การวจิ ยั และพัฒนา เพื่อการพัฒนาหลกั สตู ร รองศาสตราจารย์ ดร.มารุต พัฒผล บัณฑิตวิทยาลัย มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครินทรวโิ รฒ
การวิจัยและพัฒนา เพื่อการพฒั นาหลักสตู รและการเรยี นรู้ รองศาสตราจารย์ ดร.มารตุ พฒั ผล บัณฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลยั ศรนี ครินทรวิโรฒ
การวจิ ัยและพฒั นาเพือ่ การพฒั นาหลักสตู รและการเรียนรู้ รองศาสตราจารย์ ดร.มารตุ พฒั ผล พมิ พ์เผยแพร่ออนไลน์ มกราคม 2562 แหลง่ เผยแพร่ ศูนย์ผูน้ านวัตกรรมหลักสูตรและการเรยี นรู้ www.curriculumandlearning.com พมิ พท์ ่ี ศูนย์ผนู้ านวตั กรรมหลักสูตรและการเรียนรู้, กรุงเทพมหานคร หนังสอื เลม่ น้ไี มม่ ีลิขสิทธิ์ จดั พิมพ์เพอ่ื สง่ เสรมิ สงั คมแหง่ การเรียนร้แู ละการแบ่งปัน
คานา หนังสือ “การวิจัยและพัฒนาเพ่ือการพัฒนาหลักสูตรและการเรียนรู้” เล่มนี้ มีวัตถุประสงค์เพ่ือนาเสนอภาพรวมของกระบวนการวิจัยและพัฒนาเพ่ือการ พัฒนาหลักสูตร ซึ่งมีเนื้อหาสาระประกอบด้วย แนวคิดหลักการของการวิจัยและ พัฒนา ความสาคัญของการวิจยั และพัฒนา การการวจิ ัยและพฒั นาในพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 การวิจัยและพัฒนาทางหลักสูตรและการเรียนรู้ รูปแบบ เชิงระบบของการวิจยั และพัฒนาทางหลกั สูตรและการเรยี นรู้ หวังเป็นอย่างย่ิงว่าหนังสอื เล่มนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อผ้ทู ่ีเก่ียวข้องกับงาน พัฒนาหลกั สูตรได้พอสมควร รองศาสตราจารย์ ดร.มารตุ พัฒผล
สารบัญ 1 2 1. แนวคิดหลกั การของการวิจัยและพฒั นา 2 2. ความสาคญั ของการวจิ ัยและพฒั นา 3 3. การวิจยั และพฒั นาในพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หวั รชั กาลที่ 9 23 4. การวจิ ัยและพัฒนาทางหลกั สูตรและการเรยี นรู้ 24 5. รูปแบบเชิงระบบของการวจิ ัยและพฒั นาทางหลกั สูตรและการเรียนรู้ 25 6. บทสรุป บรรณานกุ รม
บญั ชภี าพประกอบ 1 1 1. การวิจัยและพัฒนาทเี่ รมิ่ ตน้ จากการวจิ ยั 2. การวจิ ยั และพัฒนาทเ่ี รม่ิ ตน้ จากการพฒั นา 3 3. วงจรการวจิ ัยและพฒั นาในการทรงงาน 23 ของพระบาทสมเด็จพระเจา้ อย่หู วั รชั กาลท่ี 9 4. รูปแบบเชิงระบบของการวจิ ัยและพฒั นาทางหลกั สตู รและการเรยี นรู้
บญั ชีตาราง 1. การวเิ คราะห์วตั ถุประสงค์และการดาเนนิ การวิจัยของ กติ ตคิ ม คาวรี ตั น์ 4 2. การวิเคราะหว์ ตั ถปุ ระสงค์และการดาเนินการวิจัย 5 ของ พลวัติ วุฒปิ ระจกั ษ์ 6 3. การวิเคราะห์วัตถุประสงคแ์ ละการดาเนนิ การวิจัยของ มารตุ พฒั ผล 4. การวเิ คราะหว์ ตั ถปุ ระสงคแ์ ละการดาเนนิ การวจิ ัย 7 8 ของ อรอนงค์ นิยมธรรม 5. การวิเคราะห์วัตถุประสงค์และการดาเนนิ การวิจัยของ มารุต พัฒผล 9 6. การวิเคราะหว์ ัตถปุ ระสงคแ์ ละการดาเนินการวิจัย 10 11 ของ ว่าท่รี ้อยตรีนิวัฒน์ บุญสม 7. การวเิ คราะหว์ ตั ถุประสงคแ์ ละการดาเนินการวจิ ัยของ บญุ ฤทธ์ิ ปยิ ะศรี 12 8. การวเิ คราะหว์ ัตถปุ ระสงคแ์ ละการดาเนินการวจิ ัยของ ฉวีวรรณ ตาลสกุ 13 9. การวเิ คราะหว์ ตั ถุประสงคแ์ ละการดาเนนิ การวจิ ัย 14 ของ เกษศิรนิ ทร์ ศรสี ัมฤทธ์ิ 15 10. การวิเคราะห์วัตถปุ ระสงคแ์ ละการดาเนนิ การวจิ ยั ของ รจุ ริ าพร รามศริ ิ 11. การวเิ คราะห์วัตถปุ ระสงค์และการดาเนนิ การวจิ ยั 16 17 ของ จินตนา ศริ ธิ ญั ญารตั น์ 12. การวิเคราะหว์ ัตถปุ ระสงค์และการดาเนนิ การวจิ ัยของ มารุต พฒั ผล 18 13. การวเิ คราะหว์ ตั ถุประสงค์และการดาเนนิ การวจิ ยั ของ พนิดา จารยอ์ ปุ การะ 14. การวิเคราะหว์ ัตถุประสงคแ์ ละการดาเนินการวจิ ัยของ อษุ า มะหะหมดั 15. การวิเคราะห์วัตถปุ ระสงคแ์ ละการดาเนนิ การวจิ ยั ของ วิลาวัลย์ ด่านสิริสขุ
บญั ชตี าราง 19 16. การวเิ คราะห์วัตถุประสงคแ์ ละการดาเนนิ การวจิ ัย 20 ของ ลดั ดา หวงั ภาษิต 21 17. การวเิ คราะห์วตั ถุประสงค์และการดาเนนิ การวจิ ัย 22 ของ ปองทพิ ย์ เทพอารีย์ 18. การวิเคราะหว์ ัตถุประสงค์และการดาเนนิ การวจิ ยั ของ มารตุ พฒั ผล 19. การวเิ คราะห์วัตถุประสงค์และการดาเนินการวจิ ยั ของ จารัส อินทลาภาพร
การวจิ ยั และพัฒนาเพ่ือการพฒั นาหลกั สตู ร 1 การวิจัยและพัฒนา เพือ่ การพฒั นาหลกั สูตรและการเรยี นรู้ 1. แนวคดิ หลักการของการวิจยั และพัฒนา การวจิ ยั และพัฒนา (research and development) เรยี กสนั้ ๆ ว่า “อารแ์ อนดด์ ี” หมายถงึ ระเบียบวิธีการวิจัยท่ีใช้ท่ีใช้การวิจัย (research) และกระบวนการพัฒนา (development) ในการ พฒั นางานหรอื นวตั กรรม เปน็ วงจรต่อเน่ืองกันไปจนได้ผลงานหรอื นวตั กรรมทมี่ ีประสทิ ธผิ ลตามทต่ี อ้ งการ (ราชบัณฑิตยสถาน. 2555: 458) โดยท่ีการวิจัยและพัฒนาน้ันจะมีลักษณะพิเศษประการหน่ึงคือ มีการ ประเมินเพ่ือปรับปรุงและพัฒนานวัตกรรมอย่างต่อเน่ืองท้ังการประเมินแบบก้าวหน้า (formative evaluation) และการประเมินแบบรวมยอด (summative evaluation) โดยท่ีการปรับปรุงและ พัฒนานวัตกรรมให้มีคุณภาพท่ีดีขึ้นจะใช้การประเมินระหว่างทางเป็นเครื่องมือที่สาคัญ ส่วนการ ตรวจสอบว่านวัตกรรมมีความสมบูรณ์แล้วหรือไม่นั้น จะใช้การประเมินปลายทางเป็นเครื่องมือในการ ตรวจสอบ (Gall, Gall, and Borg. 2005: 460) การวจิ ัยและพฒั นาสามารถเร่ิมต้นที่การวิจยั กอ่ น หรอื จะ เร่ิมตน้ จากการพฒั นาก่อนกไ็ ด้ (ราชบณั ฑิตยสถาน. 2555: 458) ดงั แผนภาพต่อไปน้ี การวิจัย นาไปสู่ การพัฒนา นาไปสู่ การวิจยั นาไปสู่ การพฒั นา แผนภาพ 1 การวิจยั และพัฒนาที่เรม่ิ ตน้ จากการวิจยั การพัฒนา นาไปสู่ การวิจัย นาไปสู่ การพฒั นา นาไปสู่ การวิจัย แผนภาพ 2 การวจิ ัยและพัฒนาทเี่ ริ่มต้นจากการพฒั นา
2 การวจิ ยั และพัฒนาเพอื่ การพัฒนาหลกั สูตร 2. ความสาคัญของการวิจยั และพฒั นา การวิจัยและพฒั นามีความสาคัญต่อการพัฒนานวัตกรรมต่างๆ ในทุกสาขาวิชาชีพในฐานะที่ เป็นระเบียบวิธีการวิจัยที่ช่วยทาให้การพัฒนานวัตกรรมใดๆ ดาเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ กล่าวคือ มีความประหยัดและเกิดประโยชน์สูงสุด อีกท้ังยังทาให้ได้นวัตกรรมตามที่ต้องการอย่างมีประสิทธิผล เนื่องจากการวิจัยและพัฒนามีลักษณะเฉพาะคือ การนาผลการวิจัยไปเป็นองค์ความรู้ในการพัฒนา นวัตกรรม ทาให้นวัตกรรมที่พัฒนาน้ันมีรากฐานองค์ความรู้สนับสนุนอย่างแข็งแกร่ง ทาให้นวัตกรรม สามารถใชงานได้จริงอยา่ งมีประสทิ ธิภาพและประสิทธิผล 3. การวจิ ัยและพัฒนาในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี 9 พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัว รัชกาลที่ 9 ทรงงานการพฒั นาตา่ งๆ โดยใช้กระบวนการวจิ ัย และพัฒนาอย่างเปน็ ระบบ ซ่ึงทาให้เกิดนวตั กรรมต่างๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อประชาชน ประเทศชาติ และ โลก โดยที่การทรงงานของพระองค์ทรงยดึ หลกั อรยิ สัจสี่ เป็นสาคัญ คือ ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค และ นวัตกรรมต่างๆ ท่พี ระองคท์ รงพฒั นานน้ั จะมีความสอดคล้องกบั สภาพภูมศิ าสตรแ์ ละสงั คมศาสตรข์ องแต่ ละพนื้ ท่ี เรยี กสนั้ ๆ วา่ “ภูมิสังคม” นวัตกรรม “ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดาริ” ทั้ง 6 แห่ง ได้แก่ 1) ศูนย์ ศึกษาการพัฒนาเขาหินซ้อนอันเนื่องมาจากพระราชดาริ จังหวัดฉะเชิงเทรา 2) ศูนย์ศึกษาการพัฒนา ห้วยทรายอันเนื่องมาจากพระราชดาริ จังหวัดเพชรบุรี 3) ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบน อันเนื่องมาจากพระราชดาริ จังหวัดจันทบรุ ี 4) ศูนย์ศึกษาการพัฒนาภูพานอันเน่ืองมาจากพระราชดาริ จังหวัดสกลนคร 5) ศูนย์ศึกษาการพัฒนาหว้ ยฮ่องไคร้อนั เน่ืองมาจากพระราชดาริ จังหวัดเชียงใหม่ และ 6) ศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทองอันเน่ืองมาจากพระราชดาริ จังหวัดนราธิวาส เป็นตัวอย่างของการใช้ การวจิ ัยและพฒั นาเปน็ เครอ่ื งมือในการสรา้ งสรรค์นวัตกรรมการพัฒนาแบบบูรณาการตามหลักอรยิ สจั ส่ี และภูมิสงั คม ได้เป็นอย่างดี ซ่ึงจาเปน็ อย่างยิ่งท่ีคนไทยทกุ คนต้องศึกษาและเรียนรูแ้ ล้วนามาประยุกต์ใช้ ในการสร้างสรรคน์ วตั กรรมในวิชาชีพของตน โดยที่การวจิ ยั ของพระองค์มีลกั ษณะเปน็ การวจิ ัยและพัฒนา ตามวงจรการวจิ ยั ดงั ต่อไปน้ี
การวิจยั และพฒั นาเพื่อการพัฒนาหลกั สูตร 3 วางแผน วางแผน ปรบั ปรุง ปฏบิ ตั ิ ปรบั ปรงุ ปฏบิ ัติ ตรวจสอบ ตรวจสอบ แผนภาพ 3 วงจรการวิจัยและพฒั นาในการทรงงานของพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ วั รัชกาลท่ี 9 การวิจัยตามแผนภาพข้างต้นมีลักษณะเป็นวงจรการวิจัยและพัฒนา ที่แต่ละวงจรจะ ประกอบด้วย การวางแผน การปฏิบัติ การตรวจสอบ และการปรับปรุง ซ่ึงนับว่าเป็นกระบวนการวิจยั ท่ีสามารถนาไปสกู่ ารพัฒนานวตั กรรมทม่ี ีประโยชน์ และตอบสนองความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย อกี ทงั้ สอดคลอ้ งกับสภาพบริบททางภมู ิศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ 4. การวจิ ยั และพัฒนาทางหลักสตู รและการเรียนรู้ การวิจัยและพัฒนาเป็นการวิจัยท่ีสามารถนาไปใช้ได้ทุกแวดวงวิชาชีพ ทาให้เกิดนวัตกรรม ในรูปแบบต่างๆ โดยทางด้านหลักสูตรและการเรียนรู้ ได้มีการนาการวิจัยและพัฒนามาใช้เป็น กระบวนการวจิ ัยเพื่อสร้างสรรค์นวัตกรรมต่างๆ อยา่ งมากมาย ซึ่งในภาพรวมแลว้ ประกอบดว้ ย 4 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นตอนที่ 1 เป็นการวิเคราะห์ข้อมูลพ้ืนฐานสาหรับนาไปใชใ้ นการออกแบบนวัตกรรม ข้ันตอนที่ 2 เปน็ การออกแบบนวตั กรรมและตรวจสอบคณุ ภาพเบ้อื งตน้ ข้นั ตอนท่ี 3 เป็นการนานวัตกรรมไปทดลองใช้ ในสถานการณ์จรงิ และขั้นตอนที่ 4 เป็นการประเมนิ ประสิทธิผลของนวัตกรรม ยกตัวอย่างงานวิจัยและ พัฒนาทางหลกั สตู รและการเรยี นรู้ ให้ได้ศึกษาทาความเข้าใจดังต่อไปน้ี กิตติคม คาวีรัตน์ (2553) ได้ทาการวิจัยเรื่อง “การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้เชิง ประสบการณ์เพื่อสรา้ งเสริมสขุ ภาวะสาหรับนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏ” โดยใช้ระเบียบวิธีการวิจยั และพฒั นา 4 ระยะ ได้แก่ ระยะที่ 1 การศึกษาและวเิ คราะห์ข้อมลู พ้ืนฐาน ระยะที่ 2 การพัฒนารูปแบบ การจัดการเรยี นรู้ ระยะที่ 3 การทดลองใชร้ ปู แบบการจัดการเรียนรู้ และระยะท่ี 4 การประเมินผลการใช้ รปู แบบการจัดการเรียนรู้ โดยแตล่ ะระยะสรุปได้ดงั ตารางตอ่ ไปน้ี
4 การวิจัยและพัฒนาเพื่อการพัฒนาหลกั สตู ร ตาราง 1 การวเิ คราะห์วตั ถุประสงคแ์ ละการดาเนินการวิจยั ของ กติ ตคิ ม คาวรี ัตน์ ระยะที่ วัตถุประสงค์ การดาเนินการวิจัย 1 เพื่อศกึ ษาและวิเคราะห์ข้อมูลพนื้ ฐาน 1. วิเคราะหเ์ อกสาร (Documentary Analysis) 2. ประเมนิ ความตอ้ งการจาเป็น (Need Assessment) 3. วจิ ยั เชิงสารวจ (Survey Research) 4. สังเคราะหง์ านวจิ ยั (Synthesis Research) 2 เพอ่ื ออกแบบและพัฒนารปู แบบการจัด 1. กาหนดกรอบแนวคดิ ของรูปแบบการจัดการเรียนรู้ การเรยี นรู้ 2. สร้างรา่ งรปู แบบการจัดการเรียนรู้ 3. ตรวจสอบความเหมาะสมของร่างรูปแบบการจัดการเรียนรู้ 4. ตรวจสอบความเหมาะสอดคล้องของร่างรูปแบบ การจัดการเรียนรู้ 5. สรา้ งและตรวจสอบคณุ ภาพเคร่อื งมอื ประกอบการใช้ รูปแบบการจดั การเรยี นรู้ 6. ศกึ ษานารอ่ ง (Pilot Study) และปรบั ปรุงแกไ้ ข 3 เพือ่ ทดลองใช้รูปแบบการจัดการเรยี นรู้ 1. ทดลองใชร้ ูปแบบการจัดการเรียนรู้ โดยการวจิ ยั กง่ึ ทดลอง (Quasi Experimental Research) แบบแผนการทดลอง The One Group Pretest – Posttest Design 4 เพอ่ื ประเมนิ ผลการใช้รูปแบบการจัด 1. รวบรวมผลการวเิ คราะหข์ ้อมูลทไี่ ดจ้ ากการทดลองใช้ การเรยี นรู้ 2. ประเมินผลการใช้รูปแบบการจดั การเรียนรู้ 3. ตรวจสอบ ปรับปรุง แก้ไขรูปแบบการจัดการเรยี นรู้ 4. ขยายผลรปู แบบการจัดการเรยี นรู้
การวิจยั และพฒั นาเพ่อื การพฒั นาหลักสตู ร 5 พลวัต วุฒปิ ระจักษ์ (2553) ได้ทาการวิจยั เรื่อง “การพัฒนาหลกั สูตรรายวิชาจิตตปญั ญาศึกษา สาหรับนักศึกษาครู เพ่ือเสริมสร้างคุณลักษณะบัณฑิตครูที่พึงประสงค์” โดยใช้ระเบียบวิธีการวิจัยและ พัฒนา 4 ระยะ ได้แก่ ระยะที่ 1 การศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐาน ระยะที่ 2 การพัฒนาหลักสูตร ระยะที่ 3 การทดลองใชห้ ลักสูตร และระยะที่ 4 การประเมนิ ผลหลักสตู ร โดยแตล่ ะระยะสรุปไดด้ งั ตาราง ตอ่ ไปนี้ ตาราง 2 การวิเคราะหว์ ัตถุประสงคแ์ ละการดาเนินการวิจยั ของ พลวัติ วุฒิประจักษ์ ระยะท่ี วตั ถุประสงค์ การดาเนินการวจิ ยั 1 เพื่อศึกษาและวิเคราะห์ขอ้ มลู พ้นื ฐาน 1. วิเคราะห์เอกสาร 2 เพอ่ื พัฒนาหลักสตู ร 2. ประเมินความต้องการจาเป็น 1. ยกรา่ งหลกั สูตร 3 เพ่อื ทดลองใช้หลักสูตร 2. ตรวจสอบคุณภาพรา่ งหลักสูตร 3. ปรับปรุงหลกั สตู ร 4 เพื่อประเมินผลหลกั สูตร 4. พัฒนาเคร่ืองมือประกอบการใชห้ ลกั สูตร 5. ทดลองใช้นารอ่ งหลกั สูตร 1. ทดลองใชห้ ลักสูตรโดยใชก้ ารวิจยั กงึ่ ทดลอง (Quasi Experimental Research) แบบแผนการทดลอง The One Group Pretest – Posttest Design 2. ปรับปรงุ แก้ไขหลกั สูตรระหวา่ งการทดลอง 1. ประเมนิ ผลระหวา่ งการใช้หลักสตู ร 2. ประเมนิ ผลรูปแบบหลกั สตู ร 3. ขยายผลการใช้หลักสตู ร
6 การวิจยั และพัฒนาเพอ่ื การพัฒนาหลักสตู ร มารุต พัฒผล (2555) ได้ทาการวิจัยเรื่อง “การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมครูเพ่ือเสริมสร้าง ความสามารถในการจัดการเรียนรู้โดยใช้วิจัยเป็นฐาน” โดยใช้ระเบียบวิธีการวิจัยและพัฒนา 4 ระยะ ได้แก่ ระยะที่ 1 การศึกษาข้อมูลพ้ืนฐานสาหรับการพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรม ระยะท่ี 2 การพัฒนา หลักสูตรฝึกอบรมฉบับร่างและการทดลองนาร่อง ระยะท่ี 3 การทดลองใช้หลกั สตู รฝึกอบรม และระยะ ท่ี 4 การประเมินประสิทธิผลหลักสูตรฝึกอบรมและปรับปรุงแก้ไขหลักสูตร โดยแต่ละระยะสรุปได้ดัง ตารางต่อไปน้ี ตาราง 3 การวิเคราะห์วตั ถุประสงคแ์ ละการดาเนินการวิจยั ของ มารตุ พฒั ผล ระยะท่ี วัตถุประสงค์ การดาเนินการวิจัย 1 เพ่ือศกึ ษาข้อมูลพ้ืนฐานสาหรับการ 1. สงั เคราะห์เอกสารและงานวจิ ยั ทีเ่ กยี่ วขอ้ ง พฒั นาหลักสตู รฝึกอบรม 2. สัมภาษณ์ผบู้ รหิ ารสถานศึกษา 3. สมั ภาษณผ์ สู้ อน 2 เพือ่ พัฒนาหลกั สตู รฝึกอบรมฉบับร่าง 4. วิเคราะห์สภาพบรบิ ทการปฏบิ ัตงิ านของผู้สอน และการทดลองนาร่อง 1. พฒั นาหลักสตู รฝึกอบรมฉบบั รา่ ง 2. ตรวจสอบคุณภาพของหลักสตู รฝึกอบรมดา้ นความสอดคลอ้ ง 3 เพ่ือทดลองใชห้ ลักสตู รฝึกอบรม 3. ตรวจสอบคุณภาพของหลกั สตู รฝึกอบรมด้านความเหมาะสม 4 เพื่อประเมินประสทิ ธผิ ลและปรบั ปรุง 4. ตรวจสอบคณุ ภาพของหลกั สูตรฝกึ อบรมดา้ นความเปน็ ไปได้ แก้ไขหลกั สูตรฝกึ อบรม ในการนาหลักสูตรไปปฏบิ ตั ิ 5. ปรบั ปรงุ แก้ไขหลกั สตู รฝกึ อบรม 6. ทดลองนารอ่ งหลักสูตรฝึกอบรม 7. ปรับปรงุ แก้ไขหลกั สูตรฝกึ อบรม 1. ทดลองใชห้ ลักสตู รฝกึ อบรม โดยใช้แบบแผนการทดลอง One Group Pretest – Posttest Design 1. ประเมินประสทิ ธิผลของหลักสูตรฝึกอบรม 2. ปรบั ปรงุ แก้ไขหลกั สูตรฝึกอบรมฉบบั สมบูรณ์
การวิจัยและพฒั นาเพื่อการพัฒนาหลักสตู ร 7 อรอนงค์ นิยมธรรม (2555) ได้ทาการวิจัยเร่ือง “การพฒั นาหลักสูตรเสริมสรา้ งคุณลกั ษณะ ด้านความเมตตากรณุ าตามแนวคิดทฤษฎีการเรียนรเู้ พ่อื การเปล่ียนแปลง สาหรับนักศึกษามหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก” โดยใช้ระเบียบวิธีการวิจัยและพัฒนา 4 ระยะ ได้แก่ ระยะที่ 1 การศึกษาข้อมูลพื้นฐาน ระยะที่ 2 การสร้างหลักสูตร ระยะท่ี 3 การทดลองใช้หลักสูตร และระยะที่ 4 การตรวจสอบประสทิ ธผิ ลและปรับปรุงแกไ้ ขหลักสูตร โดยแตล่ ะระยะสรุปได้ดังตารางต่อไปน้ี ตาราง 4 การวิเคราะหว์ ตั ถุประสงค์และการดาเนินการวิจัยของ อรอนงค์ นยิ มธรรม ระยะที่ วตั ถุประสงค์ การดาเนินการวิจยั 1 เพอื่ ศึกษาข้อมูลพื้นฐาน 1. ศกึ ษาแนวคดิ ทฤษฎี และงานวจิ ยั ท่เี ก่ยี วขอ้ ง 2. ศึกษาความคดิ เหน็ เกย่ี วกับการเสริมสร้างความเมตตากรณุ า 2 เพอ่ื สร้างหลักสูตร 3. ศึกษาพฤติกรรมการเรียนรขู้ องนกั ศกึ ษา 4. สงั เคราะหค์ ณุ ลักษณะความเมตตากรุณา 3 เพ่อื ทดลองใช้หลกั สูตร 5. ศกึ ษาเอกสารทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกบั การออกแบบหลักสูตรเสริม 4 เพื่อตรวจสอบประสทิ ธิผลและปรับปรุง 1. พัฒนาร่างหลกั สูตรเสรมิ สร้างคุณลักษณะความเมตตากรุณา 2. ตรวจสอบคณุ ภาพของหลักสตู รดา้ นความเหมาะสม แก้ไขหลักสตู ร และความสอดคลอ้ ง 3. ปรบั ปรุงแก้ไขหลกั สูตร 1. นาหลักสตู รไปทดลองนารอ่ ง และปรบั ปรุงแกไ้ ข 2. ทดลองใชห้ ลกั สตู ร โดยใชแ้ บบแผนการทดลอง Pretest – Posttest Control Group Design 1. ตรวจสอบประสทิ ธผิ ลของหลักสตู ร 2. ปรับปรุงแกไ้ ขหลกั สตู ร
8 การวิจัยและพัฒนาเพอ่ื การพัฒนาหลักสูตร มารุต พัฒผล (2556) ได้ทาการวิจัยเรื่อง “การพัฒนารูปแบบการพัฒนาครูด้านการจัดการ เรียนรู้ที่เสริมสร้างการรู้คิดและความสุขในการเรียนรู้ของผู้เรียนระดับประถมศึกษา ” โดยใช้ระเบียบ วิธีการวจิ ัยและพฒั นา 4 ระยะ ไดแ้ ก่ ระยะท่ี 1 การศกึ ษาขอ้ มูลพ้นื ฐานสาหรบั การพฒั นารปู แบบ ระยะท่ี 2 การพัฒนารูปแบบและตรวจสอบคุณภาพเบ้ืองต้น ระยะท่ี 3 การทดลองใช้รูปแบบ และระยะท่ี 4 การประเมินประสทิ ธิผลของรปู แบบ โดยแต่ละระยะสรุปได้ดังตารางตอ่ ไปนี้ ตาราง 5 การวเิ คราะหว์ ัตถปุ ระสงค์และการดาเนินการวิจัยของ มารตุ พัฒผล ระยะท่ี วัตถุประสงค์ การดาเนินการวิจัย 1 เพอ่ื ศกึ ษาข้อมูลพื้นฐานสาหรบั การ 1. สงั เคราะหเ์ อกสารและงานวจิ ัยทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง พฒั นารปู แบบ 2. สัมภาษณ์ผ้ทู รงคุณวฒุ ิ 3. สัมภาษณผ์ บู้ รหิ ารสถานศกึ ษา 2 เพือ่ พฒั นารปู แบบและตรวจสอบ 4. สัมภาษณผ์ สู้ อน คุณภาพเบ้ืองตน้ 5. วิเคราะห์สภาพบรบิ ทการปฏบิ ตั งิ านของผูส้ อน 1. ยกรา่ งรปู แบบ 3 เพื่อทดลองใชร้ ูปแบบ 2. ตรวจสอบคุณภาพด้านความสอดคล้องของรูปแบบ 4 เพ่ือประเมนิ ประสทิ ธผิ ลของรปู แบบ 3. ตรวจสอบคุณภาพด้านความเหมาะสมของรูปแบบ 4. ตรวจสอบคณุ ภาพดา้ นความเปน็ ไปไดใ้ นการนารูปแบบ ไปปฏบิ ัติ 5. ทดลองนาร่องรูปแบบ 6. ปรับปรุงแกไ้ ขรปู แบบ 1. ทดลองใชร้ ูปแบบ โดยใช้แบบแผนการทดลอง One Group Pretest – Posttest Design 1. ประเมนิ ประสทิ ธผิ ลของรูปแบบ 2. ปรบั ปรุงรูปแบบการพฒั นาครูทส่ี มบูรณ์
การวจิ ยั และพฒั นาเพื่อการพัฒนาหลักสตู ร 9 ว่าที่ร้อยตรีนิวัฒน์ บุญสม (2556) ได้ทาการวิจัยเร่ือง “การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอน ตามแนวคดิ ของกระบวนการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์เพื่อส่งเสรมิ นวัตกรรมด้านสขุ ภาพของนกั เรียนที่มี ความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์” โดยใช้ระเบียบวิธีการวิจัยและพัฒนา 4 ระยะ ได้แก่ ระยะท่ี 1 การศึกษาวิเคราะห์ขอ้ มูลพ้นื ฐาน ระยะที่ 2 การออกแบบและพัฒนารปู แบบการเรียนการสอน ระยะที่ 3 การทดลองใช้รูปแบบการเรียนการสอน และระยะท่ี 4 การประเมนิ ผลและการขยายผล โดยแต่ละระยะ สรุปไดด้ งั ตารางตอ่ ไปนี้ ตาราง 6 การวิเคราะหว์ ัตถุประสงคแ์ ละการดาเนินการวจิ ัยของ ว่าท่ีรอ้ ยตรีนวิ ัฒน์ บญุ สม ระยะท่ี วตั ถปุ ระสงค์ การดาเนินการวิจยั 1 เพอื่ ศกึ ษาวเิ คราะห์ข้อมลู พื้นฐาน 1. วเิ คราะหเ์ อกสารต่างๆ ทเี่ กีย่ วขอ้ ง 2. ศึกษาวธิ ีการเรยี นรู้ (learning style) ของผูเ้ รียน 3. ศกึ ษาความคดิ เหน็ ของผเู้ ช่ียวชาญ 4. สังเคราะหแ์ นวคดิ ทฤษฎี ผลการวจิ ยั 2 เพื่อออกแบบและพัฒนารูปแบบ 1. พฒั นารูปแบบการเรยี นการสอน การเรยี นการสอน 2. พฒั นาค่มู อื การใช้รูปแบบการเรยี นการสอน 3. ตรวจสอบคณุ ภาพรูปแบบการเรยี นการสอน 4. ศกึ ษานาร่องรูปแบบการเรยี นการสอน 5. ปรบั ปรงุ แกไ้ ขรูปแบบการเรยี นการสอน 3 เพือ่ ทดลองใชร้ ูปแบบการเรียนการสอน 1. ทดลองใช้รปู แบบการเรียนการสอนโดยใช้แบบแผน การทดลอง Equivalent Time – Series Design 4 เพอื่ ประเมินผลและขยายผลรูปแบบ 1. ประเมินผลการใชร้ ปู แบบการเรียนการสอน การเรยี นการสอน 2. ปรบั ปรุงแกไ้ ขรูปแบบการเรียนการสอนใหส้ มบูรณ์ 3. ขยายผลรูปแบบการเรยี นการสอน
10 การวิจยั และพัฒนาเพื่อการพฒั นาหลักสตู ร บุญยฤทธ์ิ ปิยะศรี (2556) ได้ทาการวิจัยเร่ือง “รูปแบบการพัฒนาวิชาชีพครูเพื่อเสรมิ สรา้ ง สมรรถนะการสอนท่ีเน้นความแตกต่างระหว่างบุคคล” โดยใช้ระเบียบวิธีการวิจัยและพัฒนา 4 ระยะ ได้แก่ ระยะที่ 1 การศึกษาวิเคราะหข์ ้อมลู พื้นฐาน ระยะที่ 2 การออกแบบและพัฒนารูปแบบการพฒั นา วิชาชีพครู ระยะที่ 3 การทดลองใช้รูปแบบการพัฒนาวิชาชีพครู และระยะที่ 4 การประเมินผลรปู แบบ การพัฒนาวชิ าชีพครู โดยแตล่ ะระยะสรปุ ได้ดงั ตารางต่อไปน้ี ตาราง 7 การวเิ คราะหว์ ัตถุประสงค์และการดาเนินการวจิ ัยของ บญุ ฤทธ์ิ ปยิ ะศรี ระยะที่ วัตถปุ ระสงค์ การดาเนินการวจิ ัย 1 เพอ่ื ศกึ ษาวเิ คราะหข์ ้อมลู พื้นฐาน 1. วิเคราะหเ์ อกสารตา่ งๆ ทีเ่ กีย่ วขอ้ ง 2. วเิ คราะหอ์ งค์ประกอบข้ันตอนของรปู แบบการพฒั นา วชิ าชพี ครู 3. ตรวจสอบยนื ยันองค์ประกอบของรูปแบบการพฒั นา วชิ าชพี ครู 2 เพอ่ื ออกแบบและพัฒนารปู แบบ 1. ออกแบบและพฒั นารา่ งรูปแบบการพัฒนาวิชาชพี ครู การพัฒนาวิชาชพี ครู 2. ตรวจสอบความเหมาะสมของรา่ งรูปแบบการพัฒนา วชิ าชพี ครู 3. สรา้ งและตรวจสอบคุณภาพเครื่องมอื ประกอบการใช้ รปู แบบการพฒั นาวชิ าชพี ครู 4. ตรวจสอบความเหมาะสมและความเป็นไปไดข้ องการนา รูปแบบการพัฒนาวชิ าชพี ครูไปใช้ 3 เพอื่ ทดลองใช้รูปแบบการพฒั นาวิชาชีพครู 1. นารปู แบบการพฒั นาวิชาชพี ครูไปทดลองใช้ โดยใชแ้ บบแผนการทดลอง One Group Pretest – Posttest Design 4 เพื่อประเมินผลรปู แบบการพัฒนาวิชาชพี ครู 1. ประเมนิ ประสทิ ธผิ ลรูปแบบการพัฒนาวชิ าชีพครู 2. ปรบั ปรุงแกไ้ ขใหส้ มบูรณ์ 3. ขยายผลรูปแบบการพฒั นาวชิ าชีพครู
การวิจยั และพฒั นาเพ่อื การพฒั นาหลักสตู ร 11 ฉวีวรรณ ตาลสุก (2556) ได้ทาการวิจัยเร่ือง “การพัฒนาหลักสูตรนาฏศิลป์สร้างสรรค์ ตามแนวทางการจดั การศึกษาเชิงสรา้ งสรรคส์ าหรับนกั เรียนระดับชั้นประถมศึกษา” โดยใชร้ ะเบยี บวิธกี าร วิจัยและพัฒนา 4 ระยะ ได้แก่ ระยะที่ 1 การศึกษาวเิ คราะห์และกาหนดจุดมงุ่ หมายของหลักสูตร ระยะที่ 2 การออกแบบและพฒั นาหลกั สตู ร ระยะที่ 3 การทดลองใชห้ ลกั สตู ร และระยะท่ี 4 การประเมนิ หลกั สตู ร โดยแตล่ ะระยะสรปุ ไดด้ ังตารางตอ่ ไปนี้ ตาราง 8 การวิเคราะห์วัตถปุ ระสงคแ์ ละการดาเนนิ การวิจยั ของ ฉวีวรรณ ตาลสกุ ระยะที่ วตั ถปุ ระสงค์ การดาเนินการวิจัย 1 เพอื่ ศกึ ษาวเิ คราะห์และกาหนดจุดมงุ่ หมาย 1. วเิ คราะห์เอกสารตา่ งๆ ท่ีเกีย่ วข้อง ของหลกั สูตร 2. ศกึ ษาความตอ้ งการจาเปน็ ในการพฒั นาหลักสตู ร 2 เพ่ือออกแบบและพฒั นาหลักสตู ร 1. พัฒนารา่ งหลักสตู รนาฏศิลป์สรา้ งสรรค์ 2. ตรวจสอบความสอดคล้องของร่างหลักสูตร 3 เพอ่ื ทดลองใช้หลกั สูตร 4 เพื่อประเมินหลักสูตร ศลิ ป์สรา้ งสรรค์ และปรับปรงุ แกไ้ ข 3. ตรวจสอบคุณภาพหลกั สตู รโดยการสัมมนาผู้เชย่ี วชาญ (Connoisseurship) และปรบั ปรงุ แกไ้ ข 4. ทดลองนารอ่ งใช้หลักสูตรนาฏศิลปส์ รา้ งสรรค์ และปรับปรงุ แก้ไข 1. ทดลองใช้หลกั สตู รนาฏศลิ ป์สร้างสรรคโ์ ดยใชแ้ บบแผน การทดลอง Equivalent Time – Series Design 1. ประเมนิ ผลหลกั สูตรจากผลการเรียนรู้ของผเู้ รียน 2. ขยายผลหลักสูตรนาฏศลิ ป์สร้างสรรค์ 3. ปรบั ปรุงหลักสตู รฉบบั สมบูรณ์
12 การวิจัยและพฒั นาเพอ่ื การพฒั นาหลักสตู ร เกษศริ ินทร์ ศรสี มั ฤทธิ์ (2556) ได้ทาการวจิ ัยเรื่อง “รูปแบบการพฒั นาวิชาชพี เพือ่ เสรมิ สร้าง สมรรถภาพครูดา้ นการจัดประสบการณ์ส่งเสริมทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรแ์ ละจิตวิทยาศาสตร์ ของเด็กปฐมวยั ” โดยใช้ระเบยี บวธิ กี ารวิจยั และพฒั นา 4 ระยะ ไดแ้ ก่ ระยะที่ 1 การศกึ ษาวิเคราะห์ข้อมูล พื้นฐาน ระยะที่ 2 การออกแบบและพัฒนารปู แบบการพฒั นาวิชาชพี ระยะท่ี 3 การทดลองใช้รูปแบบการ พฒั นาวชิ าชีพ และระยะท่ี 4 การประเมนิ ผลและปรับปรงุ รูปแบบการพฒั นาวิชาชีพ โดยแตล่ ะระยะสรุป ได้ดงั ตารางตอ่ ไปนี้ ตาราง 9 การวเิ คราะห์วัตถุประสงค์และการดาเนินการวิจยั ของ เกษศิรนิ ทร์ ศรสี มั ฤทธ์ิ ระยะที่ วัตถปุ ระสงค์ การดาเนินการวจิ ัย 1 เพอื่ การศึกษาวเิ คราะห์ขอ้ มูลพื้นฐาน 1. ศึกษาเปรียบเทยี บสภาพทคี่ าดหวงั กบั สภาพปัจจุบนั 2. วิเคราะห์กาหนดคณุ ลักษณะเดก็ ปฐมวยั 2 เพอ่ื ออกแบบและพฒั นารปู แบบการพัฒนา 3. วเิ คราะหส์ มรรถภาพครูดา้ นความรู้ ทกั ษะ คุณลกั ษณะ วิชาชพี และกระบวนการจดั ประสบการณ์ 3 เพ่อื ทดลองใช้รูปแบบการพฒั นาวิชาชีพ 4. วเิ คราะห์วธิ กี ารพฒั นาวชิ าชพี ครู 4 เพื่อประเมินผลและปรบั ปรงุ รปู แบบ 1. ออกแบบร่างรูปแบบการพฒั นาวชิ าชีพ 2. ตรวจสอบคณุ ภาพดา้ นความเหมาะสมของรปู แบบ การพฒั นาวิชาชีพ การพัฒนาวิชาชีพ 3. สรา้ งและตรวจสอบคุณภาพของเครอื่ งมอื ประกอบ การใชร้ ูปแบบการพฒั นาวิชาชพี 4. ตรวจสอบคณุ ภาพดา้ นความเป็นไปได้ในการนารูปแบบ การพัฒนาวิชาชีพไปใช้ 5. ทดลองใช้นาร่องรูปแบบการพัฒนาวชิ าชพี 1. ทดลองใชร้ ปู แบบการพัฒนาวิชาชพี โดยใช้แบบแผน การทดลอง One Group Pretest – Posttest Design รว่ มกบั Equivalent Time – Series Design 1. ประเมินผลรูปแบบการพฒั นาวชิ าชีพ 2. ขยายผลรปู แบบการพฒั นาวิชาชพี 3. ปรบั ปรงุ แกไ้ ขรูปแบบการพฒั นาวิชาชพี ที่สมบรู ณ์
การวจิ ยั และพัฒนาเพอื่ การพัฒนาหลกั สตู ร 13 รุจิราพร รามศิริ (2556) ได้ทาการวิจัยเร่ือง “การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอน วิทยาศาสตร์โดยใช้การวิจัยเป็นฐานเพ่ือเสริมสร้างทักษะการวิจัย ทักษะการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ และจติ วทิ ยาศาสตร์ของนักเรียนระดับมัธยมศกึ ษา” โดยใช้ระเบียบวธิ กี ารวิจัยและพฒั นา 4 ระยะ ไดแ้ ก่ ระยะท่ี 1 การศกึ ษาวิเคราะห์ขอ้ มูลพื้นฐาน ระยะที่ 2 การออกแบบและพฒั นารปู แบบการเรยี นการสอน ระยะท่ี 3 การทดลองใชร้ ปู แบบการเรียนการสอน และระยะที่ 4 การประเมนิ ประสทิ ธิผลของรปู แบบการ เรียนการสอน โดยแตล่ ะระยะสรุปไดด้ ังตารางตอ่ ไปนี้ ตาราง 10 การวิเคราะห์วัตถปุ ระสงค์และการดาเนินการวิจัยของ รุจิราพร รามศิริ ระยะที่ วตั ถุประสงค์ การดาเนินการวจิ ัย 1 เพ่ือการศึกษาวิเคราะห์ข้อมลู พื้นฐาน 1. วิเคราะหเ์ อกสารและแหลง่ ขอ้ มลู จากบุคคล 2 เพอ่ื ออกแบบและพฒั นารูปแบบการเรยี น 2. วเิ คราะหผ์ เู้ รยี น การสอน 3. ศกึ ษาความตอ้ งการจาเป็น 1. ออกแบบและพัฒนารา่ งรูปแบบการเรยี นการสอน 3 เพอ่ื ทดลองใชร้ ูปแบบการเรยี นการสอน 2. ตรวจสอบคุณภาพด้านความเหมาะสม 4 เพอื่ ประเมนิ ประสทิ ธิผลรปู แบบการเรียน และความสอดคลอ้ งของรูปแบบ คู่มอื การใช้รูปแบบ การสอน และเครอ่ื งมือประกอบการใชร้ ปู แบบการเรียนการสอน และปรบั ปรุงแก้ไข 3. ทดลองนารอ่ งรูปแบบการเรียนการสอนและประเมนิ ประสิทธิภาพของรูปแบบการเรยี นการสอน 4. ปรับปรุงแกไ้ ข 1. ทดลองใช้รปู แบบการเรยี นการสอนโดยใช้แบบแผน การทดลอง Multi – factor between factorial Design ร่วมกับ The One Group Pretest – Posttest Design และการวดั ซ้าเพอื่ ทดสอบความคงทน และแบบแผน The One Short Case Study 1. ประเมนิ ประสทิ ธิผลของรูปแบบการเรยี นการสอน 2. ตรวจสอบ ปรับปรงุ แกไ้ ข 3. ขยายผลรูปแบบการเรยี นการสอน
14 การวจิ ัยและพฒั นาเพ่อื การพัฒนาหลักสตู ร จินตนา ศิริธัญญารัตน์ (2556) ได้ทาการวิจัยเร่ือง “การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอน วิทยาศาสตรท์ ่ีบรู ณาการกลยุทธ์การพัฒนาทกั ษะการคิดขั้นสงู เพอ่ื สง่ เสรมิ ทักษะการคิดข้นั สงู ในศตวรรษที่ 21 และจิตวิทยาศาสตร์ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษา” โดยใช้ระเบียบวิธีการวิจัยและพัฒนา 4 ระยะ ได้แก่ ระยะที่ 1 การวิเคราะห์ข้อมลู พ้นื ฐาน ระยะที่ 2 การออกแบบและพัฒนา ระยะท่ี 3 การนาไปใช้ และระยะที่ 4 การประเมนิ ผลและการขยายผล โดยแต่ละระยะสรปุ ไดด้ งั ตารางต่อไปน้ี ตาราง 11 การวเิ คราะหว์ ัตถปุ ระสงค์และการดาเนินการวิจัยของ จินตนา ศริ ธิ ญั ญารัตน์ ระยะที่ วตั ถุประสงค์ การดาเนินการวจิ ยั 1 เพอ่ื ศกึ ษาและวเิ คราะห์ข้อมลู พ้ืนฐาน 1. วิเคราะหเ์ อกสาร 2. ประเมินความตอ้ งการจาเปน็ 3. สงั เคราะห์เอกสาร (Documentary Synthesis) 4. วจิ ัยเชงิ สารวจ 2 เพื่อพฒั นารูปแบบการเรยี นการสอน 1. สรา้ งรา่ งรปู แบบการเรยี นการสอน 2. ตรวจสอบร่างรูปแบบการเรยี นการสอน 3. สร้างเครือ่ งมือท่ใี ชใ้ นการทดลองและเกบ็ รวบรวมข้อมูล 4. ตรวจสอบความเหมาะสมของรูปแบบการเรียนการสอน 5. ทดลองใช้นารอ่ งรูปแบบการเรยี นการสอน 6. ปรบั ปรุงรปู แบบการเรยี นการสอน 3 เพือ่ ทดลองใชร้ ปู แบบการเรียนการสอน 1. ทดลองใช้รปู แบบการเรียนการสอน โดยใช้ การวจิ ยั ก่ึงทดลอง (Quasi Experimental Research) โดยใช้แบบแผน The One Group Pretest – Posttest Design และแบบแผน The One Group Time Series Design 2. ตดิ ตามพัฒนาการทกั ษะการคดิ ขัน้ สงู 4 เพื่อประเมนิ ผลรปู แบบการเรียน 1. ประเมนิ รปู แบบการเรยี นการสอน การสอน 2. ปรับปรุงรปู แบบการเรียนการสอน 3. ขยายผลการใช้รูปแบบการเรียนการสอน
การวจิ ยั และพฒั นาเพื่อการพฒั นาหลกั สูตร 15 มารุต พัฒผล (2557) ได้ทาการวิจัยเร่อื ง “การเสรมิ สร้างศักยภาพการจัดการเรียนร้ขู องครู โรงเรียนตารวจตระเวนชายแดน” โดยใช้ระเบียบวิธีการวิจัยและพัฒนา 4 ระยะ ได้แก่ ระยะที่ 1 การศกึ ษาบรบิ ทการจัดการศึกษาของโรงเรยี นตารวจตระเวนชายแดน ระยะท่ี 2 การดาเนนิ การเสรมิ สรา้ ง ศักยภาพการจัดการเรยี นรขู้ องครโู รงเรียนตารวจตระเวนชายแดน ระยะท่ี 3 การสังเคราะห์รปู แบบการ เสริมสร้างศกั ยภาพการจดั การเรยี นรขู้ องครโู รงเรียนตารวจตระเวนชายแดน และระยะที่ 4 การตรวจสอบ ประสิทธิผลของรปู แบบการเสริมสร้างศักยภาพการจัดการเรียนรูข้ องครโู รงเรียนตารวจตระเวนชายแดน โดยแต่ละระยะสรุปได้ดังตารางต่อไปนี้ ตาราง 12 การวเิ คราะห์วัตถุประสงคแ์ ละการดาเนนิ การวจิ ัยของ มารตุ พัฒผล ระยะท่ี วัตถปุ ระสงค์ การดาเนินการวิจัย 1 เพ่ือศกึ ษาบริบทการจัดการศึกษาของ 1. ศึกษาบริบททางกายภาพของโรงเรยี นตารวจตระเวนชายแดน โรงเรียนตารวจตระเวนชายแดน 2. ศกึ ษาข้อมลู พนื้ ฐานเก่ยี วกับการจดั การศึกษาของโรงเรยี น 2 เพ่ือดาเนินการเสรมิ สรา้ งศักยภาพ ตารวจตระเวนชายแดน การจดั การเรียนรู้ของครูโรงเรียนตารวจ 3. ศกึ ษากรอบประเดน็ และแนวทางการพัฒนาครโู รงเรยี น ตระเวนชายแดน ตารวจตระเวนชายแดน 3 เพื่อสังเคราะห์รปู แบบการเสรมิ สร้าง 4. ศึกษาความต้องการพฒั นาตนเองด้านวชิ าการของครู ศักยภาพการจัดการเรียนรขู้ องครู โรงเรียนตารวจตระเวนชายแดน โรงเรยี นตารวจตระเวนชายแดน 1. ดาเนินการเสรมิ สรา้ งศกั ยภาพการจัดการเรียนรขู้ องครู 4 เพือ่ ตรวจสอบประสิทธผิ ลของรูปแบบ การเสรมิ สรา้ งศักยภาพการจดั การ โรงเรยี นตารวจตระเวนชายแดน 4 ประเดน็ ได้แก่ เรยี นรู้ของครูโรงเรียนตารวจตระเวน 1) การจัดการเรียนรแู้ บบบรู ณาการ ชายแดน 2) การโค้ชเพ่ือการรคู้ ดิ 3) การประเมนิ ทีเ่ สรมิ พลงั ตามสภาพจรงิ 4) การวิจยั เพ่อื พฒั นาการเรยี นรู้ 2. สรุปผลการดาเนินการตามเกณฑก์ ารพัฒนา 1. วเิ คราะหบ์ ทสรปุ ยอ่ ยจากปรากฏการณ์จากการดาเนินการ 2. สังเคราะห์บทสรุปย่อยเปน็ รูปแบบการเสรมิ สร้างศกั ยภาพ 3. ประเมนิ ความถูกตอ้ งของรูปแบการเสริมสร้างศกั ยภาพ 1. นาเสนอผลการวจิ ยั ต่อผู้ทรงคุณวฒุ ิ 2. ผทู้ รงคณุ วฒุ ิพจิ ารณาประสทิ ธผิ ลของรปู แบบการเสริมสรา้ ง ศักยภาพ 3. ปรบั ปรุงแก้ไขรปู แบบการเสริมสร้างศกั ยภาพท่ีสมบูรณ์
16 การวจิ ัยและพัฒนาเพ่ือการพฒั นาหลักสูตร พนิดา จารย์อุปการะ (2557) ได้ทาการวิจัยเร่ือง “รูปแบบการพัฒนาวิชาชีพเพื่อเสรมิ สรา้ ง สมรรถนะการโค้ชของครูหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้” โดยใช้ระเบียบวิธีการวิจัยและพัฒนา 4 ระยะ ไดแ้ ก่ ระยะท่ี 1 การวเิ คราะหข์ ้อมูลพนื้ ฐานและการประเมนิ ความต้องการจาเป็น ระยะท่ี 2 การออกแบบ และพัฒนารูปแบบการพัฒนาวิชาชีพ ระยะที่ 3 การทดลองใช้รูปแบบการพัฒนาวิชาชีพ และระยะที่ 4 การประเมนิ ผลของรูปแบบการพัฒนาวชิ าชพี โดยแตล่ ะระยะสรปุ ไดด้ ังตารางตอ่ ไปน้ี ตาราง 13 การวิเคราะหว์ ตั ถปุ ระสงคแ์ ละการดาเนนิ การวจิ ยั ของ พนิดา จารย์อปุ การะ ระยะที่ วตั ถปุ ระสงค์ การดาเนินการวจิ ัย 1 เพ่ือวิเคราะห์ขอ้ มลู พ้ืนฐานและประเมิน 1. วเิ คราะหเ์ อกสาร ความตอ้ งการจาเป็น 2. สัมภาษณ์ผ้เู กีย่ วขอ้ ง 3. สนทนากลุม่ (focus group) 2 เพื่อออกแบบและพฒั นารปู แบบ 1. สังเคราะหร์ า่ งรูปแบบการพัฒนาวิชาชพี การพัฒนาวิชาชพี 2. ตรวจสอบประสิทธิภาพดา้ นความสมเหตุสมผลเชงิ ทฤษฎี และความเปน็ ไปไดใ้ นการนาไปปฏิบตั ิ 3. ทดลองใชภ้ าคสนาม (field tryout) 4. ปรับปรงุ รปู แบบการพัฒนาวิชาชพี 3 เพอ่ื ทดลองใช้รปู แบบการพัฒนาวิชาชพี 1. ทดลองใชร้ ปู แบบการพัฒนาวชิ าชีพโดยใชแ้ บบแผน การทดลอง Pre – experimental design ชนิด One group Pretest – Posttest Design ผสมผสานการวิจยั กึ่งทดลอง (Quasi – Experimental Design) แบบดลุ ยภาพเวลาและกลุ่มตัวอย่างของ การทดลองต่อเน่ือง (Equivalent Time – Series Design) 4 เพอ่ื ประเมนิ ประสิทธผิ ลของรปู แบบ 1. รวบรวมขอ้ มลู จากการประเมนิ ประสิทธิผลของรูปแบบ การพัฒนาวชิ าชพี การพฒั นาวิชาชพี 2. ตรวจสอบ ปรบั ปรุง แก้ไข รูปแบบการพฒั นาวิชาชีพ 3. รับรองรูปแบบการพัฒนาวิชาชีพ
การวจิ ัยและพฒั นาเพ่ือการพฒั นาหลักสูตร 17 อุษา มะหะหมัด (2557) ได้ทาการวิจัยเร่ือง “การพัฒนารูปแบบการสอนอา่ นภาษาอังกฤษ เน้นภาระงานเพื่อเสริมสร้างทักษะการคิดวิเคราะห์สาหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษา” โดยใช้ระเบียบ วิธีการวิจัยและพฒั นา 4 ระยะ ไดแ้ ก่ ระยะท่ี 1 การศึกษาวเิ คราะห์ข้อมูลพ้นื ฐาน ระยะที่ 2 การออกแบบ และพัฒนารปู แบบการสอนอา่ นภาษาอังกฤษ ระยะท่ี 3 การทดลองใชร้ ปู แบบการสอนอ่านภาษาอังกฤษ และระยะท่ี 4 การประเมินประสิทธิผลของรูปแบบการสอนอ่านภาษาอังกฤษ โดยแต่ละระยะสรุปได้ ดงั ตารางต่อไปน้ี ตาราง 14 การวิเคราะห์วัตถุประสงค์และการดาเนนิ การวจิ ัยของ อุษา มะหะหมดั ระยะท่ี วตั ถุประสงค์ การดาเนินการวิจยั 1 เพอื่ ศึกษาวเิ คราะหข์ ้อมูลพื้นฐาน 1. วิเคราะหเ์ อกสาร 2. สังเกตพฤตกิ รรมการสอน 2 เพือ่ ออกแบบและพัฒนารูปแบบ 3. วิเคราะห์ผู้เรียน การสอนอ่านภาษาอังกฤษ 4. ศึกษาความต้องการจาเป็นในการพฒั นาผเู้ รียน ทีเ่ นน้ ภาระงาน 1. พัฒนารปู แบบการสอนอา่ นภาษาอังกฤษทเี่ นน้ ภาระงาน 2. ตรวจสอบคุณภาพของรูปแบบการสอนอ่านภาษาอังกฤษ 3 เพอ่ื ทดลองใชร้ ปู แบบการสอนอา่ น ภาษาอังกฤษทเี่ น้นภาระงาน ท่เี น้นภาระงาน 3. ทดลองใชน้ าร่องและประเมนิ ประสทิ ธิภาพของรูปแบบ 4 เพ่อื ประเมินประสทิ ธิผลของรปู แบบ การสอนอ่านภาษาอังกฤษ การสอนอา่ นภาษาอังกฤษทเี่ น้นภาระงาน ท่เี นน้ ภาระงาน 4. ปรบั ปรงุ รูปแบบการสอนอา่ นภาษาอังกฤษทีเ่ น้นภาระงาน 1. ทดลองใชร้ ปู แบบการสอนอ่านภาษาอังกฤษทีเ่ น้นภาระงาน โดยใช้แบบแผนการทดลอง The One Group Pretest – Posttest Design, One Group Time Series, The One – Shot Case Study 2. ประเมินผลการทดลองใชร้ ูปแบบการสอนอ่าน ภาษาองั กฤษทเ่ี น้นภาระงาน 1. ประเมนิ ประสิทธิผลของรปู แบบการสอนอา่ นภาษาองั กฤษ ทเ่ี น้นภาระงาน 2. ตรวจสอบ ปรบั ปรงุ แก้ไข รูปแบบการสอนอา่ น ภาษาอังกฤษที่เน้นภาระงาน 3. ขยายผลรปู แบบการสอนอ่านภาษาอังกฤษทเ่ี น้นภาระงาน
18 การวิจยั และพัฒนาเพอื่ การพัฒนาหลักสูตร วิลาวัลย์ ด่านสิริสุข (2557) ได้ทาการวิจัยเรื่อง “การพัฒนารปู แบบการจดั การเรียนรอู้ ย่างมี ความสขุ ท่ีเสรมิ สรา้ งการคดิ อย่างมีวิจารณญาณสาหรับนกั เรยี นระดบั ประถมศกึ ษา” โดยใชร้ ะเบยี บวธิ ีการ วิจัยและพัฒนา 4 ระยะ ได้แก่ ระยะท่ี 1 การศึกษาข้อมลู พ้ืนฐาน ระยะท่ี 2 การสรา้ งรูปแบบการจดั การ เรียนรู้ ระยะที่ 3 การนารปู แบบการจัดการเรยี นร้ไู ปทดลองใช้ และระยะที่ 4 การประเมินประสทิ ธิผลของ รปู แบบการจัดการเรียนรู้ โดยแตล่ ะระยะสรุปได้ดงั ตารางต่อไปน้ี ตาราง 15 การวเิ คราะห์วัตถุประสงค์และการดาเนินการวจิ ัยของ วลิ าวลั ย์ ดา่ นสริ สิ ุข ระยะท่ี วัตถปุ ระสงค์ การดาเนินการวิจยั 1 เพอ่ื ศึกษาข้อมูลพ้ืนฐาน 1. ศกึ ษาแนวคิด หลักการ ทฤษฎี ทีเ่ กยี่ วขอ้ งกบั การคิดอยา่ งมี 2 เพือ่ สร้างรปู แบบการจัดการเรียนรู้ วิจารณญาณและการเรยี นรอู้ ยา่ งมคี วามสขุ 2. กาหนดแนวทางการจัดการเรียนรู้อยา่ งมคี วามสุข 3 เพ่ือนารปู แบบการจดั การเรยี นรู้ 1. สร้างรูปแบบการจัดการเรียนรู้ ไปทดลองใช้ 2. ตรวจสอบยืนยันความเหมาะสมของรูปแบบการจดั การเรียนรู้ 3. สรา้ งและตรวจสอบความเหมาะสมของเคร่ืองมือประกอบ 4 เพอ่ื ประเมินประสทิ ธิผลของรปู แบบ การจดั การเรียนรู้ การใชร้ ูปแบบการจดั การเรียนรู้ 4. ศึกษานารอ่ งรูปแบบการจัดการเรยี นรู้ 5. ปรับปรงุ แกไ้ ขรูปแบบการจัดการเรยี นรู้ 1. นารปู แบบการจัดการเรียนรู้ไปทดลองใช้ โดยใช้แบบแผน การทดลอง One Group Pretest – Posttest Design 1. ประเมนิ ประสิทธิผลของรูปแบบการจัดการเรยี นรู้ 2. ปรับปรุงแกไ้ ขรปู แบบการจัดการเรยี นรทู้ ี่สมบรู ณ์
การวจิ ยั และพัฒนาเพือ่ การพัฒนาหลักสตู ร 19 ลัดดา หวังภาษิต (2557) ได้ทาการวิจัยเร่ือง “การพัฒนารูปแบบการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ ท่ีเสริมสร้างความสุขในการเรียนรู้ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาโรงเรียนสาธิตสังกัดสานักงาน คณะกรรมการการอดุ มศกึ ษา” โดยใช้ระเบยี บวิธีการวจิ ัยและพฒั นา 4 ระยะ ไดแ้ ก่ ระยะท่ี 1 การศกึ ษา ข้อมูลพ้ืนฐาน ระยะท่ี 2 การพัฒนารูปแบบการเรียนรู้ ระยะท่ี 3 การศึกษานาร่องรูปแบบการเรียนรู้ และระยะท่ี 4 การประเมนิ ประสิทธผิ ลของรูปแบบการเรียนรู้ โดยแต่ละระยะสรปุ ได้ดังตารางต่อไปน้ี ตาราง 16 การวเิ คราะหว์ ตั ถุประสงค์และการดาเนินการวจิ ัยของ ลัดดา หวงั ภาษิต ระยะที่ วตั ถปุ ระสงค์ การดาเนินการวิจยั 1 เพอ่ื ศึกษาข้อมลู พ้ืนฐาน 1. ศึกษาแนวคดิ เกี่ยวกับความสขุ ในการเรียนรู้ 2. ตรวจสอบความเปน็ ไปไดข้ ององค์ประกอบและพฤติกรรม 2 เพอ่ื สรา้ งรปู แบบการเรียนรู้ บ่งชขี้ องความสขุ ในการเรยี นรู้ 3 เพ่อื นารปู แบบการเรียนร้ไู ปทดลองใช้ 3. ตรวจสอบคุณภาพขององคป์ ระกอบและพฤติกรรมบ่งชี้ 4 เพือ่ ประเมนิ ประสิทธผิ ลของรปู แบบ ของความสุขในการเรียนรู้ด้วยการวิเคราะหอ์ งคป์ ระกอบ การเรยี นรู้ เชงิ สารวจ (Exploratory Factor Analysis) 1. กาหนดกรอบแนวคิดในการสร้างรปู แบบการเรยี นรู้ 2. จดั ทาร่างรปู แบบการเรยี นรู้ 3. ตรวจสอบความเหมาะสมของรปู แบบการเรยี นรู้ และปรบั ปรงุ แกไ้ ข 4. สรา้ งและตรวจสอบคุณภาพของเครอ่ื งมือประกอบการใช้ รูปแบบการเรียนรู้ 1. ทดลองนาร่องรปู แบบการเรยี นรู้ 2. ปรับปรงุ แก้ไขรูปแบบการเรียนรู้ 1. ทดลองใช้รปู แบบการเรียนรู้ โดยใชแ้ บบแผนการทดลอง One Group Repeated Measures 2. ประเมินประสทิ ธิผลรูปแบบการเรียนรู้ 3. ปรับปรุงรปู แบบการเรียนรูท้ ีส่ มบูรณ์
20 การวิจยั และพฒั นาเพอ่ื การพัฒนาหลักสตู ร ปองทพิ ย์ เทพอารยี ์ (2557) ได้ทาการวจิ ัยเร่อื ง “การพฒั นารูปแบบชุมชนแหง่ การเรยี นรู้เชิง วชิ าชีพสาหรับครูประถมศกึ ษา” โดยใชร้ ะเบยี บวิธกี ารวจิ ัยและพัฒนา 4 ระยะ ไดแ้ ก่ ระยะที่ 1 การศกึ ษา สภาพและวิเคราะหข์ ้อมลู พนื้ ฐาน ระยะที่ 2 การพฒั นารูปแบบชุมชนแหง่ การเรยี นรเู้ ชงิ วิชาชพี ระยะที่ 3 การนารูปแบบชุมชนแห่งการเรียนร้เู ชิงวิชาชีพไปทดลองใช้ และระยะที่ 4 การประเมนิ ประสทิ ธิผลของ รปู แบบชุมชนแหง่ การเรียนร้เู ชิงวชิ าชีพ โดยแต่ละระยะสรปุ ได้ดังตารางต่อไปน้ี ตาราง 17 การวเิ คราะหว์ ตั ถปุ ระสงคแ์ ละการดาเนนิ การวจิ ัยของ ปองทพิ ย์ เทพอารยี ์ ระยะท่ี วัตถุประสงค์ การดาเนินการวจิ ัย 1 เพ่ือศึกษาสภาพและวเิ คราะห์ขอ้ มูล 1. ศึกษาความตอ้ งการดา้ นการพฒั นาวชิ าชพี ครูในมมุ ุมองของ พ้นื ฐาน ผ้บู รหิ ารสถานศกึ ษา 2 เพื่อพฒั นารปู แบบชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ 2. ศึกษาความตอ้ งการพัฒนาตนเองสู่ความเป็นมืออาชีพ เชิงวิชาชีพ ของครูประถมศกึ ษา 3 เพื่อนารูปแบบชุมชนแหง่ การเรียนรู้ 3. ศึกษาความตอ้ งการของผูเ้ รยี นเก่ียวกับคุณลักษณะ เชงิ วชิ าชีพไปทดลองใช้ เชงิ วิชาชพี ครปู ระถมศกึ ษา 4 เพื่อประเมินประสทิ ธิผลของรูปแบบ 1. พัฒนาร่างรปู แบบชมุ ชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชพี ชมุ ชนแหง่ การเรยี นรูเ้ ชิงวิชาชีพ 2. ตรวจสอบคณุ ภาพของรูปแบบชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ เชงิ วิชาชีพ 1. ทดลองใชร้ ูปแบบชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวชิ าชพี โดยใช้แบบแผนการทดลอง One Group Pretest – Posttest Design 1. ประเมนิ ประสิทธิผลของรปู แบบชมุ ชนแหง่ การเรียนรู้ เชงิ วิชาชพี 2. ปรบั ปรงุ รูปแบบชมุ ชนแห่งการเรยี นรเู้ ชงิ วชิ าชพี ที่สมบรู ณ์
การวิจยั และพฒั นาเพื่อการพัฒนาหลกั สูตร 21 มารตุ พัฒผล (2558) ได้ทาการวิจยั เร่อื ง “การพฒั นารปู แบบการพัฒนาครูประถมศกึ ษาด้าน การโค้ชเพื่อการรู้คิด” โดยใช้ระเบียบวิธีการวิจัยและพัฒนา 4 ระยะ ได้แก่ ระยะท่ี 1 การศึกษาข้อมูล พ้ืนฐานสาหรับการพัฒนารูปแบบ ระยะที่ 2 การพฒั นารูปแบบและตรวจสอบคณุ ภาพเบอ้ื งตน้ ระยะท่ี 3 การทดลองใชร้ ปู แบบ และระยะท่ี 4 การประเมนิ ประสทิ ธิผลของรปู แบบ โดยแต่ละระยะสรปุ ไดด้ งั ตาราง ตอ่ ไปนี้ ตาราง 18 การวเิ คราะห์วัตถปุ ระสงค์และการดาเนนิ การวจิ ยั ของ มารุต พัฒผล ระยะท่ี วตั ถปุ ระสงค์ การดาเนินการวิจัย 1 เพอ่ื ศึกษาข้อมลู พ้ืนฐานสาหรับการ 1. สงั เคราะหเ์ อกสารและงานวจิ ัยที่เกย่ี วข้อง พฒั นารูปแบบ 2. สมั ภาษณผ์ เู้ ชี่ยวชาญด้านการโค้ชเพ่ือการรคู้ ดิ 3. สมั ภาษณ์ผอู้ านวยการโรงเรยี น 2 เพอ่ื พฒั นารูปแบบและตรวจสอบ 4. สัมภาษณ์ครูท่มี ีประสบการณ์ด้านการโคช้ คณุ ภาพเบ้อื งตน้ 5. สมั ภาษณค์ รเู กยี่ วกบั ความต้องการพฒั นาตนเองด้านการโคช้ 6. สงั เกตพฤติกรรมการทางานทางวิชาการของครู 3 เพอื่ ทดลองใช้รปู แบบ 1. ยกรา่ งรูปแบบ 4 เพ่อื ประเมนิ ประสทิ ธิผลของรปู แบบ 2. ตรวจสอบคุณภาพเบื้องต้นด้านความสอดคลอ้ ง ความเหมาะสม และความเปน็ ไปได้ 3. สรา้ งเครือ่ งมอื สาหรบั ประกอบการใช้รูปแบบ 4. ทดลองนาร่องการใช้รปู แบบ 5. ปรบั ปรงุ แกไ้ ขรปู แบบ 1. ทดลองใชร้ ปู แบบ โดยใช้แบบแผนการทดลอง Control Group Pretest – Posttest Design 1. ประเมนิ ประสิทธผิ ลของรปู แบบ 2. ปรบั ปรุงแกไ้ ขรูปแบบท่สี มบูรณ์
22 การวิจัยและพัฒนาเพื่อการพัฒนาหลักสูตร จารสั อินทลาภาพร (2558) ได้ทาการวจิ ัยเรื่อง “การพฒั นาหลกั สูตรฝกึ อบรมเพือ่ เสรมิ สร้าง ความสามารถในการจัดการเรยี นรู้ตามแนวสะเต็มศึกษา สาหรับครูระดับประถมศึกษา” โดยใช้ระเบยี บ วิธีการวิจัยและพัฒนา 4 ระยะ ได้แก่ ระยะที่ 1 การศึกษาข้อมูลพื้นฐาน ระยะที่ 2 การพัฒนาหลกั สตู ร ฝึกอบรมฉบับร่าง ระยะที่ 3 การตรวจสอบประสิทธิผลของหลักสูตร และระยะที่ 4 การปรับปรุงและ พฒั นาหลักสูตร โดยแต่ละระยะสรปุ ได้ดังตารางต่อไปน้ี ตาราง 19 การวิเคราะหว์ ัตถุประสงค์และการดาเนินการวิจัยของ จารัส อินทลาภาพร ระยะที่ วตั ถปุ ระสงค์ การดาเนินการวิจัย 1 เพอ่ื ศึกษาข้อมลู พื้นฐาน 1. สงั เคราะหเ์ อกสารและงานวิจยั ที่เกยี่ วขอ้ ง 2. สมั ภาษณผ์ บู้ รหิ ารสถานศกึ ษา 2 เพ่ือพฒั นาหลักสูตรฝึกอบรมฉบบั ร่าง 3. สัมภาษณผ์ สู้ อน 3 เพอ่ื ตรวจสอบประสิทธิผลของหลักสตู ร 4. สมั ภาษณศ์ กึ ษานิเทศก์ 1. จัดทาหลักสตู รฝึกอบรมฉบบั รา่ ง 4 เพื่อปรับปรุงและพฒั นาหลักสตู ร 2. ตรวจสอบคุณภาพของหลักสตู รฝึกอบรม 3. ปรบั ปรุงแก้ไขหลกั สตู รฝกึ อบรม 1. ศกึ ษานาร่องหลักสตู รฝกึ อบรม 2. ปรบั ปรงุ แก้ไขหลักสตู รฝกึ อบรม 3. ทดลองใชห้ ลักสูตรฝกึ อบรม โดยใช้แบบแผนการทดลอง One Group Pretest – Posttest Design 4. ประเมินประสทิ ธผิ ลของหลักสูตรฝกึ อบรม 1. ปรบั ปรงุ หลักสตู รฝึกอบรมทสี่ มบรู ณ์
การวิจัยและพฒั นาเพือ่ การพฒั นาหลักสตู ร 23 5. รปู แบบเชงิ ระบบของการวิจัยและพัฒนาทางหลักสูตรและการเรียนรู้ จากการวิเคราะห์และสังเคราะห์แนวคิดหลักการของการวิจัยและพัฒนาจากเอกสารและ งานวิจัยที่ผ่าน ทาให้สังเคราะห์ระบบการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมหลกั สูตร (Innovative Curriculum Development System) แสดงไดด้ งั แผนภาพต่อไปนี้ การวิจยั การวเิ คราะหข์ ้อมูลขนาดใหญ่ (Research) (Big Data Analysis) การพฒั นา การออกแบบนวตั กรรมหลกั สตู ร (Development) (Innovative Curriculum Design) การตรวจสอบคณุ ภาพนวัตกรรมหลักสูตร (Checking for Innovative Curriculum Quality) การทดลองใช้นวตั กรรมหลักสูตร (Implementing for Innovative Curriculum) การวิจยั การประเมินนวตั กรรมหลักสตู ร (Research) (Evaluating for Innovative Curriculum) การขยายผลนวตั กรรมหลักสูตร (Disseminating for Innovative Curriculum) การพฒั นา การปรบั ปรุงนวัตกรรมหลกั สตู รท่สี มบูรณ์ (Development) (Improving for Completed Innovative Curriculum) แผนภาพ 4 รูปแบบเชิงระบบของการวจิ ยั และพฒั นาทางหลกั สตู รและการเรยี นรู้
24 การวจิ ัยและพฒั นาเพอ่ื การพฒั นาหลักสตู ร 6. บทสรปุ จากทไี่ ด้กล่าวถึงเน้ือหาสาระในบทที่ 3 การวจิ ัยและพัฒนาเพอื่ การพฒั นานวตั กรรมหลักสตู ร สรุปสาระสาคัญดงั ตอ่ ไปน้ี การวิจัยและพัฒนา (research and development) เรียกสั้นๆ ว่า “อาร์แอนด์ดี” หมายถึง ระเบียบวิธีการวิจัยที่ใช้ท่ีใช้การวิจัย (research) และกระบวนการพัฒนา (development) ในการ พัฒนางานหรอื นวัตกรรม เป็นวงจรตอ่ เน่ืองกันไปจนได้ผลงานหรอื นวตั กรรมทีม่ ปี ระสทิ ธผิ ลตามท่ีต้องการ พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หวั ทรงงานการพัฒนาตา่ งๆ โดยใช้กระบวนการวิจัยและพฒั นาอย่าง เป็นระบบ ซ่ึงทาให้เกิดนวัตกรรมต่างๆ ท่ีเป็นประโยชน์ต่อประชาชน ประเทศชาติ และโลก โดยท่ีการ ทรงงานของพระองคท์ รงยึดหลักอรยิ สัจส่ี เป็นสาคัญ คอื ทุกข์ สมทุ ัย นโิ รธ มรรค และนวัตกรรมตา่ งๆ ที่พระองค์ทรงพัฒนาน้ันจะมีความสอดคล้องกับสภาพภูมิศาสตร์และสังคมศาสตร์ของแต่ละพ้ืนที่ เรียกสนั้ ๆ ว่า “ภูมิสงั คม” การวิจัยและพัฒนาเป็นการวิจัยท่ีสามารถนาไปใช้ได้ทุกแวดวงวิชาชีพ ทาให้เกิดนวัตกรรม ในรูปแบบต่างๆ โดยทางด้านหลักสูตรและการเรียนรู้ ได้มีการนาการวิจัยและพัฒนามาใช้เป็น กระบวนการวจิ ัยเพ่ือสร้างสรรค์นวัตกรรมตา่ งๆ อย่างมากมาย ซง่ึ ในภาพรวมแลว้ ประกอบดว้ ย 4 ขนั้ ตอน ได้แก่ ข้ันตอนที่ 1 เป็นการวิเคราะหข์ ้อมลู พ้ืนฐานสาหรับนาไปใชใ้ นการออกแบบนวัตกรรม ข้ันตอนที่ 2 เปน็ การออกแบบนวัตกรรมและตรวจสอบคุณภาพเบือ้ งต้น ข้นั ตอนท่ี 3 เปน็ การนานวตั กรรมไปทดลองใช้ ในสถานการณจ์ ริง และขนั้ ตอนท่ี 4 เป็นการประเมนิ ประสทิ ธิผลของนวตั กรรม
การวิจัยและพัฒนาเพอื่ การพัฒนาหลักสูตร 25 บรรณานุกรม กติ ติคม คาวีรัตน์. (2553). การพัฒนารปู แบบการจดั การเรยี นรเู้ ชงิ ประสบการณ์เพอ่ื สร้างเสริมสุขภาวะ สาหรับนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏ. วิทยานิพนธ์ (ปร.ด.) หลักสูตรและการสอน. นครปฐม: บัณฑติ วทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร. เกษศิรินทร์ ศรีสัมฤทธ์ิ. (2556). รูปแบบการพัฒนาวิชาชีพเพื่อเสริมสร้างสมรรถภาพครูด้านการจัด ประสบการณ์ส่งเสริมทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ ของเด็ก ปฐมวยั . วิทยานิพนธ์ (ปร.ด.) หลกั สูตรและการสอน. นครปฐม: บณั ฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลยั ศิลปากร. จินตนา ศิริธัญญารัตน์. (2556). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ที่บรู ณาการกลยุทธ์ การพัฒนาทักษะการคิดขั้นสูงเพื่อส่งเสริมทักษะการคิดขั้นสูงในศตวรรษที่ 21 และ จติ วทิ ยาศาสตรข์ องนักเรียนระดับมัธยมศกึ ษา. วทิ ยานิพนธ์ (ปร.ด.) หลกั สตู รและการสอน. นครปฐม: บณั ฑติ วทิ ยาลัย มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร. จารัส อินทลาภาพร. (2557). การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมเพ่ือเสรมิ สรา้ งความสามารถในการจัดการ เรียนรูต้ ามแนวสะเต็มศึกษา สาหรับครูระดบั ประถมศกึ ษา. ปริญญานิพนธ์ (กศ.ด.) การวิจัย และพฒั นาหลกั สตู ร. กรงุ เทพฯ: บัณฑติ วทิ ยาลยั มหาวิทยาลยั ศรีนครนิ ทรวโิ รฒ. ฉวีวรรณ ตาลสุก. (2556). การพัฒนาหลักสูตรนาฏศิลป์สร้างสรรค์ตามแนวทางการจัดการศึกษา เชิงสร้างสรรคส์ าหรับนกั เรยี นระดบั ชน้ั ประถมศึกษา. วทิ ยานิพนธ์ (ปร.ด.) หลกั สตู รและการ สอน. นครปฐม: บัณฑติ วิทยาลัย มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร. บญุ ยฤทธ์ิ ปยิ ะศร.ี (2556). รูปแบบการพฒั นาวิชาชีพครูเพื่อเสรมิ สรา้ งสมรรถนะการสอนที่เนน้ ความ แตกต่างระหว่างบุคคล. วิทยานิพนธ์ (ปร.ด.) หลักสูตรและการสอน. นครปฐม: บณั ฑิตวทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร. ปองทิพย์ เทพอารีย์. (2557). การพัฒนารูปแบบชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพสาหรับครู ประถมศึกษา. ปริญญานิพนธ์ (กศ.ด.) การวิจัยและพัฒนาหลักสูตร. กรุงเทพฯ : บณั ฑิตวทิ ยาลัย มหาวิทยาลัยศรนี ครินทรวิโรฒ. พลวัต วุฒิประจักษ์. (2553). การพัฒนาหลักสูตรรายวิชาจิตตปัญญาศึกษาสาหรับนักศึกษาครู เพ่ือเสริมสร้างคุณลกั ษณะบัณฑิตครูที่พึงประสงค์. วิทยานิพนธ์ (ปร.ด.) หลักสูตรและการ สอน. นครปฐม: บณั ฑติ วทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร. มารุต พัฒผล. (2555). รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ เร่ือง การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมครู เพื่อเสริมสร้างความสามารถในการจัดการเรียนรู้โดยใช้วิจัยเป็นฐาน. กรุงเทพฯ: บัณฑติ วทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวิโรฒ.
26 การวจิ ยั และพฒั นาเพือ่ การพฒั นาหลักสูตร . (2556). รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง การพัฒนารูปแบบการพัฒนาครูด้านการ จัดการเรียนรทู้ ่เี สริมสร้างการร้คู ดิ และความสขุ ในการเรียนรขู้ องผู้เรยี นระดับประถมศกึ ษา. กรงุ เทพฯ: บัณฑติ วทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลัยศรีนครนิ ทรวโิ รฒ. . (2557). รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง การเสริมสร้างศักยภาพการจัดการเรียนรู้ ของครูโรงเรียนตารวจตระเวนชายแดน. กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย ศรนี ครนิ ทรวิโรฒ. . (2558). รายงานการวิจยั ฉบบั สมบรู ณ์ เรื่อง รูปแบบการพัฒนาครปู ระถมศึกษาดา้ นการ โค้ชเพ่ือการรู้คดิ . กรงุ เทพฯ: บณั ฑติ วทิ ยาลยั มหาวิทยาลัยศรีนครนิ ทรวโิ รฒ. ราชบัณฑิตยสถาน. (2555). พจนานุกรมศัพท์ศึกษาศาสตร์ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. (พิมพ์ครั้งท่ี 1). กรุงเทพฯ: อรุณการพมิ พ์. รุจิราพร รามศิริ. (2556). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์โดยใช้การวิจัยเป็นฐาน เพื่อเสริมสร้างทักษะการวิจัย ทักษะการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ และจิตวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษา. วิทยานิพนธ์ (ปร.ด.) หลักสูตรและการสอน. นครปฐม: บัณฑติ วทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลัยศิลปากร. ลดั ดา หวังภาษติ . (2557). การพฒั นารูปแบบการเรียนรภู้ าษาองั กฤษท่เี สริมสร้างความสขุ ในการเรยี นรู้ ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาโรงเรยี นสาธติ สงั กัดสานักงานคณะกรรมการการอุดมศกึ ษา. ปรญิ ญานิพนธ์ (กศ.ด.) การวจิ ัยและพฒั นาหลกั สตู ร. กรุงเทพฯ: บณั ฑติ วทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั ศรีนครนิ ทรวโิ รฒ. ว่าที่ร้อยตรนี ิวฒั น์ บุญสม. (2556). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนตามแนวคดิ ของกระบวนการ แกป้ ัญหาอยา่ งสร้างสรรค์เพื่อส่งเสริมนวัตกรรมดา้ นสุขภาพของนกั เรยี นที่มีความสามารถ พิเศษทางวิทยาศาสตร์. วิทยานิพนธ์ (ปร.ด.) หลักสูตรและการสอน. นครปฐม: บณั ฑติ วทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลัยศิลปากร. วิลาวัลย์ ด่านสิริสุข. (2557). การพัฒนารปู แบบการจัดการเรียนรู้อยา่ งมีความสขุ ท่ีเสริมสร้างการคดิ อย่างมีวิจารณญาณสาหรับนักเรียนระดับประถมศึกษา. ปริญญานิพนธ์ (กศ.ด.) การวิจัย และพฒั นาหลักสตู ร. กรุงเทพฯ: บัณฑติ วทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครินทรวโิ รฒ. อรอนงค์ นิยมธรรม. (2555). การพัฒนาหลักสูตรเสริมสร้างคุณลักษณะด้านความเมตตากรุณา ตามแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการเปล่ียนแปลง สาหรับนักศึกษามหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก. ปริญญานิพนธ์ (กศ.ด.) การวิจัยและพัฒนาหลักสูตร. กรุงเทพฯ: บณั ฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรนี ครินทรวิโรฒ.
การวิจัยและพฒั นาเพอื่ การพัฒนาหลกั สูตร 27 อุษา มะหะหมัด. (2557). การพัฒนารูปแบบการสอนอ่านภาษาอังกฤษเน้นภาระงานเพ่ือเสริมสร้าง ทกั ษะการคิดวิเคราะห์สาหรับนักเรียนช้ันประถมศกึ ษา. วทิ ยานิพนธ์ (ปร.ด.) หลกั สูตรและ การสอน. นครปฐม: บัณฑติ วทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร. Gall, Meredith., Gall, Joyce P., and Borg, Walter R. (2003). Educational Research an Introduction. (7th ed.). Boston: Pearson Education, Inc. Gall, Joyce P., Gall, M.D., and Borg, Walter R. (2005). Applying Educational Research: a Practical Guide. Boston: Pearson.
การวิจยั และพฒั นา (research and development) เรยี กสนั้ ๆ ว่า “อาร์แอนดด์ ี” หมายถงึ ระเบียบวธิ กี ารวิจยั ทีใ่ ชท้ ใ่ี ชก้ ารวิจยั (research) และกระบวนการพัฒนา (development) ในการพัฒนางานหรือนวตั กรรม
Search
Read the Text Version
- 1 - 36
Pages: