รูปแบบ ชุมชนการเรยี นรู้ทางวชิ าชพี (PLC) ทีเ่ นน้ การมสี ่วนรว่ ม เพอ่ื เสริมสรา้ งสมรรถนะการจัดประสบการณก์ ารเรียนรู้ของ นกั ศึกษาครูทส่ี ง่ เสรมิ คุณลกั ษณะท่พี ึงประสงคของเด็กปฐมวยั จดั ทำโดย ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.รจุ ิราพร รามศริ ิ และคณะ 43
นวตั กรรมการจัดการความรู้ รูปแบบชุมชนการเรยี นร้ทู างวิชาชีพ (PLC) ทเ่ี นน้ การมสี ่วนรว่ มเพอื่ เสรมิ สรา้ งสมรรถนะ การจดั ประสบการณ์การเรยี นรูข้ องนักศึกษาครูทสี่ ง่ เสรมิ คุณลักษณะทพี่ งึ ประสงคของเด็กปฐมวยั โรงเรียนสาธติ แหง่ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศนู ย์วิจยั และพัฒนาการศกึ ษา “MDOFT Model” 1. เปา้ หมายและวัตถปุ ระสงค์ เปา้ หมาย 1. โรงเรียนมีนวัตกรรม “รูปแบบชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) ที่เน้นการมีส่วนร่วมเพ่ือ เสริมสร้างสมรรถนะการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ของนักศึกษาครู ที่ส่งเสริมคุณลักษณะที่พึงประสงค ของ เด็กปฐมวัย” ซ่งึ ได้มาจากกระบวนการจัดการความรู้ในระดบั อนบุ าลศกึ ษา 2. นักศึกษาครูได้รับการพัฒนาสมรรถนะการจัดประสบการณ์การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ด้วยรูปแบบ ชุมชนการเรยี นรู้ทางวชิ าชพี (PLC) ทีเ่ น้นการมสี ว่ นรว่ ม 3. เด็กปฐมวัยได้รับการพัฒนาคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ซึ่งประกอบด้วยพัฒนาการ 4 ด้าน ได้แก่ ด้านร่างกาย ด้านอารมณ์ จิตใจ ด้านสังคม และด้านสติปัญญา อย่างต่อเนื่อง ด้วยการจัดประสบการณ์ การเรยี นรขู้ องนักศกึ ษาครูท่ีใชร้ ปู แบบชุมชนการเรยี นรู้ทางวชิ าชพี (PLC) ที่เนน้ การมีส่วนรว่ ม วัตถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนารูปแบบชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ(PLC) ที่เน้นการมีส่วนร่วม เพื่อเสริมสร้าง สมรรถนะการจัดประสบการณ์การเรียนรขู้ องนักศกึ ษาครู ที่สง่ เสรมิ คุณลกั ษณะทพ่ี ึงประสงค์ของเด็กปฐมวัย 2. เพื่อพัฒนาสมรรถนะการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ของนักศึกษาครู ที่ส่งเสริมคุณลักษณะ ทพ่ี ึงประสงค์ของเดก็ ปฐมวยั ด้วยการใชร้ ูปแบบชมุ ชนการเรยี นรทู้ างวิชาชพี (PLC) ทเี่ น้นการมีส่วนร่วม 3. เพื่อพัฒนาคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของเด็กปฐมวัย ซึ่งประกอบด้วยพัฒนาการ 4 ด้าน ได้แก่ ด้านร่างกาย ด้านอารมณ์ จิตใจ ด้านสังคม และด้านสติปัญญา อย่างต่อเนื่อง ด้วยการจัดประสบการณ์ การเรยี นรขู้ องนักศึกษาครู ท่ีใชร้ ปู แบบชมุ ชนการเรยี นร้ทู างวิชาชพี (PLC) ท่เี นน้ การมสี ว่ นรว่ ม 4. เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันภายในชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) และร่วมกันจัดการ ความรู้อย่างเป็นระบบนำไปสู่การพัฒนาสมรรถนะการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ของนักศึกษาครู และ คณุ ลกั ษณะทพี่ ึงประสงค์ของเด็กปฐมวัย 2. รูปแบบที่ใช้ในการจัดการความรู้ รายละเอียดหรอื คำอธิบายรูปแบบ/โมเดลการจดั การความรู้ 1. พนั ธกิจ (Mission: M) บุคลากรร่วมกันพัฒนารูปแบบชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) ที่เน้นการมีส่วนร่วม เพื่อ เสริมสร้างสมรรถนะการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ของนักศึกษาครู ที่ส่งเสริมคุณลักษณะที่พึงประสงค ของเดก็ ปฐมวัย โดยมีกรอบการทำงาน ดังน้ี 1.1 ศึกษาวิสัยทัศน์ พันธกิจ ยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ กลยุทธ์ มาตราการ และนโยบายของ ผ้บู ริหารสถานศึกษา 1.2 ศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานและความต้องการในการแก้ปัญหา หรือพัฒนาสมรรถนะ การจดั ประสบการณ์การเรยี นรู้ของนกั ศึกษาครู 44
2. กำหนดเป้าหมายรว่ มกนั (Destination: D) 2.1 ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้ช่วยผู้อำนวยการระดับอนุบาล และอาจารย์ระดับอนุบาล ร่วมกัน กำหนดโครงการ และหัวข้อการอบรมเชิงปฏิบัติการ เพื่อพัฒนารูปแบบชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ เพื่อ เสริมสร้างสมรรถนะการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ของนักศึกษาครู ที่ส่งเสริมคุณลักษณะที่พึงประสงคของ เด็กปฐมวยั 2.2 จัดทำปฏิทินการดำเนินงานร่วมกัน ประกอบด้วย การโค้ช การสนทนากลุ่ม และการระดม สมองใหม้ ีความชดั เจนและเป็นไปได้ในทางปฏบิ ตั ิ ผ่านเทคโนโลยแี ละส่อื ออนไลน์ 2.3 ร่วมกันเสนอแต่งตั้งผู้เข้าร่วมปฏิบัติงาน PLC ซึ่งประกอบด้วย นักศึกษาครู อาจารย์พี่เลี้ยง หัวหน้ากลมุ่ สาระฯ/ฝ่ายวชิ าการ ผูบ้ ริหาร และผู้ทรงคณุ วฒุ /ิ ผ้เู ช่ียวชาญ ทีมละ 5 คน 2.4 ชแี้ จงบทบาทและหน้าทคี่ วามรับผิดชอบ 2.5 รว่ มกันตรวจสอบความถกู ตอ้ ง ทบทวนและแก้ไข 3. ปฏิบตั ิการ (Operation: O) ขน้ั เตรียมการ (ขั้นท่ี 1 Plan) ดำเนนิ การดังนี้ 1) เตรยี มนัดหมายสมาชิกทมี PLC เพ่ือ 2) เตรยี มปฏทิ นิ การปฏบิ ตั ิงานรว่ มกนั 1 ภาคเรยี น ประจำภาคต้น ปกี ารศึกษา 2561 3) เตรียมวางแผนการพัฒนาการเรียนการสอนในชั้นเรียน ประกอบดว้ ย 3.1) หลกั สตู รระดบั ปฐมวยั 3.2) รปู แบบ/วิธีสอน/กระบวนการสอน/กิจกรรมเสรมิ ประสบการณ์/เทคนิคการสอน 3.3) วิธกี ารวดั และประเมนิ ผล (ใชห้ ลากหลายวิธที ่ีเหมาะสมกับผูเ้ รยี นและบริบทท่เี กยี่ วขอ้ ง) 3.4) สือ่ และแหล่งเรียนรู้ ทใ่ี ช้ประกอบการเรยี นการสอน 4) เตรียมการจัดการเรียนการสอน 4.1) ประมวลการสอน 4.2) หน่วยการเรยี นรู้ /แผนการจัดการเรียนรู้ 4.3) วสั ด-ุ อปุ กรณส์ ำหรับการสอน 4.4) อืน่ ๆ (ถา้ ม)ี ขนั้ ดำเนินการ (ขน้ั ที่ 2 Do) 1) ดำเนินการตามขั้นตอน PLC 3 ขน้ั ตอน 2) ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินระหวา่ งดำเนินการ 3) ใหข้ อ้ มูลย้อนกลบั (Feedback) ร่วมกนั ในทีม PLC เพ่ือหาวิธีการแก้ปัญหาที่ดที ี่สุด เก็บรวบรวม ขอ้ มูล เพือ่ นำไปวเิ คราะห์ สรปุ ผล และอภปิ รายผลต่อไป ในขั้นดำเนินการนี้ ได้สอดแทรกเทคนิคที่สำคัญ 3 เทคนิค ซึ่งช่วยขับเคลื่อนให้ประสบผลสำเร็จใน การใช้รูปแบบ ไดแ้ ก่ 3.1) กระบวนการเชิงระบบ (Systematic Process) เป็นกลไกในการจัดโครงการอบรม เชิงปฏิบัติการ ประกอบด้วย ปัจจัย (Inputs) กระบวนการ (Process) และผลลัพธ์ (Output/outcome) และ ให้ขอ้ มูลยอ้ นกลบั เพอื่ การปรบั ปรงุ และพัฒนา 3.2) เทคนิคการมีส่วนร่วม (Participation) โดยการใช้ระบบ KM เพื่อช่วยกันระดมความคิดใน การวิเคราะห์ความต้องการจำเป็น การพัฒนาสมรรถนะการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ ร่วมกันบริหารจัดการ เพมิ่ ประสิทธภิ าพการดำเนินงานทุกสว่ น และตรวจสอบ ทบทวนกระบวนการทำงานทเี่ ปน็ เลศิ 3.3) เทคนิคการเสริมพลัง (Empowerment) จากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ที่ร่วมกันกระตุ้น (Engage) ให้เกิดความสนใจในการพัฒนาสมรรถนะครูเพื่อนำไปสู่คุณภาพผู้เรียน ร่วมกันขับเคลื่อนให้เกิดการ 45
เปลี่ยนแปลงแนวคิดและเห็นความสำคัญของการพัฒนาตนเองของครูสู่การพัฒนาผู้เรียนโดยเน้นการปฏิบัติ อย่างต่อเนื่อง และร่วมกันหาแนวทางเสริมสร้างประสบการณ์การทำงานที่เป็นระบบ ทบทวนวิธีการที่เป็นไป ได้เพ่อื นำไปสคู่ วามสำเรจ็ ของงานตามกระบวนการเสรพิ ลัง (Empowerment) 4 ข้นั ตอน ดงั ภาพที่ 16 ภาพที่ 16 เทคนคิ การเสรมิ สร้างพลัง (Empowerment) ขั้นสรุปผล (ขั้นที่ 3 See) ร่วมกันทบทวนผลการปฏิบัติงานสังเกตการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ โดยใชแ้ บบทบทวนผลการปฏบิ ัติงาน และสรปุ ผลการสังเกต เพื่อเตรยี มประเดน็ ในคร้งั ต่อไป 4. ตดิ ตาม ตรวจสอบ และพฒั นาคุณภาพอยา่ งตอ่ เนือ่ ง (Follow Up: F) 4.1 ตดิ ตามผลการเข้ารว่ มโครงการ 4.2 ทบทวนผลการปฏิบัตงิ าน (After Action Review : AAR) ประกอบด้วย 6 ประเด็น คือ 1) มีส่งิ ใดทที่ ำได้ดแี ลว้ และควรรักษาไวใ้ ห้มตี ่อไป 2) ถงึ เปา้ หมายตามแผนหรือไม่ 3) อะไรเป็นปญั หาและอปุ สรรคท่ีเกิดขนึ้ ระหวา่ งการทำงาน 4) เราได้เรียนรอู้ ะไรบา้ งจากการทำกจิ กรรมในโครงการ 5) แนวทางที่ควรนำไปปรับปรุงแก้ไขครงั้ ตอ่ ไป 6) ขอ้ พงึ ระวงั ที่ควรให้ความสำคญั 4.3 นำผลการประเมนิ ทีไ่ ด้มาพัฒนาการจดั กจิ กรรมอย่างตอ่ เน่อื ง 5 การขยายผล (Transportability: T) 5.1 นำความรู้จากขอ้ สรุปตามวัตถุประสงค์ของการจัดการความรู้ที่ไดม้ าเผยแพร่ผลงานโดยผ่านสอ่ื ออนไลน์ และสถาบนั เครือขา่ ยความร่วมมือ 5.2 ความรู้ของอาจารย์พี่เลี้ยง ผู้ทรงคุณวุฒิ และผู้ปกครอง มาร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับนักศึกษา ฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู (นักศึกษาครู) อย่างต่อเนื่อง เพื่อสรุปความรู้ และใช้เป็นแนวทางในการให้บริการ วิชาการของโรงเรียนตามยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรให้มีมาตรฐานวิชาชีพ และการพฒั นาระบบการบริหารจัดการเพ่ือเพ่มิ ประสทิ ธภิ าพและรองรบั การเปลี่ยนแปลง 46
ขัน้ ตอนการดำเนนิ งานการจัดการความรขู้ องรูปแบบชุมชนการเรียนรู้ทางวชิ าชีพ (PLC) ที่เน้นการมี สว่ นร่วมเพอื่ เสรมิ สร้างสมรรถนะการจดั ประสบการณ์การเรียนรขู้ องนักศกึ ษาครู ทส่ี ง่ เสริมคณุ ลกั ษณะ ที่ พึงประสงคของเด็กปฐมวยั นำเสนอดงั ภาพที่ 17 ภาพที่ 17 รปู แบบชุมชนการเรยี นรทู้ างวชิ าชพี (PLC) ทีเ่ น้นการมีสว่ นร่วมเพอ่ื เสริมสรา้ งสมรรถนะการจัด ประสบการณก์ ารเรยี นรูข้ องนกั ศกึ ษาครูทสี่ ่งเสริมคุณลักษณะทพ่ี ึงประสงคของเด็กปฐมวัย 3. ตัวชว้ี ดั ความสำเรจ็ ตามแผนการจดั การความรู้ (Key Performance Indicator: KPI) 1. ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาคณาจารย์และบุคลากรให้มีมาตรฐานวิชาชีพ กลยุทธ์ที่ 2.3 พัฒนาระบบ และบุคลากร เพื่อสนับสนุนการเรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพ และมาตรการที่ 2.3.2 พัฒนาบุคลากร ใหม้ คี วามรู้ ความสามารถในการปฏบิ ตั งิ าน เพอื่ สนับสนุนการเรียนการสอนอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ 2. ยุทธศาสตร์ที่ 3 เสริมสร้างวิชาการให้เข้มแข็งและพัฒนาให้เป็นแหล่งฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู กลยุทธ์ที่ 3.2 การจัดการเรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพ โดยใช้เทคโนโลยี นวัตกรรมการเรียนการสอน และจัดหาอุปกรณ์เครื่องมือที่มีความทันสมัยเพื่อสร้างองค์ความรู้ และมาตรการที่ 3.2.3 สนับสนุนและ เพิ่มประสทิ ธภิ าพในการจดั การเรยี นการสอนโดยใชเ้ ทคโนโลยีและนวตั กรรมท่ที นั สมัย 47
4. แผนกิจกรรมการจัดการความรู้ ประเดน็ การจัดการ ชอื่ กิจกรรม วิธกี ารจัดการความรู้ ความรู้ 1. การศึกษาและ การวเิ คราะหข์ ้อมลู 1. ศึกษาข้อมลู พ้นื ฐานของนักศึกษ วิเคราะห์ข้อมลู พื้นฐานและความ ปฐมวยั ทเ่ี ข้ามาฝึกประสบการณ์ว พ้นื ฐานและความ ต้องการในการแกป้ ญั หา ระดับอนบุ าลศกึ ษาปีที่ 1-3 ปีการ ต้องการในการ หรอื พัฒนาสมรรถนะ 2561 จำนวน 10 คน และอาจา แกป้ ัญหา หรือ การจัดประสบการณ์การ จำนวน 10 คน ไดแ้ ก่ พัฒนาสมรรถนะการ เรียนรู้ของนักศึกษาครู 1.1 หลกั สูตรของมหาวิทยาลัยกรงุ จดั ประสบการณ์การ สาขาปฐมวยั เกีย่ วกบั สาระในรายว เรยี นรู้ของนักศกึ ษา โดยศกึ ษาจากเอกสารหลกั สูตร ครู 1.2 ความสามารถในการจัดประส การเรียนรขู้ องนักศึกษาครู 1.3 พฤตกิ รรมของนักศกึ ษาครใู น เดก็ 1.4 คณุ สมบัตขิ องอาจารย์พเี่ ล้ียงด ประสบการณก์ ารทำงาน ความสาม การจดั ประสบการณก์ ารเรียนรู้ กา แผนการจัดการเรยี นรู้ การวดั และ ความสามารถในการโค้ชและการให 2. การออกแบบ การออกแบบ “รปู แบบ 2.1 สังเคราะหแ์ นวคิด ทฤษฎี แล รูปแบบชมุ ชนการ เรียนรู้ทางวชิ าชีพ ชมุ ชนการเรียนรู้ทาง เก่ยี วขอ้ งกบั ชุมชนการเรียนรทู้ างว วชิ าชพี (PLC) (PLC) การจดั ประสบการณก์ ารเรยี
เครื่องมือ ระยะเวลา สถานภาพ ดำเนนิ การ การดำเนินงาน ษาครสู าขา วิชาชพี ครูใน ภาคเรียนที่ ดำเนนิ การแลว้ รศึกษา 1 เสร็จ ารยพ์ ่ีเลี้ยง ปกี ารศกึ ษา 2561 งเทพธนบุรี 1. แบบวิเคราะหเ์ อกสาร ดำเนินการแลว้ วชิ าชพี ครู เสร็จ สบการณ์ 2. แบบประเมนิ ความสามารถใน พ.ย.61– ดำเนนิ การแล้ว การจัดประสบการณก์ ารเรยี นรู้ ธ.ค.61 เสรจ็ นการดแู ล ดำเนนิ การแลว้ 3. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการดูแล เสร็จ ดา้ น เด็ก ดำเนนิ การแลว้ มารถใน เสรจ็ ารเขยี น 4. เกณฑก์ ารประเมินคณุ สมบัติ ะประเมินผล ของอาจารย์พเ่ี ล้ียง ดำเนนิ การแล้ว หค้ ำปรึกษา 5. แบบประเมนิ ความสามารถใน เสร็จ การเขียนแผนการจดั ประสบการณ์ ละงานวจิ ัยท่ี การเรยี นรู้ วิชาชีพ 6. แบบประเมนิ ความสามารถใน ยนรู้ และ การโคช้ และการใหค้ ำปรึกษา - 48
ประเดน็ การจัดการ ชือ่ กิจกรรม วธิ กี ารจัดการความรู้ ความรู้ (PLC) เพ่ือเสรมิ สรา้ ง เพือ่ เสริมสร้างสมรรถนะ คณุ ลกั ษณะทพ่ี ึงประสงคของเดก็ ป สมรรถนะการจดั การจดั ประสบการณ์การ รวมทั้งข้อมลู พนื้ ฐานของนกั ศกึ ษาค ประสบการณก์ าร เรียนรู้ของนักศึกษาครู ที่ อาจารยพ์ ีเ่ ล้ยี ง เรียนรขู้ องนักศกึ ษา สง่ เสริมคณุ ลกั ษณะทพ่ี ึง 2.2 ระดมสมองและรว่ มกนั ออกแ ครู ท่สี ง่ เสริม ประสงคของเด็ก “รปู แบบชุมชนการเรียนรู้ทางวชิ าช คณุ ลกั ษณะทีพ่ ึงประ ปฐมวยั ” เพอ่ื เสริมสรา้ งสมรรถนะการจดั ปร สงคของเดก็ ปฐมวยั การเรยี นรู้ของนกั ศึกษาครู ทส่ี ่งเสร คณุ ลักษณะทพี่ งึ ประสงคของเด็กป 2.3 หาคณุ ภาพดา้ นความเหมาะส รปู แบบชุมชนการเรยี นรทู้ างวิชาชพี โดยผ้เู ชีย่ วชาญ 5 คน 3. การนำรูปแบบ แนวคิดสู่การปฏบิ ัติ 1. จดั อบรมเชิงปฏิบัตกิ าร PLC เพ ชมุ ชนการเรยี นรทู้ าง กลมุ่ เปา้ หมาย คือ สมรรถนะการจัดประสบการณก์ าร วชิ าชพี (PLC) ไปใช้ 1. นกั ศึกษาครู จำนวน นกั ศึกษาครู และสมรรถนะการโค้ช ในช้นั เรยี นระดบั 10 คน อาจารย์พ่ีเล้ยี ง โดยมกี ลุ่มเป้าหมาย อนบุ าลศึกษาปีท่ี 1- 2. อาจารยพ์ ี่เลีย้ ง 1.1 นักศกึ ษาครู จำนวน 10 คน 3 จำนวน 10 คน 1.2 อาจารย์พ่ีเลยี้ ง จำนวน 10 3. สมาชกิ ทีม PLC 2. ระดมสมอง เพื่อจัดเตรยี มทีม P ประกอบดว้ ย 10 ทีม (หอ้ งเรยี นละ 1 ทีม ทมี ละ 3.1 ผทู้ รงคณุ วฒุ ิ และวางแผนการดำเนินการตามข้นั จำนวน 10 คน ขัน้ คอื Plan Do และ See 3.2 ผู้ปกครอง 3. ทมี PLC แตล่ ะทมี ดำเนินการต จำนวน 20 คน การพฒั นาวิชาชีพครู ดงั นี้
เครือ่ งมอื ระยะเวลา สถานภาพ ดำเนนิ การ การดำเนินงาน ปฐมวยั ครู และ แบบ รปู แบบชมุ ชนการเรยี นรู้ทาง พ.ย.61– ดำเนนิ การแลว้ ชีพ (PLC) วชิ าชีพ (PLC) เพื่อเสรมิ สรา้ ง ธ.ค.61 เสร็จ ระสบการณ์ สมรรถนะการจัดประสบการณ์การ รมิ เรยี นรู้ของนกั ศึกษาครู ปฐมวัย” ที่ส่งเสรมิ คณุ ลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค สมของ ของเดก็ ปฐมวยั พ (PLC) พือ่ ยกระดบั 1. เอกสารอบรมเชิงปฏบิ ตั ิการ ม.ค.62- ดำเนนิ การแลว้ รเรียนรู้ของ PLC ก.พ.62 เสร็จ ชของ 2. แบบสังเกตการจดั ประสบการณ์ ย คือ การเรยี นรู้ของนกั ศึกษาครู น 0 คน PLC จำนวน ะ 5 คน) นตอน 3 ตามแนวคิด 49
ประเดน็ การจดั การ ชื่อกจิ กรรม วธิ ีการจัดการความรู้ ความรู้ การประเมนิ ผล สะทอ้ น 3.1 จดั ประชุมกอ่ นการสังเกตก 4. การประเมินผล ผลการปฏบิ ตั งิ าน (After ประสบการณ์การเรียนรขู้ องนกั ศกึ ตดิ ตาม ตรวจสอบ Action Review : AAR) และพัฒนาคณุ ภาพ และถอดบทเรยี น 3.2 สงั เกตการจัดประสบการณ อย่างตอ่ เน่ือง (Lesson Learned) ของนกั ศึกษาครู 3.3 จัดประชุมหลังการสังเกตก ประสบการณก์ ารเรียนรู้ของนกั ศึก โดยร่วมกนั กำหนดการสังเกตใ 3 รอบ แตล่ ะรอบห่างกนั รอบละ 2 1. ประเมนิ สมรรถนะการจัดประส การเรียนรรู้ ะดับปฐมวยั ของนักศกึ ษ 2. ประเมินคณุ ลกั ษณะทพ่ี ึงประสง ปฐมวยั ประกอบด้วย พัฒนาการ 4 ด้านร่างกาย ด้านอารมณ์ จิตใจ ด้า และด้านสติปญั ญา 3. รว่ มกนั สะทอ้ นผลการปฏบิ ตั ิ โด After Action Review 4. รว่ มกนั ถอดบทเรยี น (Lesson เพอ่ื เป็นแนวทางการพัฒนาต่อไป
เครื่องมอื ระยะเวลา สถานภาพ ดำเนนิ การ การดำเนินงาน การจดั กษาครู ณ์การเรียนรู้ การจัด 1. แบบประเมนิ สมรรถนะการจดั 22 ก.พ.62 ดำเนินการแลว้ กษาครู ประสบการณก์ ารเรยี นรูร้ ะดับ เสร็จ ในชนั้ เรยี น ปฐมวยั 2 สัปดาห)์ 25-28 ดำเนินการแลว้ สบการณ์ 2. แบบประเมนิ คณุ ลักษณะที่พึง ก.พ.62 เสร็จ ษาครู ประสงคข์ องเด็กปฐมวยั งค์ของเด็ก 4 ด้าน คือ านสังคม ดยการจดั 3. แบบสะทอ้ นผลการปฏบิ ัติ 28 ก.พ.62 ดำเนนิ การแล้ว เสรจ็ Learned) - 11-13 ดำเนินการแล้ว มี.ค.62 เสร็จ 50
5. ผลการดำเนินงานตามแผนการจัดการความรู้ ประเดน็ การจัดการความรู้ ชอ่ื กจิ กรรม 1. การศึกษาและวเิ คราะห์ การวเิ คราะห์ข้อมูลพนื้ ฐานและความ ได้ผล ข้อมูลพน้ื ฐานและความ ตอ้ งการในการแก้ปญั หา หรือพัฒนา พฒั น ตอ้ งการในการแก้ปญั หา หรอื สมรรถนะการจดั ประสบการณ์การเรียนรู้ ครู โด พัฒนาสมรรถนะการจัด ของนักศกึ ษาครู การจ ประสบการณ์การเรียนรู้ของ ส่วนร นักศึกษาครู 2. การออกแบบ รูปแบบชุมชน การออกแบบ “รปู แบบชมุ ชนการเรยี นรู้ทาง ได้รปู การเรียนรู้ทางวชิ าชีพ (PLC) วชิ าชพี (PLC) สมรร เพ่ือเสริมสร้างสมรรถนะการจดั เพอ่ื เสรมิ สรา้ งสมรรถนะการจดั ทส่ี ง่ เ ประสบการณ์การเรียนรู้ของ ประสบการณก์ ารเรยี นรู้ของนกั ศกึ ษาครู ประก นกั ศกึ ษาครู ทสี่ ง่ เสริม ที่สง่ เสริมคณุ ลกั ษณะที่พึงประสงคของเดก็ กระบ คุณลักษณะทพ่ี งึ ประสงคของ ปฐมวยั ” เด็กปฐมวัย 3. การนำรปู แบบชุมชนการ แนวคิดสกู่ ารปฏบิ ัติ ไดใ้ ช เรยี นรู้ทางวิชาชพี (PLC) ไปใช้ กลุม่ เป้าหมาย คือ (PLC ในชน้ั เรียนระดับอนบุ าลศึกษา 1. นักศึกษาครู จำนวน 10 คน ปีท่ี 1-3 2. อาจารยพ์ ีเ่ ลย้ี ง จำนวน 10 คน 3. สมาชกิ ทมี PLC ประกอบดว้ ย 3.1 ผู้ทรงคณุ วุฒิ จำนวน 10 คน 3.2 ผปู้ กครอง จำนวน 20 คน 4. การประเมินผล ติดตาม การประเมินผล สะท้อนผลการปฏิบัตงิ าน 1. ผล ตรวจสอบ และพัฒนาคุณภาพ (After Action Review : AAR) และถอด ของน อยา่ งตอ่ เน่อื ง บทเรยี น (Lesson Learned) ปฐมว
ผลการดำเนนิ งาน สถานภาพการดำเนนิ งาน ลการวเิ คราะห์ขอ้ มลู พ้ืนฐาน และความตอ้ งการในการ ดำเนินการแล้วเสร็จ นาสมรรถนะการจัดประสบการณ์การเรยี นรู้ของนักศึกษา ดยพบว่า นักศึกษาครูมคี วามต้องการพฒั นาสมรรถนะ จัดประสบการณ์การเรยี นรขู้ องเดก็ ปฐมวยั โดยเน้นการมี รว่ มของทุกฝ่ายท่เี ก่ียวขอ้ ง ปแบบชุมชนการเรียนรทู้ างวิชาชพี (PLC) เพ่ือเสรมิ สร้าง ดำเนนิ การแล้วเสร็จ รถนะการจัดประสบการณ์การเรียนร้ขู องนกั ศึกษาครู เสรมิ คณุ ลกั ษณะที่พงึ ประสงคของเด็กปฐมวัย กอบด้วย 5 องค์ประกอบ คอื หลกั การ วัตถปุ ระสงค์ บวนการ และปจั จัยสนบั สนนุ ช้กระบวนการของรปู แบบชุมชนการเรียนรทู้ างวชิ าชีพ ดำเนินการแล้วเสรจ็ C) ในระดบั อนุบาลศึกษาปีที่ 1-3 ลการพฒั นาสมรรถนะการจัดประสบการณ์การเรยี นรู้ ดำเนินการแลว้ เสร็จ นักศึกษาครู ทีส่ ่งเสรมิ คุณลักษณะที่พงึ ประสงคข์ องเด็ก วัย ด้วยการใชร้ ูปแบบชมุ ชนการเรียนรูท้ างวิชาชีพ (PLC) 51
ประเดน็ การจดั การความรู้ ชื่อกจิ กรรม ท่ีเน้น ประส ของเ วชิ าช ภาพร เทคน สื่อแล ท่ีสดุ 2. ผล ประก อารม ประส การเร ปฐมว 4 ด้า และด ระดับ 3. ผล ทางว นำไป ของน ปฐมว Revie พัฒน
ผลการดำเนนิ งาน สถานภาพการดำเนินงาน นการมีสว่ นรว่ ม พบวา่ นักศึกษาครูมสี มรรถนะการจดั สบการณก์ ารเรียนรู้ ทสี่ ง่ เสรมิ คุณลกั ษณะท่พี งึ ประสงค์ เดก็ ปฐมวัย ด้วยการใช้รปู แบบชุมชนการเรียนร้ทู าง ชพี (PLC) ทเ่ี นน้ การมีส่วนรว่ ม ตามองค์ประกอบ 7 ด้าน รวมอยู่ในระดับมาก โดยมีองค์ประกอบดา้ นวิธีสอน นิค และกจิ กรรม อยใู่ นระดบั มากท่สี ุด รองลงมาคอื ด้าน ละนวัตกรรมในการจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรู้ และนอ้ ย คือ ดา้ นการวัดและประเมินผล ลการพฒั นาคณุ ลักษณะท่พี ึงประสงคข์ องเดก็ ปฐมวยั ซ่งึ ดำเนนิ การแลว้ เสร็จ กอบดว้ ยพัฒนาการ 4 ดา้ น ไดแ้ ก่ ดา้ นร่างกาย ดา้ น มณ์ จิตใจ ดา้ นสังคม และด้านสตปิ ญั ญา ดว้ ยการจัด สบการณ์การเรียนรขู้ องนักศกึ ษาครู โดยใช้รูปแบบชมุ ชน รยี นรทู้ างวิชาชพี (PLC) ทเ่ี น้นการมีสว่ นรว่ ม พบวา่ เดก็ วยั มคี ุณลกั ษณะท่พี ึงประสงค์ ซึ่งประกอบด้วยพัฒนาการ าน ไดแ้ ก่ ดา้ นร่างกาย ด้านอารมณ์ จติ ใจ ดา้ นสังคม ดา้ นสติปญั ญา ในภาพรวม ผา่ นเกณฑก์ ารประเมินอยใู่ น บไมต่ ำ่ กว่าร้อยละ 80 ทกุ ดา้ น ลการแลกเปลี่ยนเรียนรรู้ ่วมกนั ภายในชมุ ชนการเรยี นรู้ (อยู่ในระหวา่ งการเขยี น วชิ าชีพ (PLC) และรว่ มกนั จดั การความรู้อย่างเป็นระบบ รายงานผล) ปสูก่ ารพฒั นาสมรรถนะการจดั ประสบการณ์การเรียนรู้ นกั ศกึ ษาครู และคุณลกั ษณะท่ีพึงประสงคข์ องเด็ก วยั โดยจากการสะทอ้ นผลการปฏิบตั ิงาน (After Action ew : AAR) พบวา่ นักศกึ ษาครู เหน็ วา่ ตนเองมี นาการด้านสมรรถนะการจัดประสบการณ์การเรยี นรูข้ อง 52
ประเดน็ การจัดการความรู้ ชื่อกจิ กรรม เดก็ ป ของห อาจา และโ เทคโ ส่วนอ กระบ ประโ (PLC และม วิชาช
ผลการดำเนนิ งาน สถานภาพการดำเนินงาน ปฐมวัยไดอ้ ยา่ งรวดเร็วใน 3 ระยะ และบรรลุเปา้ หมาย หลักสตู ร สถานศึกษาระดับปฐมวัย จากทีม PLC และ ารย์พ่เี ลี้ยงท่คี อยติดตาม แนะนำ ช่วยเหลืออย่างใกล้ชิด โรงเรียนมคี วามพร้อมในการสนบั สนุนวสั ดุอุปกรณ์ และ โนโลยี เพอื่ ใชใ้ นการจัดประสบการณ์เรยี นรู้ อาจารย์พเี่ ลี้ยงสว่ นใหญ่เห็นว่าตนเองได้เรียนรู้ บวนการของ PLC มีความเข้าใจมากขน้ึ และเห็น โยชน์ทไี่ ด้จากการใช้รูปแบบชมุ ชนการเรียนรูท้ างวชิ าชีพ C) ท่เี น้นการมีส่วนรว่ ม บรรยากาศในการจดั การเรียนรู้ มุมมองทห่ี ลากหลายจากการใชช้ ุมชนการเรยี นรทู้ าง ชีพ (PLC) ที่เน้นการมีสว่ นรว่ ม 53
54 6. ผลผลิตหรอื องค์ความร้ทู ไี่ ด้ (Output) 1. โรงเรียนได้นวัตกรรมการจัดการความรู้ด้านวิชาการเรื่อง รูปแบบชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) ที่เน้นการมีส่วนร่วม เพื่อเสริมสร้างสมรรถนะการจัดประสบการณ์การเรยี นรู้ของนักศึกษาครู ที่ส่งเสริม คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของเด็กปฐมวัย โดยแนวทางการสร้างชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ ( PLC) ที่เน้น การมีส่วนร่วม มีชื่อเรียกว่า “MDOFT Model” ซึ่งมี 5 องค์ประกอบ ได้แก่ หลักการ วัตถุประสงค์ กระบวนการ การวัดและประเมนิ ผล และปจั จยั สนบั สนนุ 2. นักศึกษาครูมีสมรรถนะการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ ที่ส่งเสริมคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของเด็ก ปฐมวัย ด้วยการสร้างชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) ที่เน้นการมีส่วนร่วม ตามองค์ประกอบ 7 ด้าน ภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดยมีองค์ประกอบด้านวิธีสอน เทคนิค และกิจกรรม อยู่ในระดับมากที่สุด รองลงมา คอื ดา้ นสอ่ื และนวตั กรรมในการจัดประสบการณก์ ารเรียนรู้ และนอ้ ยท่ีสุด คือ ด้านการวดั และประเมินผล 3. เด็กปฐมวัยมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ซึ่งประกอบด้วยพัฒนาการ 4 ด้าน ได้แก่ ด้านร่างกาย ด้านอารมณ์ จิตใจ ด้านสังคม และด้านสติปัญญา ในภาพรวม ผ่านเกณฑ์การประเมินอยู่ในระดับไม่ต่ำกว่า รอ้ ยละ 80 ทกุ ดา้ น 4. ผลการแลกเปล่ยี นเรยี นรูร้ ว่ มกนั ภายในชมุ ชนการเรยี นรทู้ างวชิ าชีพ (PLC) และร่วมกนั จัดการความรู้ อย่างเป็นระบบนำไปสู่การพัฒนาสมรรถนะการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ของนักศึกษาครู และคุณลักษณะที่ พึงประสงค์ของเด็กปฐมวัย พบว่า นักศึกษาครู เห็นว่าตนเองมีพัฒนาการด้านสมรรถนะ การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยได้อย่างรวดเร็วใน 3 ระยะ และบรรลุเป้าหมายของหลักสูตร สถานศึกษาระดับปฐมวัย จากทีม PLC และอาจารย์พี่เลี้ยงที่คอยติดตาม แนะนำ ช่วยเหลืออย่างใกล้ชิด และ โรงเรียนมีความพร้อมในการสนับสนุนวัสดุอุปกรณ์ และเทคโนโลยี เพื่อใช้ในการจัดประสบการณ์เรียนรู้ ส่วนอาจารย์พี่เลี้ยงส่วนใหญ่เห็นว่าตนเองได้เรียนรู้กระบวนการของ PLC มีความเข้าใจมากขึ้น และเห็น ประโยชน์ที่ได้จากการใช้รูปแบบชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) ที่เน้นการมีส่วนร่วม บรรยากาศใน การจดั การเรียนรู้ และมุมมองท่ีหลากหลายจากการใช้ชมุ ชนการเรยี นรทู้ างวิชาชีพ (PLC) ทเ่ี นน้ การมสี ว่ นร่วม 7. ผลสัมฤทธทิ์ ไี่ ด้ (Outcome) 1. บุคลากรของระดับอนุบาลศึกษาทุกคน ได้แก่ อาจารย์พี่เลี้ยง พี่เลี้ยงเด็ก นักศึกษาฝึกสอน ไดพ้ ัฒนานวตั กรรมดา้ นวชิ าการร่วมกัน 2. บุคลากรของระดับอนุบาลศึกษา มีส่วนร่วมในการวางแผน และเก็บรวบรวมข้อมูล เพื่อนำเสนอ ผลการดำเนนิ งานของระดบั ในวันสมั มนาบุคลากรประจำปกี ารศกึ ษา 2561 3. มีการนำความรู้ของอาจารย์พี่เลี้ยง ผู้ทรงคุณวุฒิ และผู้ปกครอง มาร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ กบั นักศกึ ษาฝกึ ประสบการณ์วิชาชีพครู (นักศึกษาคร)ู อยา่ งต่อเนือ่ ง 8. การจัดการความต่อเนื่อง / การพฒั นาต่อยอด 1. การนำรูปแบบชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) ที่เน้นการมีส่วนร่วม ไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนา สมรรถนะของอาจารย์ผสู้ อนเดก็ ปฐมวัย กรณีเปน็ อาจารย์ใหม่ 2. การนำรูปแบบชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) ที่เน้นการมีส่วนร่วม ไปประยุกต์ใช้ในการเรียน การสอนระดบั ประถมศกึ ษาปที ่ี 1-3 54
3. สร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างสถาบันการศึกษา เพื่อร่วมกันพัฒนารูปแบบชุมชนการเรียนรู้ ทางวิชาชีพ (PLC) ให้สามารถนำไปใช้ร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผลต่อบุคลากร ของสถาบนั 9. ปัญหาและอปุ สรรคในการดำเนนิ การจดั การความรู้ ปัญหา/อุปสรรค แนวทางการแกไ้ ข ผ้รู บั ผดิ ชอบ เนื่องจาก รูปแบบชุมชนการเรียนรู้ทาง ทมี PLC อาจพิจารณาสมาชิกจากผทู้ ่มี ี - ฝ่ายวิจยั และบรกิ าร วชิ าการ วิชาชพี (PLC) ท่เี น้นการมีสว่ นรว่ ม มี คุณสมบตั ิตามเกณฑ์ และเน้นการเชิญ - ฝ่ายวิชาการ กลมุ่ เปา้ หมายท่ีประกอบดว้ ย ผทู้ ี่มสี ว่ น ผู้ทรงคุณวุฒทิ อี่ ยูใ่ น เก่ยี วขอ้ งหลายฝา่ ย จึงอาจมอี ุปสรรคใน มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ วทิ ยาเขต เรอ่ื งการนดั หมายเวลาท่ีตรงกนั คอ่ นข้าง กำแพงแสน หรอื สถาบันใกลเ้ คียง เชน่ ยาก ทำให้ต้องเลอ่ื นนดั การประชุม และ มหาวิทยาลัยศิลปากร และมหาวิทยาลัย สงั เกตการจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรู้ ซึ่ง ราชภัฏนครปฐม เพ่อื ร่วมทีม PLC กระทบต่อแผนการดำเนนิ งานของทมี PLC 55
10. รายชอ่ื คณะทำงาน 1. ผู้อำนวยการ ท่ปี รึกษา ท่ีปรึกษา 2. รองผ้อู ำนวยการฝายวิจัยและบรกิ ารวิชาการ ทปี่ รกึ ษา ประธานกรรมการ 3. ผชู้ ่วยผู้อำนวยการระดับการศึกษาปฐมวัย รองประธาน กรรมการ 4. ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.รุจิราพร รามศิริ กรรมการ กรรมการ 5. ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.อำพร ขุนเนียม กรรมการ กรรมการ 6. ผู้ชว่ ยศาสตราจารยอ์ ทุ ยั วรรณ แสงเสถียร กรรมการ กรรมการ 7. ผชู้ ่วยศาสตราจารยข์ จรรตั น์ อดุ มศรี กรรมการ กรรมการ 8. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์มลิวัลย์ กาญจนชาตรี กรรมการ กรรมการ 9. ผู้ชว่ ยศาสตราจารยก์ รรณิการ์ เจริญศิลป์ชัย กรรมการ กรรมการ 10. ผู้ช่วยศาสตราจารยช์ ตุ ิมา รัศมี กรรมการ กรรมการ 11. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์พรสถิต ดอกชะเอม กรรมการ กรรมการ 12. นางนภัสกร อุดมศรี กรรมการ กรรมการ 13. นางสิริมา ศิริฤกษ์ กรรมการและเลขานุการ กรรมการและผ้ชู ว่ ยเลขานกุ าร 14. นางสาวสพุ ัตรา ฝ่ายขันธ์ 15. นายปรีชา นวมนาม 16. นายโชคชัย ดวงแกว้ 17. นางพทั ธช์ รญั ญา วรมาลี 18. นางมณีรัตน์ โรจนทั 19. นางพศิ มัย วงั เยน็ นิยม 20. นางสาวทิพยภ์ าพร ขนุ ไกร 21. นางอัญชลุ ีกร เมืองบรุ ี 22. นางสาวชาลิกา เรอื งสวัสด์ิ 23. นายสชุ าติ แซแ่ ต้ 24. นายนเรศ ม่วงอยู่ 25. นายธนวรรธน์ สวนประเสริฐ 26. นางสาวเสาวลี ศรีทุ่ง 56
คณะผู้จัดทำเล่มเอกสาร Model เพ่ือการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา โรงเรียนสาธติ แหง่ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศกึ ษา คณะกรรมการฝา่ ยวจิ ัยและบริการวิชาการ 1. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.รจุ ริ าพร รามศิริ ประธาน รองประธาน 2. ผู้ช่วยศาสตราจารยณ์ ัฐฐญิ า จิตรฉำ่ กรรมการ กรรมการ 3. ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ณุภทั รณีย์ สุขุมะ กรรมการ กรรมการ 4. นางสาวสกุ ญั ญา ทิพยร์ กั ษ์ กรรมการ กรรมการ 5. นางสาวมนิ ตรา สงิ หนาค กรรมการและเลขานกุ าร กรรมการและผู้ช่วยเลขานกุ าร 6. นางศมลชนก อ่อนสีแดง 7. นางสิรมิ า ศิริฤกษ์ 8. นายเสกสรรค์ วิลัยลักษณ์ 9. นางสาวสนุ สิ า ทบั แสง 10. นางนภาลัย วิลัยลักษณ์ 57
โรงเรยี นสาเธลิตขแทห่ี 1่งมหหมาู่ ว6ิทตยำาบลลยั กเกำษแตพรงศแาสสนตอร์วำเิทภยอากเขำตแพกำงแแพส5นง8แจสงั นหวศัดูนนยค์วริจปยั ฐแมละ7พ3ัฒ14น0าการศกึ ษา
คณะผู้จัดทาเลม่ เอกสาร Model เพ่ือการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน ศูนย์วจิ ัยและพัฒนาการศกึ ษา คณะกรรมการฝา่ ยวจิ ัยและบริการวิชาการ 1. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.รจุ ริ าพร รามศิริ ประธาน รองประธาน 2. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ณัฐฐญิ า จติ รฉา่ กรรมการ กรรมการ 3. ผชู้ ว่ ยศาสตราจารยณ์ ุภทั รณยี ์ สขุ ุมะ กรรมการ กรรมการ 4. นางสาวสุกัญญา ทพิ ยร์ กั ษ์ กรรมการ กรรมการ 5. นางสาวมินตรา สงิ หนาค กรรมการและเลขานุการ 6. นางศมลชนก อ่อนสีแดง กรรมการและผู้ช่วยเลขานกุ าร 7. นางสิรมิ า ศริ ฤิ กษ์ 8. นายเสกสรรค์ วลิ ัยลักษณ์ 9. นางสาวสุนสิ า ทบั แสง 10. นางนภาลัย วิลัยลักษณ์ 57
โรงเรยี นสาเธลิตขแทห่ี 1่งมหหมาู่ ว6ิทตยาาบลลยั กเกาษแตพรงศแาสสนตอรา์วเิทภยอากเขาตแพกางแแพส5นง8แจสงั นหวศัดูนนยค์วริจปยั ฐแมละ7พ3ัฒ14น0าการศกึ ษา
Search