แบบฝกึ หดั เครอื ขา่ ย LAN ไร้สาย1. เครือขา่ ยแลนไรส้ าย มีข้อแตกต่างจากเครือข่ายแลนแบบมีสายอย่างไร จงอธิบายตอบ IEEE ได้นิยามข้อกาหนดเพอื่ นามาใช้กับเครือข่ายแลนไร้สาย ๖ (Wireless LAN: WLAN) ซึ่งมาตรฐานดังกล่าวเรียกว่า IEEE802.11 ท่ีครอบคลมุ ชั้นส่อื สารฟสิ คิ ัลและดาตา้ ลงิ กบ์ นแบบจาลอง OSI โดยเครอื ขา่ ยแลนไร้สายจดั เป็นเทคโนโลยีที่ได้รบั ความสนใจมากในขณะน้ี เนื่องจากสามารถส่ือสารได้โดยไม่ต้องใช้สายเคเบิลเพื่อการเชื่อมต่ออีกต่อไป อย่างไรก็ตาม เทคโนโลยีเครือข่ายไร้สายมิใช่วัตถุประสงค์เพ่อื นามาใช้ทดแทนเครือข่ายแบบมี สาย ท้ังน้ีเครือข่ายแบบใช้สายก็ยังมีข้อเด่นบางประการท่ีเหนือกว่าเครือข่ายแบบ ไร้สาย ในขณะท่ีเครือข่ายไร้สายก็มีข้อเด่นคือ การได้สร้างทางเลือกท่ีสะดวกต่อการเชื่อต่อเครือข่ายของผู้ใช้ โดยไม่ต้องใช้สาย และไม่จาเป็นต้องจากัดพ้ืนที่บนโต๊ะทางานเทา่ น้ัน แต่สามารถนาไปใช้งานบรเิ วณท่ีอย่ภู ายในขอบเขตของคล่ืน
2. ในอนาคตเครือขา่ ยไรส้ ายจะนามาใช้ทดแทนเครอื ข่ายแบบมสี ายทัง้ หมด เปน็ คากล่าวที่จริงหรอื ไม่ จงบอกเหตผุ ลตอบ เทคโนโลยีไร้สายท่ีพบมากท่ีสุดใช้คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า เช่นคลื่นวิทยุ ซ่ึงอาจใช้ในระยะทางส้ันๆไม่ก่ีเมตรสาหรับโทรทัศน์ หรือไกลเปน็ ล้านกโิ ลเมตรลกึ เข้าไปในอวกาศสาหรบั วิทยุ การสื่อสารไร้สายรวมถึงหลากหลายชนดิ ของการใช้งานอยู่กับท่ี, เคล่ือนที่และแบบพกพา ได้แก่วิทยุสองทาง, โทรศัพท์มือถือ, ผู้ช่วยดิจิตอลส่วนตัว (personal digital assistants หรือ PDAs) และเครือข่ายไร้สาย ตัวอย่างอ่ืน ๆ ของการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีวิทยุไร้สายรวมถึง GPS, รีโมตประตูโรงรถ เม้าส์คอมพิวเตอร์ไร้สาย, แป้นพิมพ์และชุดหูฟังไร้สาย, หูฟังไร้สาย, เครื่องรับวิทยไุ ร้สาย, โทรทศั น์ผา่ นดาวเทยี มไรส้ าย, เครอื่ งรบั โทรทศั น์ท่ัวไปและโทรศัพทบ์ ้านไร้สาย3. วธิ กี ารเชื่อมต่อเครือข่ายแลนไรส้ ายแบบ Ad-Hoc แตกต่างจากInfrastructureอย่างไร จงอธบิ ายตอบ Ad-Hoc เป็นการเช่ือมต่อที่ประกอบด้วยเคร่ืองคอมพิวเตอร์ตั้งแต่ 2 เคร่ืองข้ึนไป ติดต้ังการ์ดไวเลสแลน (หรือ CentrinoNotebook) ทาการเช่ือมต่อส่ือสารกันโดยตรง ไม่ต้องผ่านอุปกรณ์กระจายสัญญาณ (Access Point) โดยเคร่ืองคอมพิวเตอร์ท่ีเชื่อมต่อวิธีน้ีสามารถแลกเปล่ียนข้อมูลกันได้เช่น การแชร์ไฟล์ การแชร์เคร่ืองพิมพ์ หรืออุปกรณ์ต่อพ่วงต่างๆ การสนทนาแบบวิดีโอคอน เฟอเรนซ์ (VDOConference) และการเล่นเกมส์แบบวงแลนได้ ซ่งึ ชว่ ยให้เครือ่ งคอมพิวเตอร์สามารถเช่อื มต่อกันได้โดยไม่ต้องมีสายสัญญาณ ขณะที่การเชื่อมต่อแบบ Ad-Hoc จะไม่สามารถติดต่อส่ือสารกับเครือข่ายมีสายสัญญาณได้ นอกจากจะทาการติดต้ังอุปกรณ์ Acces Point เพื่อให้ Access Pointทาการเชอื่ มตอ่ และสง่ ข้อมลู ไปเครอื ขา่ ยมีสายอีกครงั้ หน่ึง
Infrastructure เป็นการเชื่อมต่อท่ีมีอปุ กรณ์กระจายสัญญาญไวเลสแลน (Access Point) เป็นตัวกลาง (ดังภาพด้านประกอบ) ทาหน้าที่รับส่งสัญญาณและข้อมูลจากเคร่ืองคอมพวิ เตอร์พกพาไปเครือข่ายมีสาย หากสังเกตจะพบว่า Access Point มีการทางานเหมอื นอุปกรณ์ฮบั (HUB) ในเครอื ข่ายคอมพิวเตอร์แบบมสี าย และที่สาคัญหากมีการเข้าใช้งานเครือข่ายไวเลสแลนพร้อมกันจานวนมาก จะมีผลทาให้ความเร็วในการส่ือสารข้อมูลช้าลงด้วยเช่นกัน ปัจจุบันเครือข่ายไร้สายแบบ Infrastructure ได้รับความนิยมสูง และเป็นเครือข่ายท่ีมีการพฒั นาอย่างต่อเน่ืองทั้งทางด้านความเร็วในการส่ือสารและความปลอดภัยในการแลกเปล่ียนข้อมูลเครือข่ายไร้สายช่วยทาให้เกิดความสะดวกในการใช้งานมากข้ึนเพราะไม่ต้องเดินสายสัญญาณ (หรือสายแลน) สาหรับเคร่ืองคอมพิวเตอร์ และสามารถปรับเปลี่ยน เคลื่อนย้าย ขยายขนาดของเครือข่ายไวเลสแลนได้ตลอดเวลา ด้วยความสะดวกสบายของเครือข่ายไวเลสแลนทาให้เครอื ขา่ ยไวเลสแลนได้รบั การยอมรับจากผูใ้ ช้มากข้ึนและมีการพัฒนาอย่างตอ่ เนอ่ื งดว้ ยเชน่ กัน
5. การจัดการกับระบบความปลอดภัยบนเครือข่ายไร้สาย ด้วยการกล่ันกรองหมายเลขแมคแอดเดรส มีประโยชน์อย่างไรตอบ โดยทว่ั ไปแล้ว อุปกรณแ์ อกเซสพอยตล์ ว้ นสนับสนุนการกลั่นกรองหมายเลขแมคแอดเดรส วิธีการนี้ต้องการจากัดบุคคลที่เขา้ ถึงเครือขา่ ย โดยหมายเลขแมคแอดเดรสท่ีบันทึกเขา้ ไปคือแอดเดรสท่ไี ด้รบั การอนญุ าตให้เข้าถึงเครือข่ายได้ อย่างไรก็ตาม การใช้หมายเลขแมคแอดเดรสในการกลั่นกรองบุคคลทส่ี ามารถเขา้ ถึงเครือข่ายน้ัน เป็นงานค่อนข้างเสียเวลา อกี ทั้งหากเคร่อื งมีการเปลี่ยนการด์ เครอื ข่าย ก็จาเปน็ ต้องมีการบันทึกเข้าไปใหม่ รวมถึงกรณีการรีเซตอุปกรณ์แอกเซสพอยต์ น่ันหมายถึงหมายเลขแมคแอดเดรสที่เคยบันทึกไป ก็จะถูกลบท้ิงไปทั้งหมดด้วย อย่างไรก็ตาม ถึงแม้วิธีการกลั่นกรองหมายเลขแมคแอดเดรสสามารถเพิ่มระดับความปลอดภยั ย่ิงข้ึนกต็ าม แตท่ ง้ั สองวธิ ีขา้ งตน้ กย็ ังถอื วา่ เปน็ ความปลอดภัยระดับต่า เน่ืองจากแฮกเกอร์ยังสามารถลักลอบเพอื่ ค้นหาแมคแอดเดรสทีไ่ ด้รับสทิ ธใ์ิ นการเขา้ ถงึ เครอื ข่าย และปลอมตัวลกั ลอบเขา้ มายังเครือขา่ ยได้ในทีส่ ดุ6. จงสรปุ ความแตกต่างของวธิ ีการเข้ารหัสลบั แบบWEPกบั WPA มาพอเขา้ ใจตอบ WEP (Wired Equivalent Privacy) วธิ นี ร้ี หสั ทใ่ี ชใ้ นการเขา้ รหสั และถอดรหสั เปน็ อนั เดยี วกนั โดยการใช้ key ขนาด 64บิต หรือ 128 บิต อย่างไรก็ตามกลไกการเข้ารหสั แบบ WEP น้ีมีช่องโหว่อยู่มาก เพราะรหัสที่ใช้สามารถถูกถอดรหสั ได้จากผู้ใช้งานโดยตรง นอกจากน้ี key ทีใ่ ชใ้ นการเขา้ รหัสก็ไม่มกี ารเปลี่ยนแปลงตลอดการใชง้ าน
WPA (Wi-Fi Protected Access) คือรูปแบบการเข้ารหัสที่มีความปลอดภัยสูงกว่าแบบ WEP เพราะใช้กลไกการเข้ารหสั และถอดรหัสแบบ TKIP (Temporal Key Integrity) ซึ่งเป็น key ชั่วคราวท่ีจะเปลี่ยนอยู่เรื่อยๆ ทาใหย้ ากแก่การคาดเดาที่ถูกต้องรว่ มกบั MIC (Message Integrity Code) เพ่อื ทาให้แน่ใจว่าข้อมลู ทอี่ ย่รู ะหว่างการส่อื สารจะไมถ่ กู ปลอมแปลงจากผบู้ กุ รุก7. ความเรว็ ของเครือขา่ ยไร้สาย ขึ้นอยู่กับปจั จัยอะไรบ้าง จงอธิบายตอบ ความเรว็ บนเครือข่าย WLAN ข้ึนอยู่กับปัจจัยบางประการ ซ่ึงเกี่ยวข้องกับมาตรฐานเครือข่ายที่นามาใช้งานบนเครือข่ายไร้สายด้วย เช่น มาตรฐาน 802.11b จะมีความเร็วท่ี 11 Mbps ในขณะท่ี 802.11g จะมีความเร็วท่ี 54 Mbps เป็นต้น นอกจากน้ีปัจจัยด้านระยะทางก็ส่งผลต่อความเร็ว กล่าวคือหากระยะทางของโหนดที่ติดต่อกับอุปกรณ์แอกเซสพอยต์นั้นอยู่ห่างเกินรัศมีของสัญญาณ ดังน้ันบริเวณนอกขอบเขตรัศมีดังกล่าว อาจติดต่อส่ือสารได้อยู่ แต่ความเร็วจะลดลงซึ่งอาจเหลือเพียง 1 Mbps เท่านั้นหรอื อาจติดตอ่ ไม่ไดเ้ ลยกรณขี อบเขตท่ีไกลออกไป สาหรบั ปจั จัยสุดท้ายท่ีจะกล่าวถึงก็คือ การถูกแทรกแซงด้วยสัญญาณรบกวน เช่นบริเวณใกล้เคียงมีเสารับส่งวิทยุท่ีทาให้มีคล่ืนวิทยุแทรกแซงเข้ามา รวมถึงอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้งานตามบ้านท่ัวไป เช่น เคร่ืองทาความเยน็ มอเตอรไ์ ฟฟ้า และเครื่องปรบั อากาศ เปน็ ตน้
8. ขอบเขตรศั มีของเครอื ขา่ ยไรส้ ายที่ครอบคลมุ ตามบริเวณตา่ งๆ จะถกู ลดทอนลงดว้ ยอะไรบา้ งตอบ หากวา่ กันไปแล้ว ขอบเขตรัศมีของอาณาบริเวณที่คลื่นสัญญาณไร้สายสามารถครอบคลุมไปถึงน้ัน ยากต่อการกาหนดให้ชัดเจนลงไปได้ ตัวอย่างเช่น เครือข่ายไร้สายจะครอบคลุมอาณาบริเวณประกาณ 150 ฟุต หรือ 300 ฟุต เป็นต้น แต่ความจริงแล้วรศั มีทส่ี ญั ญาณไร้สายสามารถครอบคลมุ ไดร้ ะยะไกล แต่หากบริเวณนั้นมีตึกอาคาร ซึ่งเป็นคอนกรีต ก็จะส่งผลให้สัญญาณลดทอนลงไป ทาให้สัญญาณครอบคลุมระยะทางไมไ่ กลนัก9. หากต้องการเช่ือมโยงเครือขา่ ยไรส้ ายให้ไกลยง่ิ ยิ่งข้นึ กวา่ เดิม ควรใช้วธิ ีใด จงอธบิ ายตอบ คือ การเช่ือมต่อเครือข่ายคอมพิวเตอรร์ ะยะไกล ซ่ึงมีอยู่ท่ัวโลกเข้าด้วยกัน โดยอุปกรณ์แปลงสัญญาณ เช่น โมเด็ม ช่วยในการติดต่อส่ือสารหรือสามารถนาเครือข่ายท้องถ่ินมาเช่ือมต่อกันเป็นเครือข่ายระยะไกล เช่น เครือข่ายอินเทอร์เน็ต เครือข่ายระบบธนาคารทัว่ โลก หรือเครอื ข่ายของสายการบนิ เปน็ ตน้เครือขา่ ย WAN สามารถแบง่ เปน็ ประเภทใหญๆ่ คอื 1. เครือข่ายสว่ นตัว (private network) เป็นการจัดตั้งระบบเครอื ข่ายซึ่งมีการใช้งานเฉพาะองค์กร เช่น องค์กรที่มีสาขาอาจทาการสร้างระบบเครอื ข่าย เพื่อเช่ือมต่อระหวา่ งสานกั งานใหญ่กับสาขาท่ีมีอยู่ เป็นต้น การจัดตั้งระบบเครือข่ายส่วนตัวมีจุดเด่นในเรื่องของการรกั ษาความลบั ของ ขอ้ มลู สามารถควบคุมดูแลเครอื ข่ายและขยายเครอื ขา่ ยไปยังจุดที่ตอ้ งการ ส่วนขอ้ เสียคือใน
กรณีท่ีไม่ได้มีการส่งข้อมูลต่อเนื่องตลอดเวลา จะเสียค่าใช้จ่ายสูงมากเมื่อเทียบกับการส่งข้อมูลผ่านเครือข่ายสาธารณะ และหากมีการส่งข้อมูลระหว่างสาขาต่างๆ จะต้องมีการจัดหาช่องทางสื่อสารเชื่อมโยงระหว่างแต่ละสาขาด้วย ซ่ึงอาจจะไม่สามารถจัดช่องทางการสอ่ื สารไปยังพนื้ ทีท่ ีต่ อ้ งการได้ 2. เครือข่ายสาธารณะ (PDN: public data network) หรือบางครั้งเรียกว่าเครือข่ายมูลค่าเพิม่ (VAN: ValueAdded Network) เป็นเครือข่าย WAN ที่จะมีองค์กรหน่ึง (third party) เป็นผู้ทาหน้าที่ในการเดินระบบเครือข่าย และให้เช่าช่องทางการสื่อสารให้กับ บริษัทต่างๆ ที่ต้องการสร้างระบบเครือข่าย ซ่ึงบริษัทจะลดค่าใช้จ่ายของตนลงได้ เนื่องจากมีบุคคลอื่นมาช่วยแบ่งปันคา่ ใชจ้ ่ายไป ซ่ึงจะนยิ มใช้กันมาก เนื่องจากมีค่าใช้จา่ ยตา่ กว่าการจดั ต้ังเครือข่ายส่วนตัว สามารถใช้งานได้ทันทีโดยไม่ต้องเสียเวลาในการจัดต้ังเครือข่ายใหม่ รวมท้ังมีบริการให้เลือกอย่าง หลากหลาย ซ่ึงแตกต่างกันไปท้ังในส่วนของราคา ความเร็ว ขอบเขตพื้นท่ีบริการ และความเหมาะสมกบั งานแบบต่าง ๆ10. Wi-Fi Allianceคืออะไร มีบทบาทสาคัญต่อเครอื ข่ายไรส้ ายอย่างไรตอบ แม้ Wi-Fi จะพัฒนาข้ึนมายาวนาน แต่ในโทรศัพท์ทุกวันน้ีเวลาท่ีเราต้องการส่งไฟล์หรือข้อมูลอื่นๆ ระหว่างกันในโทรศพั ท์มอื ถอื ก็ยงั ต้องการ Bluetooth ที่มีมาตรฐานครบถ้วนให้ใช้งานได้มากกว่า เช่นการส่งข้อมูลไฟล์ระหว่างกันโดยตรง แต่ Wi-Fi Direct กจ็ ะมาชว่ ยอุดช่องโหว่นแ้ี ล้ว โดยหลกั การแลว้ Wi-Fi Direct จะคล้ายกับการทาเครือข่าย Adhoc แบบเดมิ ๆ เพราะมีสว่ น
ของ Device Discovery ไว้หาเครื่องรอบๆ โดยไม่ต้องเข้าร่วมเครือข่ายกันเสียก่อน และ Service Discovery ท่ีใช้แจ้งว่าเครื่องปลายทางสามารถรับบริการอะไรได้บ้าง จดุ ขายสาคัญของ Wi-Fi Direct คงเป็นเร่ืองของความเร็วท่ีทุกวันน้ีโทรศัพท์จานวนไม่น้อยทาความเรว็ ไดท้ ่ี 54Mbps กันเป็นเรื่องปรกติ และโทรศัพท์จานวนมากรองรับ 802.11n ทาให้ทาความเร็วไปได้ถึง 150Mbps ทาให้เราอาจจะส่งไฟล์ภาพความละเอียดสูงมากไปยังเคร่ืองพิมพ์ หรือไฟล์วีดีโอแบบ HD จากโทรศัพท์ไปยังเครื่องเพ่ือนข้างเคียงโดยไม่ลาบากมีเรอ่ื งใหแ้ บตเตอร่ีหมดเรว็ ขึน้ อีกแลว้11. ฮอตสปอต หมายถึงอะไร จงยกตัวอย่างสถานทที่ ีน่ กั ศึกษาเคยใช้บริการตอบ Hotspot การเชื่อมต่ออินเตอร์สาธารณะความเรว็ สูงผ่านเครือข่าย Wi-Fi เพือ่ เชื่อมโยงไปในการให้บริการอินเตอร์เน็ตHotspot มกั ใช้เทคโนโลยี Wi-Fi ทาใหผ้ ู้ใชง้ านสามารถออนไลนไ์ ด้ทุกที่ ทกุ เวลา ท้งั การรับสง่ อีเมล ดาวนโ์ หลดข้อมลู12. จงสรปุ วิธกี ารกระจายคลืน่ เครือขา่ ยไรส้ ายด้วยวิธี DSSS, FHSSและOFDMตอบ มาตรฐาน 802.11 ใช้การส่งสัญญาณแบบคลื่นวิทยุท่ีความถ่ี 2.4 GHz ซึ่งเป็นความถี่ ISM (Industrial,Scientific andMedical) Band สามารถส่งข้อมูลได้ด้วยอัตราความเร็วค่อนข้างต่า คือ 1 และ 2 Mbps เท่าน้ัน โดยใช้เทคนิคการส่งสัญญาณหลักอยู่ 2 รูปแบบ คือ DSSS (Direct Sequent Spread Spectrum) และ FHSS (Frequency Hopping Spread Spectrum) ซึ่งถูกคิดค้นมาจากหน่วยงานทหาร การส่งสัญญาณทั้ง 2 รูปแบบจะใช้ความกว้างของช่องสัญญาณ (Bandwidth) ท่ีมากกว่าการส่งสัญญาณแบบ Narrow Band แตท่ าให้สัญญาณมีความแรงมากกว่าซ่งึ ง่ายต่อการตรวจจับมากกวา่ แบบ Narrow Band หน่วยงาน
ทหารใช้วิธีการเหล่าน้ีในการปิดกั้นการใช้งานจากอุปกรณ์อ่ืนๆ ที่จะมาทาให้ระบบเกิดปัญหา โดยการส่งสัญญาณแบบ FHSSสัญญาณจะกระโดดจากความถี่หนึ่งไปยังอกี ความถี่หนึ่งในอตั ราท่ีได้กาหนดไว้แล้ว ซ่ึงจะรู้กันเฉพาะตัวรับกับตัวส่งเท่าน้ัน ส่วนการส่งสัญญาณแบบ DSSS จะมีการส่ง Chipping Code ไปกับสัญญาณแต่ละคร้ังด้วย ซึ่งจะมีเฉพาะตัวรบั กับตัวส่งเท่าน้ันที่จะร้ลู าดับของ Chip การใชง้ านระบบเครือขา่ ยแบบไร้สายทุกวนั นี้ DSSS มคี ุณสมบัติท่ีโดดเด่นและให้ Throughput ท่ีมากกว่า และจากที่ได้มีการพัฒนาจนได้อัตราการส่งข้อมูล 11 Mbps ผ่านการส่งแบบ DSSS และเป็นมาตรฐานที่โดดเด่นของ WLAN ผลิตภัณฑ์ซ่ึงรองรับมาตรฐาน 802.11b (อัตราส่งถ่ายข้อมูลสูง 11 Mbps) นี้สามารถทางานร่วมกับผลิตภัณฑ์ซึ่งทางานกับมาตรฐาน DSSS แบบเก่า802.11 (อัตราสง่ ถ่ายข้อมูล 1 และ 2 Mbps) ได้ แตร่ ะบบ FHHS จะถกู ใช้กับอปุ กรณ์ทมี่ กี าลงั ส่งต่า หรือเป็น Application ที่ใช้งานในย่านต่าๆ เชน่ โทรศัพทไ์ ร้สายความถี่ 2.4 GHz แต่จะไม่สามารถใช้งานรว่ มกบั ผลิตภัณฑ์ DSSS ได้
13. แอกเซสพอยตท์ ม่ี ีเสารับส่งสญั ญาณหลายตน้ ดอี ย่างไร และนาไปใชก้ บั มาตรฐาน WLAN ใดได้บ้างตอบ คือ อปุ กรณ์ที่มีหน้าท่ีในการกระจายสัญญาณ wireless (ไวร์เลส) เป็นอปุ กรณ์พ้ืนฐานตัวหน่ึงที่สามารถสร้างเครือข่ายไร้สายจากระบบเครือข่าย Lan (แลน) ได้ง่ายท่ีสุด แอคเซสพอยท์ทาหน้าท่ีกระจายสัญญาณออกไปยังเคร่ืองลูกข่ายที่อยู่ในรัศมีการกระจายสัญญาณโดยรอบ ซ่งึ ลกั ษณะของตัวแอคเซสพอยท์น้ันจะมีลักษณะที่แตกต่างกันอยู่กับผู้ผลิตจะดีไซน์ให้มีรปู รา่ งหน้าตาแบบไหน แต่ท่ีเหมือนกันก็คือ AP (เอพี) จะมีช่องเชียบสายแลนเพียงช่องเดียวเท่าน้ัน ช่องดังกล่าวจะเป็นช่องที่รับสัญญาณอินเตอร์เน็ตหรือใช้เช่ือมต่อกับเน็ตเวิร์คจากเครือข่ายแลนเข้ากับเครื่องลูกข่ายที่เช่ือมต่อแบบไร้สาย การทางานของ AP (เอพี) จะทางานภายใต้มาตรฐานของ ซง่ึ ทาใหอ้ ปุ กรณ์ท่มี มี าตรฐานนี้สามารถใช้งาน AP (เอพ)ี ได้อย่างเต็มประสทิ ธิภาพ แอคเซสพอยท์จะมีเสาสัญญาณ 1เสา และแอคเซสพอยท์ที่มีมากกว่า 2 เสา เพ่ือให้การกระจายสัญญาณของ AP สามารถกระจายสัญญาณได้มีคุณภาพมากยิ่งขึ้น ควรเลือกซอ้ื แบบ 2 เสาข้นึ ไป
14.จงอธบิ ายความแตกตา่ งระบบSU-MIMOกบั MU-MiMoตอบ อกี หนึ่งความสาคัญของ Beamforming คือ ช่วยสนับสนุนเทคนิค MU-MIMO (Multi-user Multiple Input MultipleOutput) จนถึงก่อนหน้ามาตรฐาน 802.11ac Wave 2 การรับส่งข้อมูลผ่าน Wi-Fi จะเป็นแบบ Single User-MIMO คือ AP จะรับส่งข้อมูลกับ Client ได้ครั้งละเครื่องเท่าน้ัน แต่ภายในการรับส่งข้อมูลแบบ 1 ต่อ 1 น้ีเอง มีการแยกข้อมูลออกเป็นช้ินๆ เรียกว่าSpatial Streams แล้วส่งข้อมูลออกไปหลายๆ เส้นทางพร้อมกันโดยอาศัยคุณสมบัติของ Multipath (สูงสุด 4 เส้นทาง สาหรับ802.11n และ 802.11ac Wave 1) อย่างไรก็ตาม Spatial Streams ไม่สามารถส่งข้อมูลไปยังหลายๆ Client พร้อมกันได้แต่ด้วยเทคนิค MU-MIMO บน 802.11ac Wave 2 ช่วยให้รูปแบบการรับส่งข้อมูลเปล่ียนจาก Hub กลายเป็น Switching นั่นคือ สามารถส่ง Spatial Streams ไปยังหลายๆ Client พร้อมกันได้ (ปัจจุบันนี้สูงสุดคือ 3 เครือ่ งพร้อมกัน) ด้วยเทคนิคน้ี ถึงแม้ว่าจะไม่ได้ทาให้ความเร็วสูงสุดเพิ่มข้ึน แต่ช่วยให้ความเร็วโดยเฉล่ียที่ Client แต่ละเคร่ืองได้รับดีกว่าเดิม MU-MIMO นับว่าเป็นเทคนิคท่ีImplement ได้ยากมาก จากรูปด้านล่าง การส่งข้อมูลหา User 1 นั้น AP จะต้องสร้างสัญญาณส่งไปยัง User 1 ให้มีความแรงสูง(เส้นกลีบสีน้าเงินด้านบน) ในขณะที่ต้องลดความแรงของสัญญาณที่ส่งไปยัง User อืน่ ลง ดังที่เห็นเป็นรอยบากตรง User 2 และ 3เรียกเทคนิคนี้ว่า “Null Steering” การส่งข้อมูลหา User 2 และ 3 ก็ทาเช่นเดียวกัน ดังปรากฏตามเส้นกลีบสีแดงและเหลืองตามลาดับ ด้วยวิธีการน้ี ทาให้ AP และ User 1, 2, 3 สามารถรับส่งข้อมูลพร้อมกันได้ ในขณะท่ีได้รับสัญญาณกวนระหว่างกันน้อยที่สุด
15.จงสรปุ รายละเอยี ดWLANตามมาตรฐาน802.11a,802.11b,802.11g,802.11nและ802.11acตอบ IEEE 802.11 ถอื เป็นมาตรฐานเครือขา่ ยไวเลสแลน โดยมกี ารกาหนดอกั ษรย่อของมาตรฐานต่างๆ แบง่ ออกเปน็ a, b, gและ n โดยแตล่ ะมาตรฐานมีความเร็วและใชค้ ลนื่ ความถท่ี ีแ่ ตกตา่ งกนั ออกไปดงั ต่อไปน้ี IEEE 802.11a คลื่นความถี่ 5 GHz ความเรว็ ในการรับสง่ ขอ้ มูล 54 Mbps ในประเทศไทยไม่อนญุ าตใิ หใ้ ช้คล่นื ความถี่น้ี IEEE 802.11b คลื่นความถ่ี 2.4 GHz ความเร็วในการรบั ส่งข้อมลู 11 Mbps IEEE 802.11g คล่นื ความถี่ 2.4 GHz ความเร็วในการรบั ส่งขอ้ มูล 54 Mbps IEEE 802.11n คลืน่ ความถี่ 2.4 ความเร็วในการรับส่งข้อมูล 300 Mbps IEEE 802.11ac คลน่ื ความถี่ 5.1 GHz มาตรฐานใหม่ลา่ สุด ความเรว็ ในการรบั สง่ ขอ้ มูล 6,930 Mbps หรือประมาณ6.93 Gbps
Search
Read the Text Version
- 1 - 14
Pages: