หนังสืออเิ ลก็ ทรอนิกส์ เรื่อง เรือนไทย 4 ภาค
บ้านทรงไทยภาคเหนือ บา้ นทรงไทยภาคเหนือ เป็นหน่ึงใน บา้ นทรงไทย 4 ภาคของไทย ส่วนมากจะพบในจงั หวดั เชียงราย เชียงใหม่ พะเยา ลาปาง ลาพนู แพร่ น่าน แมฮ่ ่องสอน ตาก สุโขทยั กาแพงเพชร และอุตรดิตถ์
เรือนชนบท หรือเรือนเคร่ืองผูก เป็นเรือนขนาดเลก็ เรือนประเภทน้ี กนั ทวั่ ไปเน่ืองจากก่อสร้างง่ายราคา ถูก ตามชนบทและหมู่บา้ นต่าง ๆ เรือนชนิดน้ีโครงสร้างส่วนหลงั คา ตงพ้นื ใชไ้ มไ้ ผ่ ส่วนคานและเสา นิยมใชไ้ มเ้ น้ือแขง็ ฝาเป็นฝาไมไ้ ผ่ สาน หลงั คามุงแฝกหรือใบตองตึง นิยมใชต้ อกและหวายเป็นตวั ยดึ ส่วนต่าง ๆ สร้างข้นึ กลางทงุ่ นา เพือ่ เฝ้าทงุ่ หรือ เพ่อื ประโยชนก์ ารใชง้ านตาม ฤดูกาล
เรือนไม้ หรือเรือนเคร่ืองสับ เรือนไม้ เป็นเรือนของผมู้ ีอนั จะกิน ทาดว้ ยไมเ้ น้ือแขง็ เช่น สกั เตง็ รัง ตะเคยี น ไมแ้ ดง ฯลฯ การปลูกเรือน ประเภทน้ีไม่ตอ้ งใชต้ ะปตู อก ยดึ ให้ ไมต้ ิดกนั หรือประกอบกนั โดยการ ใชม้ ีด สิ่ว หรือขวานถากไมใ้ ห้เป็นรอยสับ แลว้ ประกอบเขา้ ดว้ ยกนั เรียกวา่ การ ประกอบเขา้ ลิ้นสลกั เดือย หลงั คามุง กระเบ้ือง (ดินขอ) หรือแป้นเกลด็
เรือนกาแล กาแล เอกลกั ษณข์ องเรือนไทย ภาคเหนือเรือนกาแล เป็นเรือนพกั อาศยั ของผมู้ ีอนั จะกินและผนู้ าชุมชน หรือเป็นเรือนของบคุ คลช้นั สูงใน สงั คม เรือนประเภทน้ีมีลกั ษณะพิเศษ คอื มียอดจวั่ ประดบั กาแลไมส้ ลกั อยา่ งงดงาม นิยมมุงกระเบ้ืองไมเ้ รียก “แป้นเกล็ด” แต่ปัจจบุ นั ไมเ้ ป็นวสั ดุ หายากมีราคาแพงจึงเปล่ียนมาใช้ “ดินขอ” มุงหลงั คาแทน ใชว้ สั ดุอยา่ ง ดี การช่างฝีมือสูงประณีต
แตม่ ีแบบค่อนขา้ งตายตวั ส่วนใหญ่ เป็นเรือนแฝด มีขนาดต้งั แต่ 1 ห้องนอนข้ึนไป เรือนกาแลจะมี แผนผงั 2 แบบใหญๆ่ คอื แบบเอา บนั ไดข้ึนตรงติดชานนอกโดดๆ กบั แบบเอาบนั ไดอิงชิดแนบฝาใต้ ชายคาคลุม แต่ท้งั สองแบบจะใช้ ร้านน้าต้งั เป็นหน่วยโดดๆ มี โครงสร้างของตนเองไม่นิยมตฝี ้า เพดาน หรือบางกลุ่มประกอบดว้ ย เรือนหลายหลงั เป็นกลุ่มใหญ่
บ้านเรือนไทยภาคเหนือ
เรือนเดยี่ ว เป็นเรือนสาหรับครอบครัวเดี่ยว สร้างข้ึนโดยมี ประโยชน์ใชส้ อยที่เพียงพอกบั ครอบครัวเล็ก ๆอาจ เป็นเรือนเคร่ืองผกู เรือนเครื่องสบั หรือผสมผสานกนั ก็ เป็นไดแ้ ลว้ แต่ฐานะ ประกอบดว้ ย เรือนนอน 1 หลงั เรือนครัว 1 หลงั ระเบียงยาว ตลอดเป็นตวั เช่ือม ระหวา่ งห้องนอนกบั ชาน
เรือนหมู่ เรือนหมู่ คือ เรือนหลายหลงั ซ่ึงปลูกอยใู่ นที่เดียวกนั สมยั ก่อนลูกชายแตง่ งานส่วนใหญจ่ ะไปอยบู่ า้ นผหู้ ญิง ส่วนลูกผหู้ ญิงจะนาเขยเขา้ บา้ น จะอยเู่ รือนหลงั ยอ่ ม กวา่ เรือนหลงั เดิมเรียกวา่ “หอกลาง” ส่วนเรือนนอก เรียกวา่ “หอรี” เพราะปลูกไปตามยาว ถา้ มีเรือนปลูก อีกหลงั หน่ึงเป็ นดา้ นสกดั ก็เรียกวา่ “หอขวาง” อาจมี “หอนงั่ ”ไวส้ าหรับนง่ั เล่น บางแห่งมี“หอนก” ไว้ สาหรับเล้ียงนก
เรือนหมู่คหบดี เรือนหมู่คหบดีโบราณ เป็นเรือนสาหรับผมู้ ีอนั จะกิน ลกั ษณะการจดั เรือนหมู่คหบดีของโบราณเป็ นเรือนขนาดใหญ่มีเรือนคู่และเรือน หลงั เล็กหลงั นอ้ ยรวมเขา้ ดว้ ยกนั แตล่ ะหลงั ใชป้ ระโยชนต์ ่างหนา้ ที่ กนั ออกไป ประกอบดว้ ย เรือนนอน เรือนลูก เรือนขวาง เรือนครัว หอนก และชาน
เรือนแพ การสร้างบา้ นบริเวณชายฝ่ังตอ้ งยกพ้ืนช้นั บนสูงมาก ไม่สะดวก ในหนา้ แลง้ ทาให้เกิดการสร้างเรือนในลกั ษณะ \" เรือนแพ \" ที่ สามารถปรับระดบั ของตนเองข้ึนลงไดต้ ามระดบั น้าในแม่น้า ลาคลอง
บ้านเรือนไทยภาคกลาง
บ้านทรงไทยภาคใต้ทีพ่ บเหน็ ทว่ั ไปในภาคใต้แบ่งออกเป็ น เรือนเคร่ืองผกู เรือนเครื่องสบั เรือนก่ออิฐฉาบปูน โดยเอกลกั ษณ์ของเรือนภาคใตอ้ ยทู่ ี่หลงั คาเรือนและ เสาเรือนจะเป็ นเสาไม้ ต้งั บนฐานคอนกรีตเหตเุ พราะสภาพแวดลอ้ มทางธรรมชาตเิ กิดพายไุ ตฝ้ ่ นุ พายฝุ น ลมแรงเสมอ จาเป็นตอ้ งมีโครงสร้างทแ่ี ขง็ แรง ลกั ษณะบา้ นทรงไทย เป็นเรือนยกพ้ืนสูง แต่วา่ ไม่สูงจนเกินไป พอท่จี ะเดินลอดได้
บา้ นทรงไทยภาคใต้ แบง่ เป็น 2 บริเวณ คือ แถบชายทะเลดา้ นใน คือ ชายทะเลฝ่ังตะวนั ออกซ่ึงติดกบั อ่าวไทย และแถบชายทะเลดา้ นนอก คือ ชายทะเลฝั่งตะวนั ตกซ่ึงตดิ กบั ทะเลอนั ดามนั โดยท่ีพ้ืนทีท่ างฝ่ัง ตะวนั ออกดา้ นอ่าวไทยเป็นชุมชนทีเ่ ก่าแก่มากกวา่ ฝ่ังตะวนั ตก บา้ นเรือนแถบชายฝ่ังทะเลตะวนั ออก มกั เป็นเรือนหลงั คาหนา้ จว่ั ทรง สูงแบบบา้ นทรงไทยภาคกลาง แตไ่ ม่นิยมทาป้ันลมและตวั เหงา
หลงั คาบ้านทรงไทยภาคใต้มลี กั ษณะคือ หลังคาจ่ัว สร้างเรือนหลงั คาทรงจว่ั ไม่มีการตกแต่งหนา้ จวั่ วสั ดุมุงหลงั คาส่วน ใหญ่ใชจ้ าก แตบ่ างเรือนทมี่ ีฐานะดีจะ มุงกระเบ้อื งเพอื่ ความมน่ั คง แขง็ แรง ความลาดชนั ของหลงั คาข้ึนอยกู่ บั วสั ดุมุง หลงั คาในทอ้ งถ่ิน น้นั วา่ จะใชก้ ระเบ้ืองดินเผาหรือกระเบ้ืองขนมเปี ยกปูนหรือมุง
หลังคาป้ันหยา มีความแขง็ แรงของโครงสร้างหลงั คาเป็ นพิเศษหลงั คาตรงหวั ทา้ ย เป็นรูปลาด เอียงแบบตดั เหล่ียมหลงั คามุงกระเบ้ืองแผน่ สี่เหลี่ยม ตรงรอยตดั เหล่ียมหลงั คา ครอบดว้ ยกนั น้าฝนร่ัว หลงั คาแบบน้ี โครงหลงั คาแขง็ แรงมากสามารถทนรับ ฝนและตา้ นแรงลม ส่วน ใหญ่อยทู่ างจงั หวดั สงขลา
บ้านเรือนไทยภาคใต้
บ้านทรงไทยภาคอสี านบา้ นทรงไทยภาคอีสาน บา้ นทรงไทยภาคอีสาน เป็ นหน่ึงในบา้ นทรงไทย 4 ภาคของไทย แบ่งออกไดเ้ ป็ นการ ปลกู เรือนใน ลกั ษณะชว่ั คราว ก่ึงถาวร หรือเรือนถาวรประเภท ของเรือนอีสาน
องค์ประกอบของบ้านทรงไทยภาคอสี าน 1. เรือนนอนใหญ่ จะวางดา้ นจว่ั รับทิศตะวนั ออก-ตะวนั ตก ส่วนมากจะมี ความยาว 3 ช่วงเสา เรียกวา่ \"เรือนสามหอ้ ง\" ใตถ้ ุนโล่ง ช้นั บนแบง่ ออกเป็น 3 ส่วนคอื 1.1 หอ้ งเปิ ง เป็นหอ้ งนอนของลูกชาย มกั ไม่มีการก้นั หอ้ ง 1.2 หอ้ งพอ่ -แม่ อาจก้นั เป็นหอ้ งหรือปล่อยโล่ง 1.3 หอ้ งนอนลูกสาว หรือเรียกวา่ หอ้ งส่วม มีประตูเขา้ มีฝาก้นั มิดชิด หากมี ลูกเขยจะใหน้ อนในห้องน้ี ส่วนช้นั ล่างของเรือนนอนใหญ่ อาจใชส้ อยไดอ้ ีก เช่น ก้นั เป็ นคอกววั ควาย ฯลฯ
ลกั ษณะช่ัวคราว สร้างไวใ้ ชเ้ ฉพาะบางฤดูกาล เช่น \" เถียงนา\" หรือ \"เถียง ไฮ่\" ทายกพ้ืนสูงเสาไมจ้ ริง โครงไมไ้ ผห่ ลงั คามงุ หญา้ หรือแป้นไมท้ ่ีร้ือมา จากเรือนเก่า พ้นื ไมไ้ ผส่ บั ฟากทาฝา โล่งหากไร่นาไมไ่ กลสามารถไปกลบั ได้ มีอายใุ ชง้ าน 1-2 ปี สามารถร้ือซ่อมใหม่ไดง้ ่าย
ลกั ษณะกงึ่ ถาวร คือกระตอ๊ บ หรือเรือนเล็ก ไมม่ น่ั คงแขง็ แรง นกั มีช่ือเรียก \" เรือนเหยา้ \" หรือ \" เฮือนยา้ ว\" หรือ \"เยา่ เรือน \" อาจเป็นแบบเรือนเคร่ืองผกู หรือเป็นแบบเรือนเคร่ืองสบั กไ็ ด้ เรือนเหยา้ ก่ึงถาวรยงั มี \" ตบู ตอ่ เลา้ \" ซ่ึงเป็นเพงิ ท่ีสร้างอิงกบั ตวั เลา้ ขา้ ว และ \"ด้งั ต่อดิน\" ซ่ึงเป็น เรือนท่ีตวั เสาด้งั จะฝังถึงดิน และใชไ้ มท้ อ่ นเดียวตลอดสูงข้ึนไปรับอกไก่ เป็นเรือนพกั อาศยั ท่ีแยกมาจากเรือนใหญ่
ลกั ษณะถาวร เป็นเรือนเครื่องสบั หรือเรือนไมก้ ระดานอาจ จาแนกไดเ้ ป็น 3 ชนิด คือ คือ เฮือนเกย เฮือนแฝด เฮือนโขง่ ลกั ษณะใตถ้ ุนสูงเช่นเดียวกบั ภาคอื่น ๆ เรือน เครื่องสบั เหล่าน้ี ไม่นิยมเจาะช่องหนา้ ต่างมกั ทา หนา้ ต่างเป็นช่องแคบ ๆ ส่วน ประตูเรือนทาเป็นช่องออกทางดา้ นหนา้ เรือนเพยี งประตเู ดียว ภายในเรือนจึงค่อน ขา้ งมืด
เอกลกั ษณ์ของบ้านทรงไทยภาคอสี าน ไม่นิยมทาหนา้ ตา่ งทางดา้ นหลงั ตวั เรือน ถา้ จะทาจะเจาะเป็นช่องเล็ก ๆ พอใหย้ น่ี ศีรษะออกไปไดเ้ ทา่ น้นั ไม่นิยมตอ่ ยอดป้านลมใหส้ ูงข้ึนไป เหมือนเรือนของชาวไทยลา้ นนาที่เรียกวา่ กาแลไม่นิยมต้งั เสาเรือนบน ตอหมอ้ เหมือนเรือนของชาวไทยมสุ ลิมทางภาคใต้ ดว้ ยเหตุทช่ี าวไทย ภาคอีสานปลูกเรือนดว้ ยการฝังเสา จึงไมม่ ีการต้งั บนตอหมอ้
บ้านเรือนไทยภาคอสี าน
Search
Read the Text Version
- 1 - 31
Pages: