอเพ่ือสขุ ภาพ เพม่ิ น้านม สา้ หรับคณุ แมห่ ลงั คลอดทีต่ อ้ งการเพม่ิ น้านมให้ลูกนอ้ ย แนะนา้ ให้ กินมะละกอสกุ เน่อื งจากจะมสี ว่ นชว่ ยเพิ่มน้านมให้มีปริมาณท่เี พมิ่ มากข้นึ แต่ ควรรับประทานในปรมิ าณที่เหมาะสม แกอ้ าการขดั เบา นา้ รากสดประมาณ 1 ก้ามอื กบั รากแห้งอีกคร่งึ ก้ามือ จากน้ันน้ามาหั่นและต้มกบั น้า นา้ มาดื่มวันละ 3 ครง้ั ก่อนม้อื อาหารแต่ละมื้อ จะ ชว่ ยรกั ษาอาการขัดเบาไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ แกอ้ าการผดผ่ืนคนั บนลา้ ตวั แนะน้าใหใ้ ช้ใบ 1 ใบ น้ามะนาวประมาณ 2 ผล และเกลอื ประมาณ 1 ช้อนชา นา้ วตั ถดุ ิบท้งั หมดมาตา้ ใหล้ ะเอยี ด จากนั้นเอา ไปทาทบ่ี รเิ วณท่ีมผี ดผ่ืนคัน วิธนี ีช้ ่วยใหอ้ าการดังกล่าวคอ่ ยๆ หายไปและดขี ้ึน ตามปกติ ชว่ ยฆา่ เชอื้ ราบริเวณแผล น้ายางจากมะละกอดบิ มาทาบริเวณที่เป็น กลาก เกลอ้ื น และเท้าเปอื่ ย ทาวนั ละประมาณ 3 คร้งั จะชว่ ยฆ่าเชือ้ ราท่อี ยู่ บริเวณท่เี ป็นแผลได้เปน็ อยา่ งดี ชว่ ยรกั ษาแผลพุพอง อักเสบ นา้ ใบแหง้ มาบดใหเ้ ป็นผง ผสมน้ากะทิ ผสม ใหเ้ ขา้ กนั พอเหนยี วแล้วนา้ มาทาแผลวันละ 3 ครงั้ ชว่ ยลดอาการปวดบวม น้าใบสดมาย่างไฟ หรอื ลวกด้วยนา้ ร้อน จากนน้ั น้ามาประคบบรเิ วณทม่ี ีอาการปวดบวมจะชว่ ยลดอาการไดด้ ี หรือจะน้าใบ มะละกอสดมาตา้ ให้พอหยาบแล้วน้ามาหอ่ ดว้ ยผา้ ขาวบางสะอาด ทา้ เปน็ ลูก ประคบกไ็ ดเ้ ชน่ เดียวกนั ชว่ ยให้หนา้ ใส น้าเนอื้ สุกนา้ มาผสมกับนมสดและน้าผึ้ง น้ามาปัน่ ให้เขา้ กนั จนละเอยี ด จากนัน้ เอามาทาบริเวณผิวหนา้ และผิวกายตามตอ้ งการ ท้งิ ไว้ ประมาณ 15 นาที จงึ ค่อยล้างออกด้วยน้าสะอาด วธิ นี ้ถี อื เปน็ การทรที เมนทห์ นา้ ใสไดอ้ ย่างปลอดภัยและเหน็ ผลได้อย่างชัดเจน

ขอ้ ควรระวงั ควรเลอื กมะละกอทม่ี คี ณุ ภาพ มีผวิ สเี หลอื งบางสว่ น หรือเหลอื งทัง้ หมด และ ผลของมะละกอตรงบริเวณขัว้ ทีต่ ิดกบั ลา้ ต้นไมค่ วรน่มิ เหลว ไม่ควรรบั ประทานมะละกอท่ดี บิ จนเกนิ ไป ซึง่ ผลท่ีดบิ เกินไปจะมเี ปลอื กนอกสี เขียวและมเี น้อื ที่แขง็ มาก ไม่ควรรบั ประทานในปรมิ าณทีม่ ากจนเกินไป เพราะเส่ียงตอ่ การทา้ ให้เกดิ ปญั หาสุขภาพตามมาได้ เช่น ผิวเหลือง เบือ่ อาหาร เซื่องซมึ นอนไมห่ ลับ หลีกเลี่ยงไม่ให้ผวิ หนงั สัมผสั กบั ยางมะละกอ เพราะอาจเสี่ยงท้าให้เกดิ ปญั หาต่อ ผวิ หนงั ได้ สา้ หรบั คณุ แม่ต้งั ครรภ์น้นั ควรหลีกเล่ยี งการรบั ประทานมะละกอเพราะมี หลักฐานทางวิทยาศาสตรช์ ใ้ี หเ้ หน็ ว่า สารเคมพี าเพนที่อย่ใู นมะละกออาจเปน็ พษิ ตอ่ ทารกนอ้ ยในครรภไ์ ด้ รวมทง้ั อาจท้าให้เกดิ ภาวะพิการแต่ก้าเนดิ ดงั น้ันหากคุณ แมต่ ้ังครรภ์ควรปรึกษาแพทย์กอ่ นเพอ่ื ปลอดภัยทัง้ คุณแม่และทารกในครรภ์ สา้ หรับผปู้ ่วยโรคเบาหวานควรระมัดระวังในการรบั ประทานมะละกอ เพราะ อาจสง่ ผลทา้ ให้ระดับน้าตาลในเลือดได้ ดังนั้นกอ่ นรับประทานมะละกอ ควร ปรกึ ษาแพทย์เพือ่ เช็คและควบคมุ ระดับนา้ ตาลใหอ้ ยใู่ นระดบั ทเ่ี หมาะสม ผทู้ ีม่ ีอาการแพส้ ารพาเพน ควรหลกี เลี่ยงการรบั ประทานมะละกอ เนือ่ งจาก ในมะละกอจะมีสารชนิดนอ้ี ยู่ ผู้ป่วยทต่ี ้องเขา้ รบั การผา่ ตดั ไม่ควรรบั ประทานมะละกอ โดยเฉพาะมะละกอท่ี ผา่ นการดอง อาจท้าให้ระดับนา้ ตาลในเลอื ดลดตา่้ ลงได้ ซึ่งนัน่ อาจทา้ ให้เกดิ ผล กระทบต่อการควบคุมระดับน้าตาลในเลือดในระหว่างและหลงั การผา่ ตัด ท้งั นี้ ผู้ป่วยท่ีตอ้ งเขา้ รับการผา่ ตัดควรหยดุ รบั ประทานมะละกออย่างน้อย 2 สปั ดาห์ กอ่ นเข้ารบั การผา่ ตดั

การปลกู มะละกอ ง่ายเหมือนปอกกลว้ ย แล้วท้าไมจงึ ตอ้ งเรียนรู้ข้นั ตอน การปลกู การดูแล และการป้องกันก้าจดั โรคและแมลง? เพื่อการปลกู เชงิ การค้า และมีปริมาณมาก จ้าเป็นต้องอาศัยข้ันตอนทีพ่ ถิ พี ถิ ัน เริ่มตัง้ แตก่ ารเลอื กพ้ืนท่ี ไปจนถงึ การเก็บเกย่ี ว เพื่อใหไ้ ด้ผลผลิตมะละกอที่มีคุณภาพตามมาตรฐานเปน็ ท่ี ต้องการของตลาด โดยเฉพาะการสง่ ออก ขอเนน้ ย้าอกี ครง้ั วา่ ตอ้ งปลอดสารเคมี ในทกุ ข้ันตอนหากคิดจะปลูกมะละกอเพื่อสง่ ออกไปจา้ หน่ายยังตา่ งประเทศ มาดู กันนะคะ ว่าจะแบบไหนทเ่ี หมาะส้าหรบั การปลูกมะละกอ? สภาพแวดล้อมท่เี หมาะสมในการปลกู มะละกอ พน้ื ท่ี - ดินมคี วามอุดมสมบรู ณ์ มธี าตอุ าหารต่างๆ ครบ ในสดั สว่ นทพ่ี อเหมาะ - มะละกอสามารถเจริญเตบิ โตได้ในดินทกุ ชนิด ต้ังแตด่ ินเหนียวจนถงึ ดนิ ทราย แต่ดนิ ทด่ี ีท่ีสุดส้าหรบั มะละกอ คือดนิ ร่วน หากพ้ืนท่ีเปน็ ดินเหนยี วหรอื ดนิ ทราย ควรมีการปรับปรงุ ดนิ ให้มีความร่วนซยุ - มีการระบายนา้ ที่ดี - หนา้ ดินมีความลึกทจ่ี ะใหร้ ากมะละกอเกาะยึดได้แน่นพอสมควร - พน้ื ท่ีที่มหี นา้ ดินและมชี ้ันดินดานอยู่ดา้ นลา่ งในระดบั ตนื้ ๆ ไม่ควรปลูกมะละกอ เพราะจะทา้ การรากแผ่กระจายออกได้ยาก รากจะเกาะยึดดินไดไ้ มแ่ น่นทา้ ให้โค่น ลม้ ไดง้ ่าย และเมื่อฝนตก น้าฝนจะซมึ ลงในดนิ ได้ยาก ทา้ ใหเ้ กดิ สภาพน้าท่วมขัง ไดง้ ่าย ในขณะท่ฤี ดแู ล้งดนิ จะอุม้ น้าไดน้ อ้ ย ต้นมะละกอจะขาดน้า หรือมตี ้นทนุ ใน การใหน้ า้ สงู ขึ้น

- ดินมคี วามเปน็ กรดดา่ งประมาณ 6 ถึง 7 - ไม่มีน้าทว่ มขงั มะละกอเป็นพชื ท่ีไมม่ ีความทนทานตอ่ สภาพน้าท่วมขัง หาก ถูกน้าทว่ มโคนตน้ ติดต่อกันนานเพยี งแค่ 24 ถงึ 48 ชั่วโมง อาจทา้ ให้ต้น มะละกอตายได้ หากไม่ตายกม็ ีโอกาสทีจ่ ะฟ้นื ตัวได้ยากมาก - เป็นพื้นทที่ ีไ่ ด้รบั แสงแดดจดั เพือ่ ใหล้ ้าต้นมีความแข็งแรงไมโ่ ค่นล้มง่าย และ ใหผ้ ลดก - เปน็ พน้ื ที่มอี ากาศถา่ ยเท ช่วยเพิ่มอัตราการคายน้าจากใบ เพ่อื ใหม้ ะละกอ ดดู ธาตอุ าหารจากดนิ ได้มากข้ึน ช่วยในการผสมเกสรได้ดี หากเปน็ พ้นื ทท่ี ่มี ีลม พดั แรงหรือพื้นที่โลง่ ควรปลกู พืชบงั ลมตามแนวรอบแปลงปลูกเปน็ ระยะๆ และควรเลอื กพันธุไ์ มท้ โี่ ตเรว็ เชน่ ไผ่ ยูคาลปิ ตสั และกระถินยกั ษ์ เปน็ ตน้ - ไม่ควรเลือกพ้ืนที่ที่เคยเกิดโรคระบาดรุนแรงมาก่อน โดยเฉพาะโรคใบจุดวง แหวน ซ่ึงเป็นโรคท่สี า้ คัญของมะละกอ - อยใู่ กลแ้ หลง่ รับซ้อื และมีการคมนาคมทสี่ ะดวก น้า ควรมีแหล่งน้าทพ่ี อเพียงโดยเฉพาะในชว่ งฤดแู ลง้ หรอื ชว่ งที่ฝนทิง้ ชว่ ง เน่อื งจากมะละกอมกี ารเจริญเตบิ โตตลอดท้ังปที ั้งทางลา้ ตน้ และทางใบ จะปลอ่ ย ใหข้ าดน้าไม่ไดเ้ พราะจะชะงักการเจริญเตบิ โต ผลผลติ จะมีขนาดเล็กลงและ ปรมิ าณลดลง ให้ดอกตัวผูม้ ากข้ึนหรอื ดอกเป็นหมนั มากขน้ึ นอกจากนแ้ี ลว้ ยงั ตอ้ งใช้เวลานานในการฟ้นื ตวั ให้เป็นปกตหิ ลงั จากไดร้ ับน้า

อณุ หภมู ิ มะละกอเปน็ ไมผ้ ลเมอื งรอ้ นท่ีทนทานต่ออณุ หภูมิทส่ี งู ไดด้ ี และมคี วามทนทาน ต่อความหนาวไดค้ อ่ นข้างดี แต่อาจมีการเจริญเตบิ โตที่ชา้ ลง ให้ผลผลติ น้อยลง และรสชาติไม่หวานเท่าช่วงทม่ี อี ุณหภมู ิสูง ฤดกู าล การปลกู มะละกอนิยมปลกู ในช่วงตน้ ฤดูฝนหรือกลางฤดฝู นเพอ่ื ให้ตน้ กล้า มะละกอตัง้ ตวั ได้เรว็ ส่วนพน้ื ที่ทม่ี ีระบบน้าชลประทานสามารถปลกู ไดต้ ลอดทงั้ ปี ขั้นตอน การปลูกมะละกอ การเตรยี มดินและแปลงปลกู ไถกลบดิน 1 รอบ และไถดะ 1 รอบ โดยเว้นระยะเวลาประมาณ 1 อาทิตย์ หลงั การไถเพื่อกา้ จดั วชั พชื และตากหนา้ ดนิ -ทา้ การยกรอ่ งแปลงปลกู สา้ หรบั พื้นท่ี ทเ่ี ส่ยี งตอ่ น้าทว่ มขัง ส่วนพื้นทีส่ งู หรอื เปน็ พ้นื ท่ลี าดเอียงอาจปลกู เป็นแนวโดยไม่ ตอ้ งยกรอ่ งปลกู ได้

การเตรยี มหลุมปลูก สา้ หรับพนื้ ท่ีทม่ี ีหนา้ ดินตื้น – หลุมปลูกในพ้ืนทีท่ ่หี นา้ ดินตื้น และแนน่ ให้ทา้ การขดุ หลมุ กวา้ ง ยาว ลึก อย่างละประมาณ 40 ถงึ 50 เซนตเิ มตร – ปลอ่ ยตากแดดประมาณ 4 ถงึ 7 วัน – รองพนื้ หลมุ ด้วยปุ๋ยหมักหรอื มลู สตั ว์ ส้าหรบั พน้ื ทีท่ มี่ หี นา้ ดนิ ลึก – เตรียมดินตามขัน้ ตอนเดยี วกันกับพน้ื ท่ที ีม่ หี นา้ ดนิ ตน้ี – ขดุ หลมุ ตื้นกว่า 40 เซนติเมตร เวน้ ระยะปลกู ที่ 3×3 เมตร หรือ 2.5×3เมตร ต่อหลมุ หรือต้น การปลูก นา้ ต้นกลา้ ทีม่ ีอายุประมาณ 1 เดือน หลงั งอกหรือมีใบแท้อย่างน้อยประมาณ 4 ถึง 6 คู่ มาปลูก โดยน้าต้นกลา้ ท่ีเพาะเมลด็ ในแปลงเพาะหรอื กระบะ หรือตน้ กลา้ ทีเ่ พาะในถงุ พลาสตกิ ท่ไี ดเ้ ตรยี มไว้ วางไวต้ ามหลุม ๆ ละ 1 ถงุ แล้วกรดี ถงุ พลาสติกออก น้าต้นกลา้ วางลงกลางหลมุ ด้วยความระมัดระวงั อย่าใหร้ าก กระทบกระเทือนหรอื ขาด เพราะจะท้าให้เชอื้ โรค โดยเฉพาะเชอ้ื ราเข้าท้าลาย รากได้ และควรมดี ินติดรากด้วยในขณะยา้ ยปลูก ตน้ มะละกอจะไม่ชะงักการ เจริญเติบโต กลบดนิ ใหแ้ น่น โดยเฉพาะรอบโคนต้นเพือ่ ใหร้ ากจับดนิ ใหม่ไดเ้ ร็ว ต้นจะตรงกันทกุ แถว แต่ไม่ควรพูนดนิ โคนต้นใหเ้ กนิ รอยปลูกระดบั เดมิ เพราะ อาจจะท้าใหเ้ กิดโรครากเน่าโคนเน่าได้ง่าย รดนา้ ใหช้ ่มุ หลังปลูกทนั ที

การดูแลมะละกอ หลงั การปลูก การให้นา้ แรกควรใหน้ า้ อย่างน้อยวันละ 2 ครงั้ ในช่วงเชา้ และเยน็ หลังจากมะละกอตั้งตน้ ได้ประมาณหลงั เดือนท่ี 2 อาจใหน้ ้าอยา่ งน้อยวันละ 1 ครั้ง หรือไม่ใหใ้ นวนั ฝนตกหรอื ขน้ึ กับปรมิ าณนา้ ฝน ชว่ งกอ่ นออกดอกจนถงึ ติดผลประมาณ 1 ถงึ 2เดือน ให้ทา้ การใหน้ า้ มากขน้ึ อย่างนอ้ ยวันละ 2 คร้ัง เพราะหากมะละกอขาดน้าในช่วงออกดอกจะท้าใหด้ อก ผลไม่สมบูรณ์ และร่วงลน่ ได้งา่ ย รปู แบบการใหน้ า้ วิธกี ารให้น้ามะละกอจะแตกตา่ งกันตามสภาพพื้นท่ีและวิธกี ารปลกู ซ่ึงแบง่ ออกเป็น 3 ประเภท ดังนี้ 1. การให้นา้ ดว้ ยเรือพ่นนา้ —เหมาะส้าหรับการใหน้ ้าในรอ่ งสวนท่รี าบลุม่ ภาคกลาง ภาคตะวนั ตก และภาคตะวันออก โดยใช้เคร่ืองสบู นา้ เขน็ ไปตารอ่ ง สวน ในฤดรู ้อนให้รดน้าประมาณ 3 ถึง 5 วนั ต่อคร้ัง ในฤดฝู น อาจไม่ จา้ เป็นตอ้ งรดนา้ แตถ่ ้าฝนทิ้งชว่ งหรือดนิ แห้ง ควรใหน้ ้า ***ควรระวังความแรงของน้าจากเครอื่ งปัม๊ นา้ ไม่ควรให้น้ามากและแรงเกินไป จะท้าให้เกดิ การชะล้างปุ๋ยและอนิ ทรียวัตถุออกไปจากหน้าดินได้ 2. การให้น้าแบบสายยาง—ส่วนมากใชก้ บั แปลงปลูกมะละกอท่ีเป็นสภาพ พืน้ ทดี่ อน ขนาดแปลงปลกู ไมม่ ปี รมิ าณมาก โดยใชเ้ ครือ่ งสบู น้า วางทอ่ ส่งน้า หลกั มปี ระตเู ปดิ ปดิ น้าเปน็ ระยะตามต้าแหน่งทต่ี อ้ งการให้นา้ 3. การใหน้ ้าแบบหัวเหว่ียงฝอยมินิสปรงิ เกลอร—์ เป็นการให้น้าอยา่ ง ประหยัดหน้า ใหน้ ้าในปรมิ าณทส่ี ม้่าเสมอ สามารถใส่ปยุ๋ และสารเคมีไปกบั น้าได้ ลดการชะล้างหน้าดิน สะดวก ประหยัดเวลา แรงงานและค่าใชจ้ า่ ย เหมาะ สา้ หรบั การปลูกมะละกอในพ้นื ทีข่ นาดใหญ่ แตต่ ้องลงทนุ สงู ในการตดิ ต้งั

การใหป้ ุ๋ย จ้าเป็นต้องใหท้ ้ังปุย๋ อินทรีย์ และปุย๋ เคมี เพือ่ รักษาความอุดมสมบรู ณข์ องดนิ และเพิ่มแรธ่ าตใุ หแ้ กม่ ะละกอ วธิ กี ารใหป้ ๋ยุ อนิ ทรยี ์ หรือปุย๋ หมัก ให้ในอตั รา 5 กิโลกรมั ตอ่ ตน้ 3 ระยะ คือ ในระยะหลงั ปลูกท่มี ะละกอตง้ั ต้น ได้ ระยะกอ่ นมะละกอออกดอกรนุ่ แรก และระยะตดิ ลูก หลังจากเก็บเกย่ี วผลผลติ ในคร้งั แรก ให้ป๋ยุ อนิ ทรีย์หรือปุ๋ยหมักในระยะ 2 เดอื น ตอ่ ครัง้ ในอตั ราเดิม การใหป้ ยุ๋ เคมี สูตรน้าฉีดพน่ ทางใบ สตู ร 21-21-21 ในอัตราต้นละ 50 กรัม หลังจากย้าย ปลูกประมาณ 1 เดอื น และใหท้ กุ เดอื นตลอดอายุ 3 เดือน หลังยา้ ยปลูก โดยเพิม่ ปริมาณปยุ๋ ในอัตรา 50 กรัม ทกุ ๆ 1เดอื น ให้ปุย๋ เคมีทางดนิ สูตร 24-12-12 หลังจากยา้ ยปลกู 1 เดอื น เพอ่ื เร่งการ เจริญเติบโตและให้ตลอดจนถงึ ระยะออกดอก หลังจากน้ันให้เปลี่ยนเป็นสตู ร 13- 13-21 หรอื ใหส้ ูตรอืน่ ทีเ่ ลขสองตวั หนา้ มตี วั เลขน้อยกวา่ ตวั เลขสดุ ท้าย เพอื่ ใหต้ ดิ ผล และผลมีมคี วามสมบูรณ์ หลงั การเกบ็ เก่ยี วผลรนุ่ แรกให้ใช้สตู ร 15-15-15 ตลอดอายขุ องมะละกอกไ็ ด้

การกา้ จัดวัชพชื เป็นส่ิงจ้าเปน็ โดยเฉพาะช่วงทต่ี ้นมะละกอยงั เล็กอยู่ โดยการใช้จอบถาง และไม่ควรใช้สารเคมีในการกา้ จัดวชั พชื เนอ่ื งจากมะละกอเปน็ พชื ทไี่ วตอ่ ปฏกิ ริ ิยาทางเคมีในยากา้ จัดวัชพืชมาก การตัดแต่ง ระยะ 8 ถงึ 10 สปั ดาห์ หลงั ย้ายปลูกลงแปลง ให้ตัดดอกเพศเมียออก เกบ็ ดอกสมบูรณเ์ พศไว้ และบา้ รุงต้นใหแ้ ข็งแรง หลงั การเก็บเกีย่ วผลผลิตในปีท่ี 3 ควรตดั ยอดตน้ มะละกอใหเ้ หลอื ต้นตอสงู ประมาณ 12 ถงึ 18 นิว้ แลว้ พรวนดิน ให้ปยุ๋ ใหน้ ้า ก่งิ ใหมจ่ ะเรม่ิ แตก เมื่อกิง่ ที่ แตกใหม่อายไุ ดป้ ระมาณ 3 ถงึ 4 สปั ดาห์ ให้เลอื กกิง่ ที่สมบรู ณ์ไว้ประมาณ 2 ถงึ 3 ก่ิง นอกนนั้ ใหป้ ลิดทิ้ง และท้าการผูกกงิ่ ท่ีเหลอื ไวก้ บั เสาไมเ้ พ่ือปอ้ งกนั ลมพดั กง่ิ หกั การเด็ดผล ควรปฏิบตั ิเมอ่ื มะละกอเกิดขน้ั มากกวา่ หนึ่งผลในหนึ่งชอ่ เพื่อป้องกันไม่ ใหผ้ ลบิดเบี้ยว หรอื มีขนาดเล็กลง และป้องกันต้นมะละกอโคน่ ลม้

การเก็บผลผลิตมะละกอ มะละกอดิบ—นิยมเกบ็ เกยี่ วเมื่อมะละกอมีอายุประมาณ 6 ถงึ 7 เดอื น หลงั ย้ายปลกู อายุผลประมาณ 1 ถงึ 2 เดือน หลังจากดอกบาน เกบ็ ทกุ 10 ถงึ 15 วัน ต่อครง้ั มะละกอสุก—ควรเลือกเก็บเมอ่ื มะละกอเร่มิ เปล่ียนสผี ล ถา้ เปน็ การจา้ หนา่ ย ไปยงั ตลาดในประเทศ จะเก็บเมื่อผลสกุ มากกวา่ การเกบ็ ไปจา้ หนา่ ยยังตลาด ต่างประเทศ วธิ เี ก็บผล ตน้ เต้ีย สามารถใช้มอื เกบ็ ได้ ตน้ สงู ใหใ้ ชไ้ มจ้ า้ ปา ซึง่ ท้าดว้ ยไมไ้ ผ่นา้ มาผา่ แยกเป็นแฉก รองบนแฉกด้วย ผ้านุ่มๆ สวมไปทป่ี ลายผลมะละกอแลว้ คอ่ ยๆ บิด

การปฏิบตั หิ ลงั การเกบ็ เกยี่ ว นา้ ผลมะละกอบรรจใุ ส่ภาชนะแล้วลา้ เลียงไปยังสถานทคี่ ัดบรรจุ แต่ตอ้ ง ปฏบิ ัติด้วยความระมดั ระวงั ไม่ใหเ้ กิดบาดแผลหรือรอยชา้ คดั เลอื กผลท่ีผดิ ปกติ หรือไมไ่ ด้ขนาด และมตี า้ หนิออก ทา้ ความสะอาด นา้ ผลมาแช่ในน้ารอ้ นอุณหภมู ิ 49 องศาเซลเซียส เปน็ เวลา 20 นาที หรอื อาจผสมไธอะเบนดาโซล หรือเบโนมลิ ลดอุณหภมู ิ โดยแช่ในน้าเยน็ ไหลผ่านให้ผลมะละกอมอี ุณหภูมิประมาณ 1 ถึง 14 องศาเซลเซยี ส จากน้ันน้าไปสะเด็ดน้าดว้ ยพัดลม ตรวจสอบคุณภาพอกี คร้งั บรรจุผลตั้งในกล่องกระดาษโดยให้ดา้ นข้วั ลงแล้ว ปิดฝากล่อง น้าเข้าเกบ็ ในห้องอณุ หภมู ปิ ระมาณ 1 ถงึ 14 องศาเซลเซยี ส เพือ่ รอการ ขนสง่

แมลงศัตรพู ชื และโรคพชื ทสี่ าคญั ของมะละกอ 1. เพลี้ยไฟ มะละกอ ลักษณะการทา้ ลาย/อาการ : ดดู กนิ น้าเล้ยี งใต้ใบและบนผลออ่ น ทา้ ให้ผิว ของผลมีลักษณะเปน็ ข้ีกลากสีน้าตาล เพลี้ยไฟเป็นแมลงตัวขนาดเล็กมาก รูปรา่ งคล้ายเขม็ สแี ดงออกน้าตาล เข้าทา้ ลายชว่ งระยะดอก โดยจะดูดกินน้า เล้ียง เพลีย้ ไฟจะดดู กินน้าเล้ยี งบรเิ วณขวั้ ดอกกบั ยอดออ่ น ทา้ ใหด้ อกและผลเลก็ รว่ งหลน่ เพลย้ี ไฟเป็นแมลงขนาดเลก็ มาก มี 6 ขา มลี า้ ตัวแคบยาว สีเหลอื งซดี เมอ่ื โต เต็มท่ีมีปกี ยาวบนหลังจึงบดิ ไดแ้ ละปลิวไปตามลมไดด้ ว้ ย มักพบระบาดในชว่ ง ปลายฤดูฝนถงึ ต้นฤดแู ลง้ อาการทพี่ บใตผ้ วิ ใบจะแห้งเหยี่ ว โดยเฉพาะเส้นกลาง ใบหรือขอบใบแห้งเปน็ สีน้าตาลถา้ เปน็ กบั ผลทา้ ใหผ้ ลกร้านเป็นสีน้าตาล ในฤดู ฝนจะไม่ค่อยพบ

2. ไรแดง มะละกอ ลกั ษณะการทา้ ลาย/อาการ : ทา้ ลายกา้ นใบ แผ่นใบ และผลมะละกอสุก โดยจะดดู นา้ เลี้ยงใต้ผิวใบมะละกอขนาดของตวั เลก็ มาก ตัวแกเ่ ปน็ สแี ดงหรื ออมชมพหู รือสเี หลอื ง ดูดกนิ ้าเล้ยี งใบแก่ กินไปเร้อื ย ๆ จนตน้ โทรม กินถงึ ยอด จนต้นโกร๋น ลกั ษณะการเขา้ ทา้ ลายเหมือน มะละกอใบลา่ งโดนน้ารอ้ นลวก พบวา่ ใบมะละกอเปน็ สีเหลอื งซดี ต่อมาเปลี่ยนเปน็ สนี า้ ตาลแห้ง และร่วงไปใน ที่สดุ ผลมะละกอสกุ ทถ่ี กู ท้าลายจะเปลย่ี นเปน็ สเี ทาหรือสเี หลืองและจะแกก่ ่อน ก้าหนดรสชาตไิ ม่หวาน เป็นสัตว์ขนาดเล็กมี 8 ขา จะทา้ ให้ผวิ ใบจะไม่เขียวปกตเิ กดิ เป็นฝา้ ดา่ ง ถา้ ดู ใกล้ๆจะพบตัวไรสคี ล้าๆ อยเู่ ป็นจ้า นวนมาก เดินกระจายไมว่ ่องไว หรอื อาจ เห็นคราบไรสีขาวกระจายอย่ทู ่วั ไป แมลงศัตรูธรรมชาติคือด้วยเต่าเลก็ ตวั ด้า ล้า ตวั รี ตวั ออ่ นด้วงเตา่ กก็ นิ ไรไดด้ ี

3. แมลงวนั ทอง มะละกอ แมลงวันทองเป็นแมลงทท่ี ้าลายผลไมห้ ลายชนิด โดยจะวางไข่ท่ผี ลขณะ แกท่ า้ ใหห้ นอนท่ฟี ักเปน็ ตวั ท้าลายเน้อื ของผลเสยี หาย เม่อื อยู่บนตน้ หรือ ในขณะบม่ ผลแมลงวันทองจะระบาดในช่วงเดือนมนี าคมถึงเดอื นพฤศจกิ ายน ซึ่งเป็นช่วงที่ดนิ ชื้นตวั เตม็ วยั จะข้นึ จากดินมาผสมพันธกุ์ ัน และวางไข่ ชว่ งทที่ ้า ความเสียหายให้กับเกษตรกรมากท่สี ุดคอื ระยะท่ีเปน็ ตวั หนอน มกั จะพบใน มะละกอสุก

4. เพล้ยี หอย มะละกอ ลกั ษณะการท้าลาย/อาการ : ดูดน้าเลย้ี งทลี่ า้ ต้น ผล ก้านใบ และ ใบ แลว้ ขับถา่ ยของเสียออกมาทา้ ใหเ้ ชอื้ ราดา้ เจริญเตบิ โต จนใบ และผลมีสี ดา้ ให้ตน้ โทรม เพล้ียหอย ลา้ ตวั มีลกั ษณะเปน็ รูปไขย่ าวรี สว่ นหลงั นูน คล้าย ๆ กระดอง เต่า ตวั ออ่ นเคล่ือนทไ่ี ด้ พบระบาดในมะละกอทีก่ า้ ลังตดิ ผลผลติ ในชว่ งฤดู หนาว การท้าลายไดท้ ั้งสว่ น ล้าต้น ใบ และผล ทา้ ให้มะละกอผิวไม่สวย ขาย ไม่ได้ราคา

5. เพลยี้ อ่อน มะละกอ ลักษณะการทา้ ลาย/อาการ : ดดู น้าเลย้ี งจากส่วนทีอ่ อ่ นของล้าตน้ ท้าให้ ใบพืชผิดปกติ ใบจะบดิ หรือหดสน้ั ทา้ ใหต้ น้ มะละกอชะงกั การเจรญิ เตบิ โต เพล้ยี ออ่ น มีลักษณะเป็นแมลงตวั เล็ก ๆ สีใส คลา้ ย ๆ จดุ น้า จะดดู กินนา้ เลย้ี ง บรเิ วณยอดออ่ นและข้ัวดอก และผลเลก็ จะท้าให้ดอกรว่ ง ผลรว่ งบอ่ ย ๆ เพล้ียอ่อน เปน็ แมลงดูดทสี่ ้าคญั ชนิดหนง่ึ ในมะละกอ สันนิษฐานกันวา่ เปน็ ตัว ถา่ ยทอดโรคใบด่างเหลอื งทีเ่ กดิ จากเชือ้ ไวรสั ซง่ึ โรคน้ีพบว่าก้า ลงั เปน็ กับ มะละกอในแหล่งผลิตทางภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ และภาคกลาง

6. เพลย้ี แปง้ มะละกอ เพลย้ี แป้ง มลี ักษณะตัวนิ่ม ๆ สีขาว มีผงและเส้นใยสีขาวอยรู่ อบตัว ตวั อ่อนจะ อย่โู คนตน้ จะมีมดด้าเปน็ ตัวชกั นา้ เพล้ียแป้งข้นึ ส่ตู น้ มะละกอ เพล้ยี แป้งจะชอบ ดูดกนิ นา้ เล้ียง บรเิ วณใบอ่อน ยอดอ่อน ทา้ ให้ใบหงิก ยอดหงิก ไม่ตดิ ผล นอกจากนเ้ี พล้ียยงั เข้าทา้ ลายผลแกท่ า้ ใหม้ ะละกอผิวไมส่ วยไดอ้ ีกด้วย นอกจากนนั้ ยังขบั ถ่ายมลู หวานท้าใหเ้ ปน็ ตวั ดงึ ดดู ราด้า มกั พบในระยะฝนทิง้ ชว่ ง อากาศแห้งแลง้ เพลย้ี แป้งจะอาศัยอย่ใู ต้ดนิ ตามรากพืช เชน่ รากหญ้าแห้วหมู โดยมีมดซ่ึงอาศยั กนิ สิ่งขบั ถา่ ยของเพล้ียแป้งเปน็ พาหะน้าไป ตวั เต็มวยั ตัวเมียมขี นาดลา้ ตวั ยาวประมาณ 3 มม. สเี หลืองอ่อน ลกั ษณะ อ้วนสั้นมผี งสีขาวปกคลุมล้าตวั วางไข่เป็นกล่มุ ๆ ละ100-200 ฟองบนกาบใบ ตวั เมยี หนึง่ ตวั สามารถวางไข่ได้ 600-800 ฟอง ในเวลา 14 วนั ไขจ่ ะฟักอย่ใู น ถงุ ใตท้ อ้ งตวั เมียประมาณ 6 - 10 วนั จึงจะออกเป็นตวั ออ่ น มีสเี หลืองและยงั ไม่ มีผงสีขาว จะคลานออกจากกล่มุ ไขห่ าทีเ่ หมาะสมทจ่ี ะกนิ อยู่ ตัวเมียจะมกี ารลอก คราบ 3 ครั้ง และไมม่ ีปีก สว่ นตัวผจู้ ะลอกคราบ 4 คร้งั มีปีกแตจ่ ะมขี นาดเลก็ กวา่ ตัวเมยี ตวั เมียจะวางไขภ่ ายหลงั จากการลอกคราบครั้งที่ 3 ภายในเวลา 1 ปี เพล้ยี แป้งสามารถขยายพันธไ์ุ ด้ 2 - 3 รนุ่ ในระยะทไี่ มม่ ีพืชอาหารหลัก

7. แมลงหว่ขี าว มะละกอ จะเปน็ แมลงตัวเล็กสีขาว ๆ มองกลางวันไม่ค่อยจะเหน็ ตัว เน้อ่ื งจากสี เดยี วกนั กบั แสง จะดูดกินน้าเล้ยี งบริเวณยอดออ่ นของมะละกอ จะท้าให้ มะละกอดอกร่วงไม่คอ่ ยติดผล มักจะพบชว่ งเช้าหรอื เยน็ แมลงหว่ีขาวชอบ อาศัยอยตู่ ามต้นมะเขอื 8. โรครากเนา่ -โคนเนา่ มะละกอ โรครากเน่า-โคนเน่า เกดิ จากเช้อื พิเทยี มและไฟทอ๊ ปธอร่า เกดิ ไดท้ ุกระยะการเจริญเตบิ โตของมะละกอ ในระยะกลา้ เกิดจากการเน่าคอดิน กล้ามะละกอท่ีเป็นโรคจะเกดิ อาการใบเหลอื ง รากเนา่ ต้นมกั จะหักพบั ตรงโคน และเหี่ยวตายอย่างรวดเรว็ สา้ หรบั ตน้ ทีโ่ ตจะมอี าการเนา่ รอบๆล้าตน้ เปน็ สี น้าตาลหรือด้าลกั ษณะฉ่้านา้ รอยเน่าอาจขยายตวั ขน้ึ ด้านบนของลา้ ตน้ หรอื ขยายลงส่วนรากทา้ ใหร้ ากเน่าด้วย ใบทีเ่ กดิ มาใหม่จะมีก้านใบสั้นกวา่ ปกติ ใบท่ี เจรญิ เตม็ ทแ่ี ล้วจะเปลี่ยนเป็นสเี หลอื งเรว็ กวา่ ปกติ โรคนรี้ ะบาดมากในช่วงฤดู ฝน ถ้าตน้ มะละกอเปน็ โรคนีจ้ ะระบาดไดร้ วดเร็วไปทง้ั สวน

9. โรคใบด่างจดุ วงแหวน มะละกอ อาการ : ระยะต้นกลา้ ท้าให้กลา้ แคระแกรน็ ใบด่างเหลอื ง บดิ เบี้ยวเสีย รูป ใบจะหงิกงอเรียวเลก็ ถ้าเป็นโรครุนแรงใบจะเหลอื ง แต่เส้นใบ ต้นกล้าจะ ไมเ่ จริญและตายในทสี่ ดุ ระยะต้นโต อาการใบด่างเหลอื งบดิ เบ้ยี วบนล้าตน้ และ ก้านใบจะพบลักษณะทเี่ ปน็ จดุ หรอื ทางยาวสเี ขยี วเขม้ อาการที่ผลจะเห็นจุด ลักษณะเปน็ วงแหวนทั่วทัง้ ผล เนื้อบรเิ วณที่เป็นจุดวงแหวนมกั จะเป็นไต แขง็ มรี สขม 10. โรคใบด่างจดุ วงแหวนของมะละกอ เกดิ จากเชื้อ Papaya Ringspot Virus (PRV) เข้าท้าลายมะละกอทกุ ระยะการเจริญเตบิ โตระยะตน้ กล้า ทา้ ให้กลา้ แคระแกรน็ ใบดา่ งเหลือง บิดเบยี้ ว เสยี รปู ใบจะหงิกงอเรยี วเล็ก ถา้ เปน็ โรครนุ แรงใบจะเหลอื งแตเ่ ส้นใบ ตน้ กล้าจะ ไมเ่ จริญและตายในทสี่ ดุ ลกั ษณะการเข้าท้าลาย ระยะตน้ กลา้ เชอื้ ไวรสั จะเขา้ ทา้ ลายจะท้าให้ต้นแคระแกร็นใบด่างเหลอื ง บิด เบยี้ วเสยี รปู ใบจะหงกิ งอ เรยี วเลก็ เหมือนหางหนถู ้ารุนแรงใบจะเหลือแคเ่ สน้ ใบ ดูเหมอื นเส้นด้ายและตน้ กล้าอาจตายไดห้ รอื ไม่เจริญเติบโต ในต้นท่โี ตแลว้ ใบมี อาการดา่ ง บดิ เบ้ียว หงกิ งอยอดและใบมีสีเหลืองกว่าตน้ ทไี่ มเ่ ปน็ โรคจะ สงั เกตเห็นลักษณะจุดหรอื ทางยาวสีเขยี วเข้มดูช้าตามกา้ นใบ ลา้ ต้น การติดผล จะไม่ดหี รือไมต่ ิดเลย

ผล มะละกอ อาจบดิ เบย้ี ว มีจดุ ลกั ษณะเปน็ วงแหวน ทว่ั ทง้ั ผล เนอ้ื บริเวณ ที่เป็นจุดวงแหวนมักจะเปน็ ไตแขง็ มีรสขม ถา้ เปน็ รุนแรงแผลเหล่าน้ีจะมี ลักษณะคล้ายสะเกด็ หรอื หูดนนู ขึน้ มา บนผวิ ของผลจะขรขุ ระ ต้นที่เปน็ โรคในระยะออกดอก จะทา้ ให้ติดผลไม่ดี และผลท่ีได้จะมีจดุ วงแหวนเหน็ ได้ ชดั นอกจากนี้ดอกในรุน่ ตอ่ ๆ ไปก็จะรว่ ง ไม่ตดิ ผล การปลกู ในฤดถู ดั ไป พน้ื ท่ที ม่ี กี ารระบาดของโรค ใหห้ ลกี เลี่ยงการปลกู พชื อาศัยของเชื้อสาเหตุโรคใกลแ้ ปลงมะละกอท่ีเป็นโรค อาทิ พืชตระกลู แตง พืชตระกลู ถวั่ มะเขอื เทศ มะเขอื ยาว ต้าลงึ หงอนไก่ ล้าโพง และ บานไมร่ โู้ รย เกษตรกรควรเปลี่ยนมาปลกู พืชหมนุ เวยี นชนดิ อื่นแทน เน่อื งจากเช้อื ไวรัสตัวนี้ไมม่ สี ารปอ้ งกันก้าจัดโดยตรง แต่การป้องกนั ทา้ ได้ โดยการก้าจดั เพลยี้ ออ่ นท่เี ปน็ พาหะของโรค

11. โรคแอนแทรคโนส มะละกอ อาการ : ผลสกุ จะเกดิ จดุ ฉา่้ น้าและยุบลงไปในผล ตรงกลางจดุ จะ มีสปอรข์ องเชือ้ สีสม้ หรือชมพู ผลดบิ อาจเป็นโรคน้ไี ดเ้ ชน่ กนั บนใบมะละกอที่เปน็ โรคจะเหยี่ วแหง้ หลน่ ไป โรคน้จี ะเขา้ ทา้ ลายทั้งผล และใบของมะละกอ อาการผลสุกจะเกิดจดุ ฉ้า่ นา้ และยุบลงไปในผล ตรงกลางจดุ จะมี สปอร์ของเช้ือสสี ้มหรอื ชมพู ผลดบิ อาจเป็นโรคนี้ไดเ้ ช่นกัน อาการบน ใบ ใบมะละกอท่เี ปน็ โรคจะเห่ียวแหง้ หล่นไป โรคนีจ้ ะระบาดมากใน สภาพทีม่ อี ุณหภูมสิ งู ฝนตกชกุ และมคี วามชน้ื สงู อาการทผ่ี ลอ่อนจะเกิดจดุ และเน่าเสยี หาย สว่ นที่ผลแก่จะเกดิ จุด แผลสนี า้ ตาลลกุ ลามเป็นวงกลม เม่ือผลใกลส้ กุ มีความหวานมากขึ้น และเน้อื เริ่มนม่ิ อาการของโรคจะย่งิ ลุกลามรวดเรว็ และเป็นรุนแรง ลักษณะอาการท่ีเห็นได้ชดั คอื แผลกลมนุ่ม และเป็นวงซอ้ น ๆกัน เปน็ ไดท้ ั้งบนตน้ และในระหวา่ งบ่มตลอดจนในชว่ งวางขายในตลาด

สาเหตขุ องโรคและการแพรร่ ะบาดเกิดจาก เชือ้ รา Colletotrichum gloeosporieides (Glomerella cingulata) เชื้อราชนิดน้ี ทา้ ลายท้ังใบ ออ่ นและผล ความสา้ คญั และพบระบาดเสมออยูท่ ผี่ ลสปอร์ของเชื้อราดงั กล่าว จะแพร่ระบาดไปยงั ผลมะละกอในต้นเดยี วกันและต้นอื่น ๆ ตลอดจนในภาชนะ บรรจผุ ลมะละกอได้โดยงา่ ย โดยอาศยั อาการสมั ผัสติดไปหรอื ลมเปน็ พาหนะน้า เชื้อโรคไป

13. โรคราแปง้ มะละกอ เกิดจากเชือ้ รา Oidium caricae มักพบในสวนปลูกมะละกอในท่สี ูง มี อากาศเย็น โรคนีจ้ ะกอ่ ให้เกิดลักษณะผงสีขาวปกคลุมทัง้ ท่ใี บและท่ีผล เมื่อ เข้าท้าลายใบ จะท้าให้บริเวณท่ีถูกท้าลายซดี เห่ียว และเป็นสนี า้ ตาลแห้งตาย ไปในที่สดุ ต้นทรุดโทรม ผลผลิตลดลง ถ้าเกิดกับผลอ่อนจะท้าให้ผลรว่ ง แต่ ถา้ เกิดกับผลโตผลอาจบดิ เบยี้ ว เจรญิ เตบิ โตไม่สม่้าเสมอ มตี า้ หนทิ ผี่ ิว ส่วนใหญ่จะพบราแป้งบริเวณหลังใบมากกวา่ ใต้ใบเชอ้ื รามกั แพร่ระบาด ในช่วงฤดหู นาว โดยอาศยั ลมพัดพาไป

การป้องกันกา้ จัด เราควรกา้ จดั วัชพชื บรเิ วณโคนต้นมะละกอ ไมใ่ หเ้ ป็นที่พกั ตวั ของแมลง ศัตรมู ะละกอ และไมค่ วรปลกู พชื ท่ีเป็นพาหะนา้ แมลงศัตรูมาสู่ตน้ มะละกอ ในแปลงเดยี วกบั มะละกอ เช่น มะเขอื พรกิ พชื ตระกูลแตง เปน็ ต้น 1. ถา้ พบการระบาดของเพลีย้ แปง้ ขาว ให้ใช้ กาแฟทีเ่ รากนิ นีแ่ หละ 3 ช้อนแกง ละลายในน้าร้อน 1 ลติ ร จากนนั้ น้าไปผสมนา้ 20 ลติ ร ฉดี พ่นให้ ถูกตวั เพลย้ี แปง้ ครับ อีกไมก่ ชี่ ว่ั โมงมนั จะรีบเผน่ ไปเองครับ 2. ไรแดง การป้องกนั ก้าจัดแบบชีวะวิธีโดยการใชเ้ ช้ือบวิ เวอรเ์ รยี ฉดี พน่ ในเวลาชว่ งเยน็ ไม่ควรใช้สารเคมเี นอ่ื งจากไรแดงเองกม็ ีศัตรธู รรมชาติ คือ ด้วงเตา่ ลาย ถา้ ใชส้ ารเคมีกจ็ ะทา้ ลายศตั รธู รรมชาติไปดว้ ย 3. การใช้สมุนไพรรวมสกัด พวก หางไหลแดง หางไหลขาว ฟา้ ทะลาย โจร ยาสบู ขม้ินชัน มาสกัดแล้วไล่แมลงทุก ๆ 7-10 วนั กจ็ ะลดอตั ราการ ระบาดของแมลงปากดดู ชนดิ ตา่ ง ๆ 4. ใช้ ซซู าร์ (zusar) สมุนไพรสกัดดว้ ยตัวทา้ ละลายไลแ่ มลง ของชมรม เกษตรอินทรียก์ ้าวหน้า ทุก 7-10 วัน จะลดการระบาดของแมลงศัตรู มะละกอไดอ้ ย่างยอดเยี่ยม

เมนูอาหารจากมะละกอ ตามะละกอใส่มะเขอื พวงไขต่ ม้ สว่ นผสม 1. มะละกอดบิ สบั 1/4 ถ้วยตวง 2. มะเขอื พวง 1/4 ถว้ ยตวง 3. มะเขือเปรย้ี ว 2-3 ลูก 4. กระเทียมไทย 5 กลีบ 5. พรกิ ขี้หนสู วน 7 เมด็ 6. ถ่วั ฝกั ยาวหน่ั 1 น้ิว 2 ฝกั 7. มะนาว 2 ช้อนโตะ๊ 8. นา้ ปลา 2 ชอ้ นโต๊ะ 9. น้าตาลปบ๊ี 1 ช้อนโตะ๊ 10. ไข่ตม้ ยางมะตูม 1 ฟอง 11. ถัว่ ลิสงคัว่ ส้าหรับโรย วธิ ีทา้ 1. โขลกกระเทยี ม พรกิ ขหี้ นู ถ่วั ฝักยาว มะเขือพวง และมะเขอื เปร้ยี ว พอบบุ 2. ใส่มะนาว น้าปลา และน้าตาลปบี๊ ชิมรส ใสม่ ะละกอสบั เคล้าพอเข้ากนั 3. ตักใสจ่ าน โรยด้วยถว่ั ลิสงค่วั เสิรฟ์ พรอ้ มไขต่ ้มยางมะตมู เทคนคิ : พอบุบมะเขือพวงรีบบบี มะนาว เพอื่ ไมใ่ หม้ ะเขอื พวงด้า

ตามะละกอใสม่ ะเขอื พวงไข่ตม้ สว่ นผสม 250 กรมั 1. มะละกอสับ 2. กุ้งสดปอกเปลือก 3 ตัว ผา่ หลังดึงเส้นดา้ ออกลวก 3. ปลาหมึกหั่นแว่น 50 กรมั ลวก 4. หอยแมลงภู่ลวก 50 กรมั 5. มะเขอื เทศราชนิ ีหนั่ ชน้ิ 5 ลกู 6. ใบสะระแหน่ 1/4 ถว้ ยตวง 7. พริกข้หี นูโขลก 15 เม็ด 8. กระเทียมโขลก 5 กลีบ 9. น้าปลา 1 ช้อนชา 10. น้าตาลทราย 2 1/2 ชอ้ นชา 11. น้ามะนาว 2 ชอ้ นโตะ๊ 12. แปง้ ทอดกรอบส้าเร็จรูป 70 กรมั 13. น้าเยน็ จดั 100 กรัม 14. นา้ มนั สา้ หรบั ทอด วิธที า้ 1. ผสมแปง้ ทอดกรอบกับน้าเยน็ จดั คนพอเข้ากัน ใสม่ ะละกอสับลงชุบพอท่ัว น้า ลงทอดในนา้ มนั พชื ขณะร้อนพอสกุ เหลอื ง ตกั ขน้ึ พกั ไว้ 2. ผสมพริกขี้หนู กระเทยี ม น้าปลา น้าตาลทราย น้ามะนาว คนพอเข้ากนั 3. ใสม่ ะละกอทอด มะเขือเทศ กงุ้ ปลาหมึก หอยแมลงภู่ น้ายา้ คลกุ เคลา้ พอเขา้ กัน จัดใสภ่ าชนะ โรยใบสะระแหน่ จัดเสริ ์ฟ

แกงส้มก้งุ มะละกอสับปะรด สว่ นผสม 1. พริกขีห้ นูแห้งและสด 30 เมด็ (ผสมกนั หรอื อยา่ งใดอยา่ งหนง่ึ ) 2. กะปยิ า่ ง 2 ชอ้ นชา 3. หอมแดงไทยซอย 7 หวั 4. ขมน้ิ ชัน 2 ชอ้ นโต๊ะ 5. สบั ปะรด 1/2 ลกู 6. มะละกอดบิ 1/2 ลูก 7. ก้งุ 3-10 ตัว (ผสมเน้อื ปลาเพอื่ ความเขม้ ข้นดว้ ยกไ็ ด้) 8. น้ามะขามเปยี ก 1 ชอ้ นโตะ๊ 9. น้าปลา 2 ช้อนโต๊ะ 10. น้า 2 ถ้วยตวง วิธที ้า 1. ต้งั หม้อใสน่ ้ารอจนเดอื ด แลว้ จึงต้าพรกิ แกงส้มจากพรกิ ข้หี นูแห้งและสด กะปิ ย่าง หอมแดงไทยซอย ขม้ินชนั แล้วใส่ลงในหมอ้ 2. ตามไปดว้ ยสับปะรด มะละกอปลอกเปลือกหัน่ พอดคี ้า เม่ือมะละกอสุกจะมี ลกั ษณะใสเลก็ นอ้ ย ให้ใสก่ ้งุ ลงไปตอ่ ไดเ้ ลย หากต้องการให้น้าข้นใสเ่ นื้อปลายีลง ไปเพิม่ ด้วยก็ได้ 3. เมื่อกุ้งเรม่ิ เปล่ียนเปน็ สีส้มใหเ้ รมิ่ ปรุงรสไดเ้ ลย ดว้ ยนา้ ปลา นา้ มะขาม ท่ีเหลอื ก็ ต้องชิมดวู ่าสบั ปะรดเราออกเปรี้ยว หรอื ออกหวาน แลว้ ก็ปรงุ ตามชอบไดเ้ ลย

มะละกอผดั ไข่ ส่วนผสม มะละกอผัดไข่ 1. มะละกอสับ 2. ไข่ไก่ 2 ฟอง 3. กระเทยี มสับ 1 ช้อนโต๊ะ 4. น้ามนั หอย 2 ชอ้ นโต๊ะ 5. ซีอิว๊ ขาว 2 ช้อนชา 6. น้าตาลทราย 1 ชอ้ นชา 7. ต้นหอมห่นั ทอ่ น 1 ตน้ 8. พรกิ ช้ีฟ้าแดงหน่ั เปน็ เส้น 9. น้ามันพชื 2 ชอ้ นโตะ๊ วธิ ีท้ามะละกอผดั ไข่ 1. น้ามะละกอสบั ไปแชน่ ้าเย็นเพื่อใหก้ รอบ เตรยี มไว้ 2. เจียวกระเทยี มกับนา้ มันพอหอม ตอกไข่ลงไปแล้วยีพอแตก ตาม ด้วยมะละกอ ผดั ให้เข้ากนั สกั ครู่ 3. ปรุงรสด้วยน้ามันหอย ซอี ว๊ิ ขาว และนา้ ตาลทราย ผัดตอ่ ให้เขา้ กัน จนไข่เคลือบเสน้ มะละกอ จากนั้นโรยตน้ หอม ผัดใหเ้ ขา้ กันอีกครง้ั ชิมรส ตามชอบ ตกั ใสจ่ าน

มะละกอผัดพรกิ แกง ส่วนผสม มะละกอสบั เป็นเส้น 250 กรัม สะโพกไก่หัน่ ช้ิน 150 กรัม น้าพริกแกงเผด็ 2 ชอ้ นโตะ๊ น้ามันพชื 2 ช้อนโตะ๊ นา้ ปลา 1 1/2 ช้อนโต๊ะ น้าตาลทราย 1 1/2 ชอ้ นชา นา้ เปล่า 2 ชอ้ นโต๊ะ ใบกะเพรา 1/2 ถว้ ยตวง วิธที า้ 1. ตัง้ กระทะใส่น้ามนั พืชพอร้อน นา้ น้าพรกิ แกงเผ็ด ลงผัดพอหอม 2. ใส่สะโพกไก่ ลงผัดพอเริ่มสุกใสม่ ะละกอสับ เติมน้าเปลา่ 3. ปรุงรสดว้ ย น้าปลา น้าตาลทราย ผดั ตอ่ จนสว่ นผสมเขา้ กนั ดแี ละแหง้ ใส่ ใบกะเพรา ผดั พอเขา้ กนั ดี ยกลงตักใสจ่ านจดั เสิรฟ์

ขอบคณุ ขอ้ มลู รูปภาพ https://www.honestdocs.co/the-benefits-of-papaya http://www.m-group.in.th/article https://www.kasetkawna.com/article เพจมะละกออนิ ทรยี ์เงินล้าน https://www.maeban.co.th https://cooking.kapook.com


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook