Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการดำเนินงานคณะกรรมการสถานศึกษา2562

คู่มือการดำเนินงานคณะกรรมการสถานศึกษา2562

Published by educat tion, 2021-05-09 03:02:39

Description: คู่มือการดำเนินงานคณะกรรมการสถานศึกษา2562

Search

Read the Text Version

คู่มอื การดำ� เนนิ งาน ของคณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน สงั กดั สำ� นักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน พ.ศ. ๒๕๖๒ ส�ำนักตดิ ตามและประเมนิ ผลการจดั การศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน สำ� นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ

พิมพ์ท ี่ แมท็ ชพ์ อยท์ 1562/61 ถ.ประชาราษฎร์ สาย 1 แขวงบางซอื่ เขตบางซ่อื กรุงเทพฯ 10800 โทร. 081-9361-756, 081-4866-394 E-mail : [email protected]

คำ� น�ำ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และที่แก้ไขเพิ่มเติม ให้ความส�ำคัญต่อ การมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนในการบริหารและการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยมีผู้เกี่ยวข้อง ทีส่ ำ� คัญประกอบดว้ ย สำ� นักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน สำ� นกั งานเขตพ้ืนที่การศกึ ษา สถานศึกษาและคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน ซ่ึงมีความส�ำคัญอย่างยิ่งในการส่งเสริม และสนับสนุนให้สถานศึกษาสามารถจัดการศึกษาได้อย่างมีคุณภาพ โดยการกระจายอ�ำนาจ และการจดั การศกึ ษาตามภารกจิ งานหลกั ๔ ดา้ น ไดแ้ ก่ ดา้ นวชิ าการ ดา้ นงบประมาณ ดา้ นการบรหิ าร งานบุคคล และดา้ นการบริหารท่วั ไป สำ� นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน ตระหนกั ถงึ ความสำ� คญั บทบาท และหนา้ ที่ ของคณะกรรมการสถานศกึ ษาข้ันพืน้ ฐานท่เี ป็นผ้มู ีส่วนร่วมเป็นเจา้ ของสถานศึกษาและรับผิดชอบ ต่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา รวมท้ังมีหน้าท่ีส�ำคัญในการส่งเสริม สนับสนุน สถานศกึ ษา ใหม้ ีการจัดการศึกษาได้อยา่ งมคี ณุ ภาพ มคี วามคล่องตัวและเกดิ ประสทิ ธภิ าพ ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ขอขอบคุณคณะกรรมการและ ผมู้ สี ว่ นเกย่ี วขอ้ งทกุ ทา่ นทม่ี สี ว่ นรว่ มในการจดั ทำ� คมู่ อื การดำ� เนนิ งานของคณะกรรมการสถานศกึ ษา ข้ันพ้ืนฐาน สังกัดส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๖๒ ให้มีความชัดเจน และเปน็ ประโยชน์ สามารถนำ� ไปเปน็ แนวทางในการบรหิ ารและการจดั การศกึ ษารว่ มกนั ของทกุ ฝา่ ย ทม่ี ีเป้าหมายสงู สดุ อยทู่ ่กี ารพัฒนาคณุ ภาพผู้เรียน (นายอ�ำนาจ วิชยานุวตั ิ) เลขาธิการคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน ก



สารบญั หน้า ค�ำน�ำ ...........................................................................................................................ก สารบญั ...........................................................................................................................ค สารบญั แผนภูม.ิ ................................................................................................................... จ บทสรุปผบู้ ริหาร................................................................................................................... ฉ ตอนท่ี ๑ หลักการจัดการศึกษา............................................................................................... ๑ ความเปน็ มา.............................................................................................................. ๑ หลกั การจัดการศึกษา................................................................................................ ๒ โครงสร้างการบริหารจัดการศกึ ษาของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร..................................... ๓ ตอนที่ ๒ ที่มาและการสรรหาคณะกรรมการสถานศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน..................................... ๕ ท่ีมาของคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน.......................................................... ๕ องคป์ ระกอบและจ�ำนวนของคณะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน.......................... ๕ คุณสมบัติของคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน...............................................๑๐ วธิ ีการสรรหาและเลอื กคณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน.................................๑๑ วาระการดำ� รงต�ำแหน่งของคณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพื้นฐาน..........................๑๖ การพ้นจากตำ� แหนง่ ของคณะกรรมการสถานศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน...............................๑๖ อ�ำนาจการตคี วามและวินิจฉยั ปัญหา......................................................................๑๖ ตอนที่ ๓ บทบาทหนา้ ทข่ี องคณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน.....................................๑๗ บทบาทหน้าทีข่ องคณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน........................................๑๗ บทบาทหน้าทข่ี องหนว่ ยงานทเี่ ก่ยี วข้องกับคณะกรรมการสถานศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน..๑๙ ตอนท่ี ๔ การปฏบิ ตั ิงานร่วมกนั ของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพืน้ ฐาน........................๒๐ กบั สถานศึกษา ความสำ� คัญของคณะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน............................................๒๐ การสง่ เสรมิ ภารกจิ ของคณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน.................................๒๑ แนวทางการปฏบิ ัติงานร่วมกันของสถานศึกษากบั คณะกรรมการสถานศึกษา ขนั้ พื้นฐาน...................................................................................................๒๒ แนวทางการประชาสมั พนั ธเ์ ผยแพร่ผลการด�ำเนินงานของสถานศึกษา...................๒๓ ค

สารบญั (ตอ่ ) หนา้ ตอนที่ ๕ แนวทางการพฒั นาคณะกรรมการสถานศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน...................................๒๕ วตั ถุประสงค.์ ...........................................................................................................๒๕ กล่มุ เป้าหมาย..........................................................................................................๒๕ กระบวนการพัฒนา.................................................................................................๒๕ เนือ้ หาสาระการพัฒนา............................................................................................๒๖ การอบรมสมั มนาคณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐานเพ่อื พฒั นาการบริหาร สถานศกึ ษา.................................................................................................๓๔ การติดตามผลการน�ำความรไู้ ปใชใ้ นการปฏบิ ัติงานของคณะกรรมการสถานศึกษา ขัน้ พน้ื ฐาน...................................................................................................๓๕ ตอนท่ี ๖ ปจั จยั ความส�ำเร็จของการบริหารและการจดั การศึกษา.......................................๓๖ ปจั จยั ความส�ำเรจ็ ....................................................................................................๓๖ ขอ้ ควรปฏบิ ัต.ิ ..........................................................................................................๔๐ ภาพความสำ� เรจ็ ......................................................................................................๔๑ บรรณานุกรม............................................................................................................................๔๓ ภาคผนวก คำ� สง่ั สำ� นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพื้นฐานที่ ๙๕๖/๒๕๖๒ เร่ือง แต่งตั้งคณะกรรมการปรบั ปรุงคู่มอื คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สั่ง ณ วันท่ี ๓๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๒................................................................๔๖ คำ� สง่ั ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พื้นฐานท่ี ๑๑๑๕/๒๕๖๒ เรือ่ ง แตง่ ตง้ั คณะกรรมการด�ำเนินการปรบั ปรงุ คู่มอื การด�ำเนินงานของคณะกรรมการ สถานศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน สังกดั ส�ำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน สง่ั ณ วันที่ ๒๑ มถิ นุ ายน พ.ศ. ๒๕๖๒...................................................................๔๙ ค�ำสัง่ สำ� นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐานท่ี ๑๕๘๓/๒๕๖๒ เร่อื ง แต่งต้งั คณะกรรมการด�ำเนนิ การปรบั ปรงุ คู่มือการดำ� เนนิ งาน .ของคณะกรรมการ สถานศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน สงั กดั ส�ำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน สง่ั ณ วนั ท่ี ๒๗ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๖๒....................................................................๕๓ ค�ำสัง่ ส�ำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้ืนฐานที่ ๑๑๖๓/๒๕๖๒ เรือ่ ง แตง่ ตั้งคณะกรรมการด�ำเนนิ การปรบั ปรุงคมู่ อื การดำ� เนนิ งานของคณะกรรมการ สถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน สงั กดั ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน เพิม่ เติม สั่ง ณ วนั ที่ ๑๖ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๒...................................................................๕๗ คณะผ้จู ัดท�ำ ....................................................................................................................๕๘ ง

สารบัญแผนภมู ิ หนา้ แผนภูมิ ๑ โครงสร้างการบริหารจดั การศึกษาของกระทรวงศกึ ษาธิการ...............................๔ แผนภมู ิ ๒ องคป์ ระกอบของคณะกรรมการสถานศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน สถานศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐานทว่ั ไปขนาดเลก็ จ�ำนวน ๙ คน...............................๗ แผนภูมิ ๓ องค์ประกอบของคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพนื้ ฐาน สถานศึกษาขนั้ พืน้ ฐานทว่ั ไปขนาดใหญ่ จ�ำนวน ๑๕ คน............................๘ แผนภมู ิ ๔ องค์ประกอบของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพน้ื ฐาน สถานศึกษารูปแบบโรงเรียนร่วมพฒั นา จ�ำนวน ๑๕ คน...........................๙ จ

บทสรปุ ผู้บริหาร พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และท่ีแก้ไขเพิ่มเติม มาตรา ๔๐ และ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖ และที่แก้ไขเพิ่มเติม มาตรา ๓๘ ก�ำหนดให้มีคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อท�ำหน้าท่ีก�ำกับและส่งเสริม สนับสนุนกิจการของสถานศึกษาให้มีประสิทธิภาพเป็นไปตามเจตนารมณ์ท่ีกฎหมายก�ำหนด โดยสถานศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐานในสงั กดั สำ� นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน จะตอ้ งดำ� เนนิ การ ให้มีคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน เพ่ือให้การด�ำเนินกิจการของสถานศึกษาเป็นไปตาม ที่กฎหมายก�ำหนด โดยแบง่ สถานศกึ ษาออกเป็น ๒ ประเภท คือ ๑) สถานศึกษาขั้นพื้นฐานทั่วไป ประกอบด้วย สถานศึกษาขนาดเล็ก มีคณะกรรมการ สถานศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐานจำ� นวน ๙ คนและสถานศกึ ษาขนาดใหญ่ มคี ณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน จำ� นวน ๑๕ คน และ ๒) สถานศึกษารูปแบบโรงเรียนร่วมพัฒนา มีคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน จ�ำนวน ๑๕ คน ทง้ั น้ี ในสว่ นของคณุ สมบตั ิ วธิ ีการสรรหาและเลอื กคณะกรรมการสถานศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน ให้ด�ำเนินการตามกฎกระทรวง ก�ำหนดจ�ำนวนกรรมการ คุณสมบัติ หลักเกณฑ์ วิธีการสรรหา การเลือกประธานกรรมการและกรรมการ วาระการด�ำรงต�ำแหน่งและการพ้นจากต�ำแหน่งของ คณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พ.ศ. ๒๕๔๖ และระเบยี บคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน วา่ ดว้ ยการกำ� หนดองคป์ ระกอบ หลกั เกณฑ์ วธิ กี ารสรรหาและจำ� นวนกรรมการสถานศกึ ษา สำ� หรบั สถานศึกษารปู แบบโรงเรยี นร่วมพัฒนา พ.ศ. ๒๕๖๑ ส�ำหรบั บทบาทหน้าทีข่ องคณะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน ประกอบด้วย ๑. กำ� กบั การดำ� เนินการของสถานศึกษาให้สอดคล้องกบั กฎหมาย กฎ ระเบยี บ ประกาศ คำ� สงั่ และนโยบายของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร สำ� นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน สำ� นกั งาน เขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษา และความต้องการของชมุ ชนและทอ้ งถน่ิ ๒. ส่งเสริมและสนับสนนุ การดำ� เนนิ การกจิ การดา้ นตา่ งๆ ของสถานศกึ ษา ๓. มีบทบาทหน้าท่ีเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลส�ำหรับข้าราชการครูและบุคลากร ทางการศกึ ษาในสถานศกึ ษาตามทก่ี ฎหมายวา่ ดว้ ยระเบยี บขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา กำ� หนด ๔. ปฏิบัติหน้าท่ีตามท่ีกฎหมาย ระเบียบ ประกาศ ฯลฯ ก�ำหนดให้เป็นบทบาทหน้าท่ี ของคณะกรรมการสถานศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน ฉ

โดยคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานมีบทบาทหน้าที่ตามภาระงาน ๔ ด้านคือ ด้านวิชาการ ด้านงบประมาณ ด้านการบริหารงานบุคคลและด้านการบริหารทั่วไป ท่ีก�ำหนดไว้ ในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และที่แก้ไขเพิ่มเติม พระราชบัญญัติระเบียบ บริหารข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๗ และที่แก้ไขเพ่ิมเติม และประกาศ ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน เร่ือง การกระจายอ�ำนาจการบรหิ ารและการจัดการ ศึกษาของเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานไปยังคณะกรรมการ ส�ำนักงานเขตพื้นท่ี การศกึ ษาและสถานศกึ ษาในสังกัดส�ำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน พ.ศ. ๒๕๕๐ การปฏิบัติงานร่วมกันของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานกับสถานศึกษา โดย คณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน ซง่ึ ประกอบดว้ ย ผแู้ ทนผู้ปกครอง ผแู้ ทนครู ผแู้ ทนองค์กร ชุมชน ผ้แู ทนองค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ ผู้แทนศิษย์เก่าของสถานศึกษา ผ้แู ทนพระภิกษุ และหรอื องค์กรศาสนาอ่ืนในพ้ืนท่ี ผู้ทรงคุณวุฒิ และผู้อ�ำนวยการสถานศึกษา ท�ำหน้าที่เป็นกรรมการ และเลขานุการ ทั้งนี้ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานซึ่งเป็นองค์คณะบุคคลในการบริหาร สถานศึกษาแบบมีส่วนร่วม จึงจ�ำเป็นต้องอาศัยผู้มีความรู้ความเชี่ยวชาญในสาขาที่หลากหลาย และเข้าใจการศึกษา มีความมุ่งม่ัน มีเวลาที่จะอุทิศแรงกายแรงใจพัฒนาสถานศึกษาของชุมชน ให้มีคุณภาพและได้มาตรฐานตามที่ชุมชน สังคม และประเทศชาติต้องการ ซึ่งจะส่งผลให้ชุมชน สงั คมเขม้ แขง็ และประเทศชาตกิ า้ วหนา้ ในขณะเดยี วกนั สถานศกึ ษากม็ บี ทบาทหนา้ ทใ่ี นการสง่ เสรมิ ภารกิจโดยการสร้างความรู้ความเข้าใจเพื่อให้คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานตระหนัก ในบทบาทอำ� นาจหนา้ ทตี่ ามทก่ี ฎหมายกำ� หนด และมรี ปู แบบวธิ กี ารทำ� งานทปี่ ระสานสอดคลอ้ งกนั โดยมีจุดหมายเพ่อื พฒั นาการศึกษาให้บรรลุผลตามแผนทีก่ �ำหนดรว่ มกัน แนวทางการพัฒนาคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน มีกระบวนการด�ำเนินงาน เพอ่ื พฒั นาคณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน แบง่ เปน็ ๓ ระดบั คอื ระดบั สำ� นกั งานคณะกรรมการ การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน ระดบั สำ� นักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษา และระดบั สถานศึกษา โดยเนอื้ หาสาระ การพฒั นาคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน ประกอบดว้ ย กฎหมายที่เกยี่ วข้องกับสถานศึกษา และคณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน หลกั การมสี ว่ นรว่ มของคณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน การบรหิ ารงานในสถานศกึ ษา บทบาทหนา้ ทข่ี องคณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐานกบั การบรหิ าร สถานศึกษา การสร้างภาคีเครือข่ายของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน การสร้างแนวทาง พัฒนาหลกั ธรรมาภบิ าลของคณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน กลยุทธก์ ารกำ� กบั ตดิ ตามและ ประเมนิ คณุ ภาพสถานศกึ ษา และหลกั การทำ� งานเปน็ ทมี เพอ่ื ใหค้ ณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน ไดร้ บั ความรู้ ความเข้าใจ และสามารถบริหารแบบมสี ว่ นร่วมในสถานศึกษาได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ และส่งผลโดยตรงต่อการพัฒนาระบบการศึกษาไทย ทั้งนี้ หลังจากการพัฒนาคณะกรรมการ สถานศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐานแล้ว ส�ำนกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษาควรมกี ารตดิ ตามผลการพัฒนา อยา่ งนอ้ ย ปีละ ๑ ครั้ง ซ่ึงสามารถท�ำได้หลากหลายรูปแบบ เพ่ือให้ทราบผลของการน�ำความรู้ไปใช ้ ในการปฏบิ ัติของคณะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน ช

หลักการส�ำคัญของการปฏิรูปการศึกษา คือ การกระจายอ�ำนาจการบริหารและการจัด การศึกษา การเปิดโอกาสให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา ซึ่งการด�ำเนินการตาม หลกั การดงั กลา่ วจะประสบความสำ� เรจ็ นา่ เชอ่ื ถอื และเปน็ ทย่ี อมรบั ของผเู้ กยี่ วขอ้ งและสาธารณชนได้ จ�ำเป็นต้องด�ำเนินการภายใต้สภาพแวดล้อมที่เป็นปัจจัยความส�ำเร็จ ได้แก่ ด้านสถานศึกษา ด้านผู้บริหารสถานศึกษา ด้านคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน ด้านการบริหารการศึกษา และด้านผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ซึ่งทุกฝ่ายจะต้องร่วมมือกันด�ำเนินงานอย่างจริงจัง เพ่ือเสริมสร้าง ความเข้มแข็งของคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน อันจะท�ำให้สถานศึกษาพัฒนาคุณภาพ การศกึ ษาใหท้ นั โลกในยคุ ปจั จุบนั ทีม่ ีการเปลย่ี นแปลงเจริญก้าวหน้าไปอย่างรวดเร็ว ซ

ตอนที่ ๑ หลกั การจดั การศกึ ษา ความเป็นมา บทบัญญัตดิ า้ นการศกึ ษาตามรฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๕๔ บัญญัติให้รัฐต้องด�ำเนินการให้เด็กทุกคนได้รับการศึกษาเป็นเวลาสิบสองปี ตั้งแต่ก่อนวัยเรียน จนจบการศึกษาภาคบังคับอย่างมีคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย เพ่ือให้ประชาชนได้รับการศึกษา ตามความต้องการ ส่งเสริมให้มีการเรียนรู้ตลอดชีวิต และจัดให้มีการร่วมมือกันจากทุกฝ่าย ในการจัดการศึกษาทุกระดับ ในการด�ำเนินการปฏิรูปการศึกษาจ�ำเป็นต้องใช้การมีส่วนร่วม จากทกุ ภาคสว่ นทเี่ กย่ี วขอ้ ง เพอื่ ลดขนั้ ตอน และสามารถแกป้ ญั หาความซำ�้ ซอ้ น ซงึ่ แนวทางในการปฏริ ปู การศึกษาของประเทศ เร่ิมจากการประกาศใช้พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และที่แก้ไขเพิ่มเติม เป็นกฎหมายหลักในการปฏิรูปการศึกษาทั้งระบบฉบับแรกของประเทศไทย โดยมเี จตนารมณใ์ หก้ ารจดั การศกึ ษาตอ้ งเปน็ ไปเพอื่ พฒั นาคนไทยใหเ้ ปน็ มนษุ ยท์ สี่ มบรู ณท์ ง้ั รา่ งกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ มีคุณธรรมและจริยธรรม รวมทั้งมีวัฒนธรรมในการด�ำรงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนได้อย่างมีความสุข โดยก�ำหนดหลักการจัดระบบ โครงสร้าง และ กระบวนการจัดการศึกษาตามมาตรา ๙ ให้มีเอกภาพด้านนโยบายและมีความหลากหลาย ในการปฏบิ ตั ิ โดยกระจายอำ� นาจไปสูเ่ ขตพืน้ ทก่ี ารศึกษา สถานศึกษา กำ� หนดมาตรฐานการศกึ ษา และจัดระบบประกันคุณภาพการศึกษา ระดมทรัพยากรจากแหล่งต่างๆ การจัดการศึกษา แบบมสี ว่ นรว่ มของบคุ คล ครอบครวั ชมุ ชน องคก์ ร และสถาบนั ตา่ งๆ ทม่ี สี ว่ นรว่ มในการจดั การศกึ ษา และมาตรา ๓๙ ไดก้ �ำหนดใหก้ ระทรวงศึกษาธกิ ารกระจายอ�ำนาจการบรหิ ารและการจดั การศึกษา ท้ังด้านวิชาการ ด้านงบประมาณ ด้านการบริหารงานบุคคล และด้านการบริหารท่ัวไป ไปยัง คณะกรรมการเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษา (ปจั จบุ นั ใหย้ บุ เลกิ และโอนอำ� นาจหนา้ ทใ่ี หค้ ณะกรรมการศกึ ษาธกิ าร จังหวัด (กศจ.) ตามค�ำส่ังหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ ๑๙/๒๕๖๐ เรื่องการปฏิรูป การศึกษาในภมู ภิ าคของกระทรวงศกึ ษาธิการ ส่งั ณ วนั ท่ี ๓ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๐) ส�ำนกั งาน เขตพื้นทกี่ ารศึกษา สถานศกึ ษา และคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโดยตรง หลักการส�ำคัญของการกระจายอ�ำนาจการบริหารจากส่วนกลางไปสู่สถานศึกษานั้น เป็นการเปิดโอกาสให้หน่วยงานระดับปฏิบัติมีอ�ำนาจในการตัดสินใจทางการบริหารและการจัด การศกึ ษาดว้ ยตนเอง โดยเปดิ โอกาสใหบ้ คุ คล ชมุ ชน และองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ เขา้ มามสี ว่ นรว่ ม ในการจดั การศึกษา จึงก�ำหนดให้มีคณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน เพอ่ื ท�ำหนา้ ที่กำ� กับและ สง่ เสริม สนับสนุนกิจการของสถานศึกษา 1

หลกั การจดั การศกึ ษา ในการปฏริ ปู การศกึ ษาตามเจตนารมณแ์ หง่ พระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และทแ่ี กไ้ ขเพมิ่ เตมิ และพระราชบญั ญตั ริ ะเบยี บบรหิ ารราชการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร พ.ศ. ๒๕๔๖ และทแี่ กไ้ ขเพม่ิ เตมิ ไดก้ ำ� หนดความมงุ่ หมายในการจดั การศกึ ษาคอื การจดั การศกึ ษาตอ้ งเปน็ ไป เพ่ือพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ท่ีสมบูรณ์ท้ังร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรม มจี ริยธรรมและวฒั นธรรมในการด�ำรงชวี ติ สามารถอยรู่ ่วมกบั ผ้อู ่นื ได้อยา่ งมคี วามสขุ นอกจากนี ้ ยงั ได้ก�ำหนดหลกั การในการจดั การศกึ ษา คือ ๑. เป็นการศึกษาตลอดชวี ิตสำ� หรับประชาชน ๒. ให้สังคมมสี ่วนรว่ มในการจดั การศึกษา ๓. การพัฒนาสาระและกระบวนการเรยี นรู้ใหเ้ ปน็ ไปอยา่ งตอ่ เน่ือง โดยมหี ลกั การจัดระบบ โครงสรา้ ง และกระบวนการจัดการศกึ ษา ดงั น้ี ๑. มีเอกภาพดา้ นนโยบาย และมีความหลากหลายในการปฏิบัติ ๒. มีการกระจายอ�ำนาจไปสู่เขตพ้ืนท่ีการศึกษา สถานศึกษา และองค์กรปกครอง สว่ นท้องถ่นิ ๓. มีการก�ำหนดมาตรฐานการศึกษา และจัดระบบประกันคุณภาพการศึกษาทุกระดับ และประเภทการศึกษา ๔. มีหลักการส่งเสริมมาตรฐานวิชาชีพครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาและ การพัฒนาครู คณาจารย์ และบคุ ลากรทางการศึกษาอย่างตอ่ เนื่อง ๕. ระดมทรัพยากรจากแหลง่ ตา่ ง ๆ มาใช้ในการจดั การศกึ ษา ๖. การมสี ว่ นรว่ มของบคุ คล ครอบครวั ชมุ ชน องคก์ รชมุ ชน องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ เอกชน องค์กรเอกชน องค์กรวชิ าชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบนั สังคมอื่น การจดั การศกึ ษาตอ้ งจดั ใหบ้ คุ คลมสี ทิ ธแิ ละโอกาสเสมอกนั ในการรบั การศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน เปน็ เวลาสบิ สองปี ตงั้ แตก่ อ่ นวยั เรยี นจนจบการศกึ ษาภาคบงั คบั อยา่ งมคี ณุ ภาพโดยไมเ่ กบ็ คา่ ใชจ้ า่ ย ซ่ึงการจัดการศึกษาส�ำหรับบุคคลที่มีความบกพร่องทางร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์ สังคม การสอ่ื สาร และการเรยี นรหู้ รอื มรี า่ งกายพกิ าร หรอื ทพุ พลภาพ หรอื บคุ คลซง่ึ ไมส่ ามารถพงึ่ ตนเองได้ หรอื ไมม่ ผี ดู้ แู ล หรอื ดอ้ ยโอกาส ตอ้ งจดั ใหบ้ คุ คลดงั กลา่ วมสี ทิ ธแิ ละโอกาสไดร้ บั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน เป็นพิเศษ และให้สถานศึกษาร่วมกับบุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรปกครอง ส่วนทอ้ งถนิ่ เอกชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชพี สถาบนั ศาสนา สถานประกอบการ และสถาบนั สังคมอ่ืน ส่งเสริมความเข้มแข็งของชุมชน โดยจัดกระบวนการเรียนรู้ภายในชุมชน เพ่ือให้ชุมชน มีการจัดการศึกษาอบรม มีการแสวงหาความรู้ ข้อมูลข่าวสาร และรู้จักเลือกสรรภูมิปัญญาและ วิทยาการต่างๆ เพอ่ื พฒั นาชุมชนให้สอดคล้องกับสภาพปัญหาและความตอ้ งการ รวมทงั้ หาวธิ ีการ สนับสนุนให้มีการแลกเปล่ียนประสบการณ์การพัฒนาระหว่างชุมชน เพื่อให้คนไทยได้เรียนรู้ ตลอดชีวติ อย่างมคี ณุ ภาพ โดยมเี ป้าหมายส�ำคัญ คือ๑ ๑ พระราชบัญญตั ิการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และที่แก้ไขเพมิ่ เติม หมวดท่ี ๒ สิทธแิ ละหนา้ ท่ที างการศกึ ษา 2

๑. พฒั นาคณุ ภาพและมาตรฐานการศกึ ษา ๒. เพม่ิ โอกาสทางการศกึ ษาและการเรยี นรอู้ ยา่ งทว่ั ถงึ และมคี ณุ ภาพอยา่ งตอ่ เนอื่ งตลอดชวี ติ ๓. ส่งเสริมการมสี ่วนร่วมของทกุ ภาคสว่ นในสงั คม โครงสร้างการบรหิ ารจัดการศกึ ษาของกระทรวงศกึ ษาธิการ การปฏิรูประบบบริหารราชการและการจัดการศกึ ษาตามพระราชบัญญตั ริ ะเบยี บบรหิ าร ราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖ ได้หลอมรวมหน่วยงานทางการศึกษา คือ ทบวง มหาวทิ ยาลัย สำ� นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาแหง่ ชาติ และกระทรวงศึกษาธิการ เป็นหนว่ ยงาน เดียวกัน เป็นกระทรวงศึกษาธิการตามโครงสร้างการบริหารราชการใหม่ โดยในมาตรา ๖ ตามพระราชบญั ญตั ริ ะเบยี บบรหิ ารราชการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร (ฉบบั ท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒ จดั ระเบยี บ ราชการกระทรวงศกึ ษาธกิ ารแบง่ ออกเปน็ ๓ สว่ น ไดแ้ ก่ การจดั ระเบยี บบรหิ ารราชการในสว่ นกลาง การจัดระเบียบบริหารราชการเขตพ้ืนท่ีการศึกษา และการจัดระเบียบราชการในสถานศึกษา ของรฐั ทจ่ี ดั การศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาทเ่ี ปน็ นติ บิ คุ คล แตไ่ มร่ วมถงึ การจดั การศกึ ษาทอี่ ยใู่ นอำ� นาจหนา้ ท่ี ของกระทรวงอน่ื ทีม่ กี ฎหมายก�ำหนดไว้เปน็ การเฉพาะ รายละเอียดดงั น้ี ๑. การจัดระเบียบบริหารราชการในส่วนกลาง ระดับกระทรวง มีบทบาทและอ�ำนาจ หนา้ ทเ่ี กยี่ วกบั การสง่ เสรมิ และกาํ กบั ดแู ลการศกึ ษาทกุ ระดบั และทกุ ประเภท กาํ หนดนโยบาย แผน และมาตรฐานการศึกษา การสนับสนุนทรัพยากรเพื่อการศึกษา รวมท้ังส่งเสริมและประสานงาน การศาสนา ศลิ ปะ วฒั นธรรม และการกฬี าเพอ่ื การศึกษา การติดตามตรวจสอบและประเมนิ ผล โดยมีหัวหนา้ สว่ นราชการข้ึนตรงตอ่ รัฐมนตรวี า่ การกระทรวงศกึ ษาธิการ ดังนี้ ๑.๑ สำ� นกั งานรัฐมนตรี ๑.๒ สำ� นักงานปลดั กระทรวง ๑.๓ สำ� นกั งานเลขาธิการสภาการศกึ ษา ๑.๔ สำ� นักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน ๑.๕ ส�ำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา ๒. การจดั ระเบยี บบรหิ ารราชการเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษา ตามพระราชบญั ญตั ริ ะเบยี บบรหิ าร ราชการกระทรวงศึกษาธกิ าร พ.ศ. ๒๕๔๖ และท่แี กไ้ ขเพ่ิมเติม มาตรา ๓๓ ไดก้ �ำหนดการบริหาร และการจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐานให้ยึดเขตพ้ืนท่ีการศึกษา โดยค�ำนึงถึงระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน จำ� นวนสถานศึกษา จ�ำนวนประชากร วัฒนธรรม และความเหมาะสมดา้ นอ่ืนดว้ ย เวน้ แตก่ ารจัด การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการอาชวี ศกึ ษา และมาตรา ๓๔ ใหจ้ ดั ระเบยี บบรหิ ารราชการ เขตพ้ืนทกี่ ารศึกษา ดังนี้ ๒.๑ ส�ำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา (ตามข้อ ๔ ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรอื่ ง การแบ่งสว่ นราชการภายในสำ� นักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๐) ๒.๑.๑ สำ� นกั งานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษา ๒.๑.๒ ส�ำนกั งานเขตพ้นื ที่การศกึ ษามัธยมศึกษา ๒.๒ สถานศกึ ษาที่จดั การศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน หรอื ส่วนราชการท่ีเรยี กชอ่ื อย่างอ่นื 3

๓. การจัดระเบียบบริหารราชการในสถานศึกษาของรัฐท่ีจัดการศึกษาระดับปริญญา ที่เปน็ นิติบุคคล ใหเ้ ปน็ ไปตามกฎหมายของแตล่ ะสถานศกึ ษา จากโครงสร้างและอ�ำนาจหน้าท่ีดังกล่าว สามารถเขียนแผนภูมิโครงสร้างการบริหาร จัดการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการได้ ดังน้ี แผนภมู ิ ๑ โครงสรา้ งการบริหารจัดการศกึ ษาของกระทรวงศึกษาธกิ าร 4

ตอนท่ี ๒ ทมี่ าและการสรรหาคณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน ทม่ี าของคณะกรรมการสถานศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และที่แก้ไขเพ่ิมเติม มาตรา ๔๐ และ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖ และที่แก้ไขเพิ่มเติม มาตรา ๓๘ ก�ำหนดให้มีคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน เพ่ือท�ำหน้าที่ก�ำกับและส่งเสริม สนับสนุนกจิ การของสถานศกึ ษาใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพเปน็ ไปตามเจตนารมณท์ ี่กฎหมายกำ� หนด จากพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และที่แก้ไขเพิ่มเติม มาตรา ๔ ให้ความหมายของค�ำวา่ ๒ “การศึกษาขั้นพืน้ ฐาน” หมายความว่า การศกึ ษาก่อนระดับอดุ มศึกษา “สถานศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน” หมายความวา่ สถานศึกษาทจี่ ัดการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน โดย มาตรา ๑๖ กำ� หนดใหก้ ารศึกษาในระบบมสี องระดบั คือ การศึกษาข้นั พ้นื ฐานและ การศึกษาระดับอุดมศึกษา ซ่ึงการศึกษาข้ันพ้ืนฐานประกอบด้วย การศึกษาซึ่งจัดไม่น้อยกว่า สิบสองปีก่อนระดับอุดมศึกษา การแบ่งระดับและประเภทของการศึกษาขั้นพ้ืนฐานให้เป็นไป ตามทกี่ ำ� หนดในกฎกระทรวงวา่ ดว้ ยการแบง่ ระดบั และประเภทของการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พ.ศ. ๒๕๔๖ สถานศึกษาขั้นพ้ืนฐานในสังกัดส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน จึงต้อง ด�ำเนินการให้มีคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน เพื่อให้การด�ำเนินกิจการของสถานศึกษา เป็นไปตามท่ีกฎหมายก�ำหนด โดยกฎกระทรวงก�ำหนดจ�ำนวนกรรมการ คุณสมบัติ หลักเกณฑ ์ วิธีการสรรหา การเลือกประธานกรรมการและกรรมการ วาระการด�ำรงต�ำแหน่งและการพ้นจาก ต�ำแหนง่ ของคณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๔๖ ไดก้ �ำหนดองคป์ ระกอบ จำ� นวน คุณสมบตั ิ และวิธีการสรรหาคณะกรรมการสถานศึกษาขัน้ พนื้ ฐานไว้ ดงั น้ี องคป์ ระกอบและจำ� นวนของคณะกรรมการสถานศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน กฎกระทรวงฯ แบง่ สถานศกึ ษาออกเป็น ๒ ประเภท ๑. กรณีสถานศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐานท่วั ไป๓ แบง่ เป็น ๑.๑ สถานศึกษาขนาดเล็ก จ�ำนวนนักเรียนไม่เกิน ๓๐๐ คน๔ ให้มีคณะกรรมการ จำ� นวน ๙ คน (ดังแผนภูมิ ๒) ประกอบด้วย ๒ มาตรา ๔ แหง่ พระราชบัญญตั ิการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และทแี่ กไ้ ขเพิม่ เตมิ ๓ ข้อ ๒ กฎกระทรวงก�ำหนดจ�ำนวนกรรมการ คุณสมบัติ หลักเกณฑ์ วิธีการสรรหา การเลือกประธานกรรมการและ กรรมการ วาระการด�ำรงต�ำแหน่ง และการพน้ จากต�ำแหนง่ ของคณะกรรมการสถานศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน พ.ศ. ๒๕๔๖ ๔ ขอ้ ๑ วรรค ๔ กฎกระทรวงกำ� หนดจำ� นวนกรรมการ คุณสมบตั ิ หลักเกณฑ์ วธิ ีการสรรหา การเลือกประธานกรรมการ และกรรมการ วาระการด�ำรงต�ำแหน่ง และการพ้นจากตำ� แหน่งของคณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน พ.ศ. ๒๕๔๖ 5

๑.๑.๑ ประธานกรรมการ จ�ำนวน ๑ คน ๑.๑.๒ กรรมการทีเ่ ป็นผแู้ ทนผูป้ กครอง จ�ำนวน ๑ คน ๑.๑.๓ กรรมการท่ีเปน็ ผู้แทนครู จ�ำนวน ๑ คน ๑.๑.๔ กรรมการทเ่ี ป็นผแู้ ทนองคก์ รชุมชน จำ� นวน ๑ คน ๑.๑.๕ กรรมการทเ่ี ป็นผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน จ�ำนวน ๑ คน ๑.๑.๖ กรรมการที่เปน็ ผูแ้ ทนศิษย์เกา่ จ�ำนวน ๑ คน ๑.๑.๗ กรรมการทเ่ี ปน็ ผแู้ ทนพระภกิ ษสุ งฆแ์ ละหรอื ผแู้ ทนองคก์ รศาสนาในพนื้ ท่ี จ�ำนวน ๑ รปู หรอื ๑ คน ๑.๑.๘ กรรมการผ้ทู รงคุณวฒุ ิ จ�ำนวน ๑ คน ๑.๑.๙ ผ้อู ำ� นวยการสถานศึกษา เป็นกรรมการและเลขานุการ ๑.๒ สถานศึกษาขนาดใหญ่ จ�ำนวนนักเรียนเกินกว่า ๓๐๐๕ คนขึ้นไป ให้มีคณะกรรมการ จ�ำนวน ๑๕ คน (ดงั แผนภมู ิ ๓) ประกอบด้วย ๑.๒.๑ ประธานกรรมการ จ�ำนวน ๑ คน ๑.๒.๒ กรรมการที่เป็นผู้แทนผ้ปู กครอง จ�ำนวน ๑ คน ๑.๒.๓ กรรมการที่เป็นผแู้ ทนครู จำ� นวน ๑ คน ๑.๒.๔ กรรมการท่เี ปน็ ผแู้ ทนองค์กรชมุ ชน จำ� นวน ๑ คน ๑.๒.๕ กรรมการทเ่ี ปน็ ผูแ้ ทนองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ จ�ำนวน ๑ คน ๑.๒.๖ กรรมการทเ่ี ป็นผู้แทนศิษยเ์ ก่า จ�ำนวน ๑ คน ๑.๒.๗ กรรมการทเี่ ปน็ ผแู้ ทนพระภกิ ษสุ งฆแ์ ละหรอื ผแู้ ทนองคก์ รศาสนาในพน้ื ที่ กรณที เ่ี ปน็ พระภกิ ษุสงฆ์ จำ� นวน ๒ รปู หรือ กรณที เี่ ปน็ ผแู้ ทนองคก์ รศาสนา จำ� นวน ๒ คน หรอื กรณีท่เี ป็นพระภกิ ษุสงฆก์ บั ผแู้ ทนองคก์ รศาสนา จ�ำนวน ๑ รูป กับ ๑ คน ๑.๒.๘ กรรมการผูท้ รงคณุ วุฒิ จ�ำนวน ๖ คน ๑.๒.๙ ผูอ้ �ำนวยการสถานศึกษา เป็นกรรมการและเลขานกุ าร ๒. กรณีสถานศึกษารูปแบบโรงเรียนร่วมพัฒนา ให้มีคณะกรรมการสถานศึกษา จ�ำนวน ๑๕ คน๖ (ดงั แผนภมู ิ ๔) ประกอบด้วย ๒.๑ ประธานกรรมการ จ�ำนวน ๑ คน ๒.๒ กรรมการทีเ่ ป็นผู้แทนผปู้ กครอง จำ� นวน ๑ คน ๒.๓ กรรมการทเี่ ปน็ ผแู้ ทนครู จ�ำนวน ๑ คน ๒.๔ กรรมการท่เี ปน็ ผแู้ ทนองคก์ รชมุ ชน จำ� นวน ๑ คน ๒.๕ กรรมการที่เป็นผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จ�ำนวน ๑ คน ๒.๖ กรรมการที่เป็นผู้แทนศษิ ย์เกา่ จำ� นวน ๑ คน ๒.๗ กรรมการท่ีเป็นผู้แทนพระภิกษุสงฆ์และหรือผู้แทนองค์กรศาสนาในพื้นท่ี ซึง่ สถานศึกษาต้งั อยู่ จ�ำนวน ๑ รปู หรือ ๑ คน ๒.๘ กรรมการผูท้ รงคณุ วุฒิ จำ� นวน ๗ คน ๒.๙ ผ้อู ำ� นวยการสถานศกึ ษา เปน็ กรรมการและเลขานุการ ๕ ขอ้ ๑ วรรค ๕ กฎกระทรวงก�ำหนดจ�ำนวนกรรมการ คณุ สมบตั ิ หลักเกณฑ์ วิธีการสรรหา การเลอื กประธานกรรมการ และกรรมการ วาระการด�ำรงตำ� แหนง่ และการพ้นจากต�ำแหน่งของคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๔๖ ๖ ระเบียบคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ว่าด้วยการก�ำหนดองค์ประกอบ หลักเกณฑ์ วิธีการสรรหา และจ�ำนวน กรรมการสถานศึกษา ส�ำหรับสถานศกึ ษารปู แบบโรงเรยี นรว่ มพฒั นา พ.ศ. ๒๕๖๑ 6

สถานศึกษาข้นั พื้นฐานทว่ั ไปขนาดเล็ก (จานวนนกั เรยี นไม่เกิน 300 คน) องค์ประกอบของคณะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน สถานศกึ ษาข้ันพ้ืนฐานทว่ั ไปขนาดเลก็ จานวน 9 คน ประธานกรรมการ ผอู้ านวยการสถานศกึ ษา กรรมการและเลขานกุ าร กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ ผแู้ ทนผ้ปู กครอง ผูแ้ ทนครู ผู้แทนองค์กรชุมชน ผู้แทนองคก์ รปกครองส่วนท้องถ่นิ ผ้แู ทนศิษย์เก่า ผู้แทนพระภกิ ษุ และหรอื ผูท้ รงคณุ วุฒิ 1 คน 1 คน 1 คน 1 คน 1 คน ผูแ้ ทนศาสนา 1 คน 1 รูป/คน แผนภมู ิ 2 องคป์ ระกอบของคณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐานสถานศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐานทั่วไปขนาดเล็ก จานวน 9 คน แผนภมู ิ ๒ องค์ประกอบของคณะกรรมการสถานศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน สถานศึกษาขัน้ พ้ืนฐานทัว่ ไปขนาดเลก็ จ�ำนวน ๙ คน 7

8 สถานศึกษาขัน้ พน้ื ฐานทวั่ ไปขนาดใหญ่ (จานวนนักเรยี นเกนิ กวา่ 300 คนขึน้ ไป) องคป์ ระกอบของคณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน สถานศกึ ษาขั้นพื้นฐานทว่ั ไปขนาดใหญ่ จานวน 15 คน ประธานกรรมการ ผู้อานวยการสถานศกึ ษา กรรมการและเลขานุการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ ผูแ้ ทนผปู้ กครอง ผู้แทนครู ผแู้ ทนองค์กรชุมชน ผแู้ ทนองคก์ รปกครองสว่ นท้องถิน่ ผู้แทนศิษย์เก่า ผแู้ ทนพระภิกษุ และหรอื ผู้ทรงคุณวุฒิ 1 คน 1 คน 1 คน 1 คน 1 คน ผูแ้ ทนศาสนา 6 คน 2 รูป/คน หรือ 1 รูป กบั 1 คน แผนภูมิ 3 องค์ประกอบของคณะกรรมการสถานศึกษาข้นั พื้นฐาน สถานศกึ ษาข้นั พน้ื ฐานทวั่ ไปขนาดใหญ่ จานวน 15 คน แผนภูมิ ๓ องค์ประกอบของคณะกรรมการสถานศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน สถานศึกษาขัน้ พน้ื ฐานทวั่ ไปขนาดใหญ่ จำ� นวน ๑๕ คน

สถานศึกษารูปแบบโรงเรียนร่วมพฒั นา องค์ประกอบของคณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน สถานศกึ ษารปู แบบโรงเรยี นร่วมพัฒนา จานวน 15 คน ประธานกรรมการ ผู้อานวยการสถานศึกษา กรรมการและเลขานกุ าร กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ ผูแ้ ทนผู้ปกครอง ผู้แทนครู ผูแ้ ทนองค์กรชุมชน ผแู้ ทนองค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ ผู้แทนศิษยเ์ ก่า ผแู้ ทนพระภกิ ษุ และหรอื ผู้ทรงคุณวุฒิ 1 คน 1 คน 1 คน 1 คน 1 คน ผแู้ ทนศาสนา 7 คน 1 รูป/คน แผนภูมิ 4 องค์ประกอบของคณะกรรมการสถานศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน สถานศกึ ษารูปแบบโรงเรียนร่วมพัฒนา จานวน 15 คน แผนภมู ิ ๔ องคป์ ระกอบของคณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน สถานศกึ ษารปู แบบโรงเรียนรว่ มพัฒนา จำ� นวน ๑๕ คน 9

คณุ สมบตั ิของคณะกรรมการสถานศึกษาข้นั พ้ืนฐาน คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานของสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐานทั่วไปและสถานศึกษา รปู แบบโรงเรยี นรว่ มพฒั นา ต้องมีคณุ สมบัติและไม่มีลักษณะตอ้ งห้าม ดังน้ี ๑. คณุ สมบัตทิ ั่วไป๗ ๑.๑ มอี ายุไม่ต่�ำกว่า ๒๐ ปีบริบรู ณ์ ๑.๒ ไม่เป็นบคุ คลลม้ ละลาย ๑.๓ ไมเ่ ปน็ คนไรค้ วามสามารถหรอื คนเสมอื นไร้ความสามารถ ๑.๔ ไม่เคยได้รับโทษจ�ำคุกโดยค�ำพิพากษาถึงท่ีสุดให้จ�ำคุก เว้นแต่เป็นโทษส�ำหรับ ความผิดที่ได้กระท�ำโดยประมาทหรือความผดิ ลหุโทษ ๑.๕ ไม่เป็นคู่สัญญากับส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาหรือสถานศึกษาในเขตพื้นท ่ี การศึกษานน้ั หากผไู้ ดร้ บั แตง่ ตง้ั เปน็ ประธานกรรมการหรอื กรรมการผใู้ ดมลี กั ษณะตอ้ งหา้ มตามขอ้ ๑.๕ ต้องออกจากการเป็นบุคคลซึ่งมีลักษณะต้องห้ามหรือแสดงหลักฐานให้เป็นที่เชื่อได้ว่าตนได้เลิก ประกอบกจิ การหรอื การใดๆ อนั มลี กั ษณะตอ้ งหา้ มดงั กลา่ วแลว้ ตอ่ ผอู้ ำ� นวยการสถานศกึ ษาแตล่ ะแหง่ ภายในสบิ หา้ วันนับแตว่ ันได้รบั แตง่ ต้งั หากมไิ ดด้ ำ� เนนิ การดังกลา่ วใหถ้ ือวา่ ผนู้ นั้ ไมเ่ คยได้รับแตง่ ตง้ั เปน็ ประธานกรรมการหรือกรรมการ ๒. คณุ สมบตั เิ ฉพาะ ประธานกรรมการและกรรมการ นอกจากคุณสมบัติทั่วไปตามข้อ ๑ แล้ว กฎหมาย กำ� หนดใหป้ ระธานกรรมการและกรรมการบางประเภทจะตอ้ งมคี ุณสมบัตเิ ฉพาะ ดังตอ่ ไปนี้ ๒.๑ กรรมการทเี่ ปน็ ผู้แทนผูป้ กครอง๘ ๒.๑.๑ ตอ้ งเปน็ ผปู้ กครองตามทะเบยี นนกั เรยี นทก่ี ำ� ลงั ศกึ ษาอยใู่ นสถานศกึ ษานนั้ ๒.๑.๒ ไม่เป็นครู เจ้าหน้าที่ หรือลูกจ้างของสถานศึกษา หรือที่ปรึกษา หรอื ผเู้ ชี่ยวชาญซงึ่ มีสญั ญาจ้างกับสถานศกึ ษานั้น ๒.๒ กรรมการทเ่ี ป็นผ้แู ทนคร๙ู ต้องเป็นครูที่เป็นบุคลากรวิชาชีพ ซ่ึงท�ำหน้าท่ีหลักด้านการเรียนการสอนและ การส่งเสริมการเรียนรูข้ องผู้เรียนดว้ ยวิธตี ่างๆ ในสถานศกึ ษาของรฐั ๗ ข้อ ๓ กฎกระทรวงก�ำหนดจ�ำนวนกรรมการ คุณสมบัติ หลักเกณฑ์ วิธีการสรรหา การเลือกประธานกรรมการและ กรรมการ วาระการด�ำรงตำ� แหนง่ และการพ้นจากต�ำแหนง่ ของคณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พ.ศ. ๒๕๔๖ ๘ ขอ้ ๔(๑) กฎกระทรวงก�ำหนดจ�ำนวนกรรมการ คุณสมบตั ิ หลกั เกณฑ์ วธิ กี ารสรรหา การเลือกประธานกรรมการและ กรรมการ วาระการดำ� รงต�ำแหนง่ และการพน้ จากต�ำแหนง่ ของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พ.ศ. ๒๕๔๖ ๙ ขอ้ ๔(๒) กฎกระทรวงกำ� หนดจำ� นวนกรรมการ คุณสมบัติ หลักเกณฑ์ วิธีการสรรหา การเลือกประธานกรรมการและ กรรมการ วาระการด�ำรงต�ำแหน่ง และการพ้นจากตำ� แหนง่ ของคณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๔๖ 10

๒.๓ กรรมการท่เี ป็นผูแ้ ทนองค์กรชมุ ชน๑๐ ไม่เปน็ ครู เจา้ หน้าท่ี หรือลูกจา้ งของสถานศึกษา หรอื ที่ปรึกษา หรอื ผเู้ ชีย่ วชาญ ซ่งึ มีสญั ญาจา้ งกับสถานศกึ ษาน้ัน ๒.๔ กรรมการทีเ่ ป็นผูแ้ ทนศษิ ย์เกา่ ๑๑ ๒.๔.๑ ต้องเปน็ ผทู้ เ่ี คยศกึ ษาหรือสำ� เรจ็ การศึกษาจากสถานศกึ ษานนั้ ๒.๔.๒ ไม่เป็นครู เจ้าหน้าที่ หรือลูกจ้างของสถานศึกษา หรือท่ีปรึกษา หรอื ผู้เชี่ยวชาญซง่ึ มีสัญญาจา้ งกบั สถานศกึ ษานั้น ๒.๕ กรรมการผ้ทู รงคุณวฒุ ๑ิ ๒ ๒.๕.๑ ไม่เป็นกรรมการสถานศกึ ษาในเขตพื้นท่กี ารศกึ ษาเกนิ กวา่ ๓ แหง่ ขึ้นไป ในเวลาเดียวกนั ๒.๕.๒ ไม่เป็นครู เจ้าหน้าท่ี หรือลูกจ้างของสถานศึกษา หรือที่ปรึกษา หรือผู้เชีย่ วชาญซ่งึ มีสญั ญาจ้างกับสถานศกึ ษาน้นั วธิ ีการสรรหาและเลอื กคณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน เมอื่ คณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐานพน้ จากตำ� แหนง่ ตามวาระ พน้ จากตำ� แหนง่ เพราะ เหตุอ่ืน หรือสถานศึกษาท่ีจัดตั้งใหม่และยังไม่มีคณะกรรมการสถานศึกษา ให้ด�ำเนินการสรรหา ตามระยะเวลา ดังนี้ ๑. ในกรณีสถานศึกษาที่จัดตั้งใหม่ให้ด�ำเนินการสรรหาและเลือกประธานกรรมการและ กรรมการ ให้แล้วเสรจ็ ภายใน ๙๐ วัน นับแตว่ ันท่ีมีประกาศจดั ตัง้ สถานศึกษา๑๓ ๒. ในกรณที ปี่ ระธานกรรมการหรอื กรรมการพน้ จากตำ� แหนง่ กอ่ นครบวาระ ใหด้ ำ� เนนิ การ สรรหา เลือก และแต่งตั้งประธานกรรมการหรือกรรมการแทนภายใน ๙๐ วัน เว้นแต่วาระของ กรรมการเหลอื อยไู่ มถ่ งึ ๑๘๐ วนั จะไมด่ ำ� เนนิ การกไ็ ด้ และใหผ้ ซู้ งึ่ ไดร้ บั การแตง่ ตง้ั ใหด้ ำ� รงตำ� แหนง่ แทนอยูใ่ นตำ� แหนง่ เท่ากบั วาระท่ีเหลืออย่ขู องผู้ท่ีตนแทน ๓. ในกรณที ป่ี ระธานกรรมการและกรรมการพน้ จากตำ� แหนง่ ตามวาระใหด้ ำ� เนนิ การสรรหา และเลือกกรรมการชุดใหมภ่ ายใน ๙๐ วนั ก่อนวันครบวาระ และให้ผ้ซู ึ่งพ้นจากตำ� แหน่งตามวาระ ปฏบิ ัติหน้าทต่ี อ่ ไปจนกว่าประธานกรรมการและกรรมการซึ่งแต่งตัง้ ใหม่เขา้ มารบั หนา้ ท่ี ๑๐ ขอ้ ๔(๓) กฎกระทรวงก�ำหนดจ�ำนวนกรรมการ คุณสมบัติ หลกั เกณฑ์ วธิ กี ารสรรหา การเลอื กประธานกรรมการและ กรรมการ วาระการดำ� รงต�ำแหนง่ และการพน้ จากต�ำแหนง่ ของคณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๔๖ ๑๑ ข้อ ๔(๔) กฎกระทรวงกำ� หนดจ�ำนวนกรรมการ คณุ สมบตั ิ หลักเกณฑ์ วิธกี ารสรรหา การเลือกประธานกรรมการและ กรรมการ วาระการดำ� รงตำ� แหนง่ และการพ้นจากต�ำแหน่งของคณะกรรมการสถานศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พ.ศ. ๒๕๔๖ ๑๒ ขอ้ ๔(๕) กฎกระทรวงกำ� หนดจำ� นวนกรรมการ คุณสมบัติ หลกั เกณฑ์ วิธีการสรรหา การเลอื กประธานกรรมการและ กรรมการ วาระการด�ำรงตำ� แหน่ง และการพ้นจากต�ำแหน่งของคณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน พ.ศ. ๒๕๔๖ ๑๓ ขอ้ ๑๐ กฎกระทรวงกำ� หนดจ�ำนวนกรรมการ คุณสมบัติ หลักเกณฑ์ วิธกี ารสรรหา การเลอื กประธานกรรมการและ กรรมการ วาระการด�ำรงต�ำแหนง่ และการพ้นจากตำ� แหนง่ ของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พ.ศ. ๒๕๔๖ 11

๑. กรณีสถานศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐานทัว่ ไป ผอู้ �ำนวยการสถานศึกษาดำ� เนินการสรรหาคณะกรรมการแต่ละประเภทตามแนวทาง ดังนี้ ๑.๑ กรรมการท่ีเป็นผู้แทนผูป้ กครอง ๑.๑.๑ ผู้อ�ำนวยการสถานศึกษาด�ำเนินการให้ผู้ปกครองเสนอชื่อผู้ปกครอง นกั เรียนท่ีเหน็ สมควรเป็นกรรมการ ซง่ึ เปน็ บคุ คลท่มี คี ณุ สมบัตทิ ่วั ไปและคุณสมบตั ิเฉพาะครบถ้วน ๑.๑.๒ กรณีมีการเสนอช่ือมากกว่า ๑ คน ให้ผู้อ�ำนวยการสถานศึกษาจัดให ้ ผู้ได้รับการเสนอช่อื เลือกกันเองให้เหลือ ๑ คน ๑.๒ กรรมการที่เปน็ ผู้แทนครู ๑.๒.๑ ผู้อ�ำนวยการสถานศึกษาด�ำเนินการให้ครูในสถานศึกษาเสนอชื่อครู ทเ่ี หน็ สมควรเปน็ กรรมการ ซง่ึ เป็นบุคคลทมี่ คี ุณสมบตั ทิ ว่ั ไปและคุณสมบตั เิ ฉพาะครบถ้วน ๑.๒.๒ กรณีมผี ทู้ ี่ได้รบั การเสนอช่อื มากกวา่ ๑ คน ใหผ้ ู้อ�ำนวยการสถานศึกษา จดั ให้ผู้ไดร้ ับการเสนอช่อื เลือกกนั เองใหเ้ หลอื ๑ คน ๑.๓ กรรมการทีเ่ ป็นศษิ ย์เก่า ๑.๓.๑ ผู้อ�ำนวยการสถานศึกษาด�ำเนินการให้ศิษย์เก่าเสนอชื่อศิษย์เก่า ทีเ่ หน็ สมควรเปน็ กรรมการ ซ่งึ เป็นบคุ คลทมี่ คี ณุ สมบัตทิ ว่ั ไปและคุณสมบัติเฉพาะครบถ้วน ๑.๓.๒ กรณมี ผี ทู้ ี่ได้รับการเสนอชอ่ื มากกวา่ ๑ คน ให้ผอู้ �ำนวยการสถานศึกษา จดั ให้ผู้ไดร้ ับการเสนอชื่อเลอื กกันเองใหเ้ หลือ ๑ คน ๑.๔ กรรมการท่เี ปน็ ผ้แู ทนองค์กรชุมชน ๑.๔.๑ ผู้อ�ำนวยการสถานศึกษาด�ำเนินการให้ชุมชนหรือองค์กรที่มีประชาชน รวมตัวกัน ไม่นอ้ ยกว่า ๑๕ คน เพื่อดำ� เนนิ กิจกรรมทเ่ี ป็นประโยชนต์ อ่ สังคมและชมุ ชนโดยส่วนรวม อย่างต่อเน่ืองเป็นระยะเวลาไม่น้อยกว่า ๑ ปี มีผลงานท่ีหน่วยงานที่เกี่ยวข้องหรือส�ำนักงาน เขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษารบั รอง และมที ตี่ ง้ั แนน่ อนอยใู่ นทอ้ งทต่ี ำ� บล หรอื แขวงทเ่ี ปน็ ภมู ลิ ำ� เนาของนกั เรยี น ในสถานศึกษาหรือท้องที่ต�ำบลหรือแขวงท่ีสถานศึกษาตั้งอยู่เสนอชื่อผู้ท่ีเห็นสมควรเป็นกรรมการ ซึง่ เปน็ บุคคลทีม่ คี ณุ สมบัตทิ ่ัวไปและคุณสมบัติเฉพาะครบถว้ น ในกรณีไม่มีองค์กรชุมชนในท้องท่ีต�ำบลหรือแขวงท่ีเป็นภูมิล�ำเนาของนักเรียน ในสถานศึกษาหรือต�ำบลหรือแขวงที่สถานศึกษาตั้งอยู่ หรือมีแต่ไม่เสนอช่ือผู้แทนเข้ารับเลือก เป็นกรรมการให้ผู้อ�ำนวยการสถานศึกษาสรรหาผู้แทนองค์กรชุมชนในท้องท่ีต�ำบล หรือแขวง ใกลเ้ คยี ง หรอื ในทอ้ งทต่ี ำ� บล หรอื แขวงของเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาใกลเ้ คยี งเปน็ กรรมการผแู้ ทนองคก์ ร ชมุ ชนในสถานศึกษานน้ั ๑.๔.๒ กรณมี ผี ้ทู ีไ่ ด้รับการเสนอชื่อมากกว่า ๑ คน ใหผ้ อู้ ำ� นวยการสถานศกึ ษา จดั ใหผ้ ู้ได้รบั การเสนอช่อื เลอื กกนั เองใหเ้ หลือ ๑ คน 12

๑.๕ กรรมการทเ่ี ป็นผแู้ ทนองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น ผอู้ ำ� นวยการสถานศกึ ษาดำ� เนนิ การใหส้ ภาขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ ไดแ้ ก่ องค์การบริหารสว่ นจงั หวดั เทศบาล องค์การบรหิ ารส่วนตำ� บล กรงุ เทพมหานคร เมอื งพทั ยา และ องค์กรปกครองส่วนท้องถนิ่ อนื่ ที่ไดร้ บั การจัดตัง้ ตามกฎหมายเสนอชือ่ ผูท้ เ่ี ห็นสมควรเป็นกรรมการ ซึ่งเป็นบคุ คลทมี่ คี ุณสมบัตทิ ั่วไปครบถว้ น จำ� นวน ๑ คน ๑.๖ กรรมการทเ่ี ปน็ ผ้แู ทนพระภิกษุสงฆ์และหรือผู้แทนองคก์ รศาสนาในพน้ื ที่ ให้ผู้อ�ำนวยการสถานศึกษาด�ำเนินการสรรหาผู้แทนพระภิกษุสงฆ์และหรือ ผู้แทนองคก์ รศาสนาในพืน้ ท่ี ดังน้ี ๑.๖.๑ สถานศึกษาขนาดเล็ก พระภิกษุสงฆ์ จ�ำนวน ๑ รูป หรือ ผแู้ ทนองค์กร ศาสนา จ�ำนวน ๑ คน ๑.๖.๒ สถานศึกษาขนาดใหญ่ กรณีท่ีเป็นพระภิกษุสงฆ์ จ�ำนวน ๒ รูป หรือ กรณที ่ีเปน็ ผแู้ ทนองคก์ รศาสนา จำ� นวน ๒ คน หรอื กรณีทีเ่ ปน็ พระภกิ ษุสงฆ์ จำ� นวน ๑ รปู กับ ผแู้ ทนองค์กรศาสนา จ�ำนวน ๑ คน ท้ังนี้ให้เป็นไปตามประกาศการสรรหาและเลือกคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพนื้ ฐานของสถานศึกษา ๑.๗ กรรมการผูท้ รงคุณวฒุ ิ ผอู้ ำ� นวยการสถานศึกษาดำ� เนนิ การใหผ้ ้ไู ด้รบั การสรรหา ซงึ่ ประกอบดว้ ยผแู้ ทน ผู้ปกครอง ผู้แทนครู ผูแ้ ทนศษิ ย์เกา่ ผู้แทนองค์กรชมุ ชน ผู้แทนองค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น ผู้แทน พระภิกษุสงฆ์และหรือผู้แทนองค์กรศาสนาในพ้ืนท่ี และผู้อ�ำนวยการสถานศึกษา ด�ำเนินการโดย พจิ ารณารว่ มกนั สรรหาและคดั เลอื กกรรมการผทู้ รงคณุ วฒุ ิ จำ� นวน ๒ คน สำ� หรบั สถานศกึ ษาขนาดเลก็ และจ�ำนวน ๗ คน ส�ำหรับสถานศกึ ษาขนาดใหญ่ ๑.๘ ประธานกรรมการ ผอู้ ำ� นวยการสถานศกึ ษาดำ� เนนิ การใหผ้ ไู้ ดร้ บั การคดั เลอื กเปน็ กรรมการ ประกอบดว้ ย ผแู้ ทนผู้ปกครอง ผู้แทนครู ผแู้ ทนศิษย์เก่า ผู้แทนองค์กรชมุ ชน ผ้แู ทนองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ผแู้ ทนพระภกิ ษสุ งฆแ์ ละหรอื ผแู้ ทนองคก์ รศาสนาในพนื้ ที่ ผทู้ รงคณุ วฒุ ิ และผอู้ ำ� นวยการสถานศกึ ษา รว่ มกนั คดั เลือกประธานกรรมการจากผทู้ ่ีได้รับการคัดเลือกเป็นกรรมการผูท้ รงคุณวฒุ ิ เมอื่ ดำ� เนนิ การสรรหาและเลอื กคณะกรรมการแตล่ ะประเภทเสรจ็ สน้ิ แลว้ ใหผ้ อู้ ำ� นวยการ สถานศึกษาตรวจสอบคณุ สมบัติผู้ไดร้ ับเลอื ก โดยพิจารณาจากเอกสาร ดงั นี้ ๑. เอกสารท่แี สดงคุณสมบตั ทิ ่ัวไป ได้แก่ ส�ำเนาบัตรประจำ� ตวั ประชาชน หรือสำ� เนา บตั รประจำ� ตวั ขา้ ราชการหรอื สำ� เนาบตั รประจำ� ตวั ทท่ี างราชการออกใหข้ องผไู้ ดร้ บั เลอื ก หรอื เอกสาร อื่นๆ ทเ่ี กี่ยวขอ้ ง 13

๒. เอกสารที่แสดงคุณสมบัติเฉพาะ ได้แก่ มติการประชุม หรือค�ำสั่ง หรือหลักฐาน ท่แี สดงคุณสมบตั เิ ฉพาะของผทู้ ไี่ ด้รับการรับเลือกเปน็ กรรมการในแต่ละประเภท เปน็ ตน้ ๓. ผู้อ�ำนวยการสถานศึกษาเสนอรายชื่อผู้ได้รับการสรรหาและได้รับเลือก เปน็ คณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานตอ่ ผอู้ ำ� นวยการสำ� นกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาเพอื่ พจิ ารณา แต่งตง้ั เป็นประธานกรรมการและกรรมการ ๒. กรณสี ถานศกึ ษารปู แบบโรงเรยี นรว่ มพฒั นา ผู้อ�ำนวยการสถานศึกษาดำ� เนนิ การสรรหาคณะกรรมการแต่ละประเภทตามแนวทาง ดังน้ี ๒.๑ กรรมการท่เี ป็นผแู้ ทนผปู้ กครอง ๒.๑.๑ ให้ผู้ปกครองนักเรียนเสนอชื่อผู้ปกครองที่เห็นสมควรเป็นกรรมการ ซ่ึงเป็นบุคคลที่มคี ุณสมบตั ทิ ่วั ไปและคุณสมบัตเิ ฉพาะครบถ้วน ๒.๒.๒ กรณมี ผี ทู้ ี่ได้รับการเสนอชอ่ื มากกวา่ ๑ คน ใหผ้ อู้ �ำนวยการสถานศกึ ษา จดั ให้ผ้ไู ดร้ บั การเสนอชอ่ื เลือกกันเองให้เหลอื ๑ คน ๒.๒ กรรมการทเ่ี ป็นผแู้ ทนครู ๒.๒.๑ ให้ครูในสถานศึกษาเสนอชื่อครูในสถานศึกษาท่ีมีคุณสมบัติท่ัวไปและ คุณสมบัตเิ ฉพาะครบถว้ น ๒.๒.๒ กรณีมีผูท้ ่ีไดร้ บั การเสนอชอ่ื มากกว่า ๑ คน ให้ผอู้ ำ� นวยการสถานศึกษา จัดใหผ้ ู้ไดร้ บั การเสนอชือ่ เลือกกนั เองให้เหลอื ๑ คน ๒.๓ กรรมการท่ีเปน็ ศษิ ย์เก่า ๒.๓.๑ ให้ศิษย์เก่าเสนอชื่อศิษย์เก่าที่มีคุณสมบัติทั่วไปและคุณสมบัติเฉพาะ ครบถ้วน ๒.๓.๒ กรณีมผี ู้ที่ไดร้ บั การเสนอชอื่ มากกว่า ๑ คน ใหผ้ ู้อำ� นวยการสถานศกึ ษา จดั ให้ผู้ได้รบั การเสนอชอื่ เลือกกันเองให้เหลอื ๑ คน ๒.๔ กรรมการท่ีเปน็ ผู้แทนองคก์ รชมุ ชน ๒.๔.๑ ให้ชุมชนหรือองค์กรท่ีมีประชาชนรวมตัวกันไม่น้อยกว่า ๑๕ คน เพอ่ื ดำ� เนนิ กจิ กรรมทเี่ ปน็ ประโยชนต์ อ่ สงั คมและชมุ ชนโดยสว่ นรวมอยา่ งตอ่ เนอื่ งเปน็ ระยะเวลาไมน่ อ้ ย กวา่ ๑ ปี มผี ลงานทหี่ นว่ ยงานทเี่ กยี่ วขอ้ งหรอื สำ� นกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษารบั รอง และมที ต่ี งั้ แนน่ อน อยู่ในท้องที่ต�ำบลหรือแขวงท่ีเป็นภูมิล�ำเนาของนักเรียนในสถานศึกษาหรือท้องท่ีต�ำบลหรือแขวง ท่ีสถานศึกษาต้ังอยู่เสนอช่ือผู้ท่ีเห็นสมควรเป็นกรรมการซ่ึงเป็นบุคคลท่ีมีคุณสมบัติท่ัวไปแ ล ะ คณุ สมบตั เิ ฉพาะครบถว้ น ในกรณีไม่มีองค์กรชุมชนในท้องที่ต�ำบลหรือแขวงที่เป็นภูมิล�ำเนาของนักเรียน ในสถานศึกษาหรือต�ำบลหรือแขวงที่สถานศึกษาต้ังอยู่ หรือมีแต่ไม่เสนอช่ือผู้แทนเข้ารับเลือก เป็นกรรมการ ให้ผู้อ�ำนวยการสถานศึกษาสรรหาผู้แทนองค์กรชุมชนในท้องที่ต�ำบลหรือแขวง 14

ใกล้เคียงหรือในท้องที่ต�ำบลหรือแขวงของเขตพื้นท่ีการศึกษาใกล้เคียงเป็นกรรมการผู้แทน องคก์ รชุมชนในสถานศกึ ษานั้น ๒.๔.๒ กรณีมีผสู้ มคั รหรือผทู้ ไ่ี ดร้ บั การเสนอชื่อมากกว่า ๑ คน ให้ผู้อ�ำนวยการ สถานศึกษาจัดให้ผ้สู มัครหรือผูไ้ ด้รบั การเสนอช่อื เลือกกันเองให้เหลอื ๑ คน ๒.๕ กรรมการที่เป็นผู้แทนองค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ ใหส้ ภาขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ ไดแ้ ก่ องคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวดั เทศบาล องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำ� บล กรงุ เทพมหานคร เมอื งพทั ยา และองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ อนื่ ทไ่ี ดร้ บั การจดั ตงั้ ตามกฎหมายเสนอชอ่ื ผทู้ เี่ หน็ สมควรเปน็ กรรมการ ซงึ่ เปน็ บคุ คลทม่ี คี ณุ สมบตั ทิ ว่ั ไปครบถว้ น จ�ำนวน ๑ คน ๒.๖ กรรมการทเ่ี ป็นผ้แู ทนพระภิกษุสงฆ์และหรอื ผแู้ ทนองคก์ รศาสนาในพน้ื ท๑ี่ ๔ ให้ผู้อ�ำนวยการสถานศึกษาด�ำเนินการให้มีการสรรหา เพ่ือให้ได้มาซึ่งผู้แทน พระภิกษสุ งฆ์และหรือผแู้ ทนองค์กรศาสนาในพืน้ ที่ ๑ รูป หรอื ๑ คน ๒.๗ กรรมการผูท้ รงคุณวฒุ ๑ิ ๕ ใหผ้ สู้ นบั สนนุ ๑๖รว่ มกนั คัดเลอื กกรรมการผทู้ รงคุณวฒุ จิ ำ� นวน ๘ คน จากบคุ คล ผ้มู ีคณุ สมบัตทิ ั่วไปและคณุ สมบตั เิ ฉพาะ ๒.๘ ประธานกรรมการ ให้ผู้ได้รับการคัดเลือกเป็นกรรมการ ประกอบด้วย ผู้แทนผู้ปกครอง ผู้แทนครู ผแู้ ทนศษิ ยเ์ กา่ ผแู้ ทนองคก์ รชมุ ชน ผแู้ ทนองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ ผแู้ ทนพระภกิ ษสุ งฆแ์ ละหรอื ผูแ้ ทนองคก์ รศาสนาในพ้นื ท่ี ผู้ทรงคุณวฒุ ิ และผูอ้ ำ� นวยการสถานศึกษา รว่ มกันคัดเลอื กประธาน กรรมการจากผทู้ ไ่ี ดร้ บั การคดั เลอื กเป็นกรรมการผู้ทรงคณุ วฒุ ิ เม่ือด�ำเนินการสรรหาและเลือกประธานกรรมการและกรรมการแต่ละประเภท เสรจ็ สิ้นแลว้ ใหผ้ ู้อ�ำนวยการสถานศกึ ษาตรวจสอบคุณสมบตั ผิ ูไ้ ด้รับการรับเลอื ก โดยพจิ ารณาจาก เอกสาร ดงั นี้ ๑. เอกสารทแ่ี สดงคุณสมบตั ทิ ว่ั ไป ได้แก่ สำ� เนาบัตรประจ�ำตวั ประชาชน หรอื ส�ำเนา บัตรประจ�ำตัวข้าราชการ หรือส�ำเนาบัตรประจ�ำตัวท่ีทางราชการออกให้ของผู้สมัครหรือผู้ได้รับ การเสนอชื่อ ๑๔ ขอ้ ๔(๗) ระเบยี บคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน ว่าดว้ ยการก�ำหนดองคป์ ระกอบ หลกั เกณฑ์ วิธีการสรรหา และ จำ� นวนกรรมการสถานศกึ ษาสำ� หรับสถานศกึ ษารปู แบบโรงเรยี นร่วมพฒั นา พ.ศ. ๒๕๖๑ ๑๕ ขอ้ ๕(๔) ระเบยี บคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน ว่าด้วยการกำ� หนดองค์ประกอบ หลกั เกณฑ์ วิธกี ารสรรหา และ จำ� นวนกรรมการสถานศกึ ษาสำ� หรบั สถานศึกษารูปแบบโรงเรียนรว่ มพัฒนา พ.ศ. ๒๕๖๑ ๑๖ ผ้สู นับสนุน หมายความวา่ บรษิ ัท มลู นิธิ องค์กร ภาคเอกชน สถานประกอบการ หรือสถาบนั ทส่ี นบั สนุนทรพั ยากรและ มีส่วนรว่ มในการบริหารใหก้ บั สถานศึกษา ตามข้อ ๓ ระเบียบคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน วา่ ดว้ ยการกำ� หนด องคป์ ระกอบ หลกั เกณฑ์ วธิ กี ารสรรหา และจำ� นวนกรรมการสถานศกึ ษาสำ� หรบั สถานศกึ ษารปู แบบโรงเรยี นรว่ มพฒั นา พ.ศ. ๒๕๖๑ 15

๒. เอกสารท่ีแสดงคุณสมบัติเฉพาะ ได้แก่ มติการประชุม หรือค�ำสั่งหรือหลักฐาน ทีแ่ สดงคุณสมบัตเิ ฉพาะของผูท้ ่ีได้รับการรับเลือกเปน็ กรรมการในแตล่ ะประเภท เปน็ ตน้ เสนอรายช่ือให้ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาเพ่ือพิจารณาแต่งต้ัง เปน็ คณะกรรมการสถานศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน วาระการดำ� รงตำ� แหนง่ ของคณะกรรมการสถานศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน วาระการด�ำรงต�ำแหน่งของประธานกรรมการและกรรมการของสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ทั่วไปและสถานศึกษาขั้นพื้นฐานรูปแบบโรงเรียนร่วมพัฒนามีวาระการด�ำรงต�ำแหน่งคราวละ ๔ ป๑ี ๗ และอาจไดร้ ับการแตง่ ตัง้ ใหมอ่ กี ได้ แต่จะด�ำรงต�ำแหน่งเกนิ ๒ วาระตดิ ตอ่ กนั ไม่ได้ การพน้ จากตำ� แหนง่ ของคณะกรรมการสถานศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน การพน้ จากตำ� แหนง่ คณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐานของสถานศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐานทว่ั ไป และสถานศกึ ษาข้ันพน้ื ฐานรปู แบบโรงเรียนร่วมพฒั นามี ๒ กรณี คอื ๑. การพ้นจากตำ� แหนง่ ตามวาระ (๔ ปี) ๒. การพ้นจากต�ำแหนง่ เมื่อ ๒.๑ ตาย ๒.๒ ลาออก ๒.๓ คณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด๑๘ ให้ออกเพราะบกพร่องต่อหน้าท่ี ท�ำให ้ เส่อื มเสยี ตอ่ สถานศกึ ษาหรือหย่อนความสามารถ ๒.๔ ขาดคณุ สมบตั ทิ ว่ั ไปและคณุ สมบตั เิ ฉพาะ หรอื มลี กั ษณะตอ้ งหา้ มอยา่ งใดอยา่ งหนงึ่ สำ� หรับกรรมการประเภทนั้น ๒.๕ พ้นจากการเปน็ พระภกิ ษสุ งฆ์ เฉพาะกรรมการซ่ึงเป็นผูแ้ ทนทเ่ี ปน็ พระภกิ ษสุ งฆ์ อำ� นาจการตคี วามและวินิจฉัยปญั หา กรณสี ถานศกึ ษามปี ญั หาอนั เกยี่ วกบั การปฏบิ ตั หิ รอื การดำ� เนนิ การสรรหา การเลอื กประธาน กรรมการและกรรมการของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ท้ังในส่วนของสถานศึกษา ขนั้ พน้ื ฐานทว่ั ไปและสถานศกึ ษารปู แบบโรงเรยี นรว่ มพฒั นา ใหเ้ ลขาธกิ ารคณะกรรมการการศกึ ษา ข้ันพน้ื ฐานมีอำ� นาจตีความและวนิ ิจฉยั ปัญหา๑๙ ๑๗ ข้อ ๗ กฎกระทรวงก�ำหนดจ�ำนวนกรรมการ คุณสมบัติ หลักเกณฑ์ วิธีการสรรหา การเลือกประธานกรรมการและ กรรมการ วาระการดำ� รงต�ำแหนง่ และการพน้ จากตำ� แหนง่ ของคณะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน พ.ศ. ๒๕๔๖ ๑๘ ข้อ ๔ ค�ำส่ังหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ ๑๙/๒๕๖๐ เร่ือง การปฏิรูปการศึกษาในภูมิภาคของกระทรวง ศกึ ษาธิการ สัง่ ณ วนั ที่ ๓ เมษายน พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ ๑๙ ข้อ ๑๒ กฎกระทรวงกำ� หนดจำ� นวนกรรมการ คุณสมบตั ิ หลักเกณฑ์ วิธกี ารสรรหา การเลือกประธานกรรมการและ กรรมการ วาระการด�ำรงตำ� แหนง่ และการพน้ จากต�ำแหน่งของคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๔๖ 16

ตอนที่ ๓ บทบาทหนา้ ทขี่ องคณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน บทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการสถานศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน ตามพระราชบัญญตั กิ ารศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และทีแ่ ก้ไขเพ่มิ เติม มาตรา ๔๐ และ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖ และท่ีแก้ไขเพ่ิมเติม มาตรา ๓๘ ก�ำหนดใหค้ ณะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน ท�ำหน้าท่กี ำ� กับและส่งเสรมิ สนบั สนนุ กจิ การของสถานศกึ ษา ดังน้ี ๑. ก�ำกบั การด�ำเนนิ การของสถานศึกษาให้สอดคล้องกบั กฎหมาย กฎ ระเบียบ ประกาศ คำ� สงั่ และนโยบายของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร สำ� นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน สำ� นกั งาน เขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษา และความต้องการของชมุ ชนและท้องถิ่น ๒. ส่งเสริมและสนับสนนุ การด�ำเนนิ การกจิ การด้านตา่ งๆ ของสถานศึกษา ๓. มบี ทบาทหนา้ ทเ่ี กย่ี วกบั การบรหิ ารงานบคุ คลสำ� หรบั ขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา ในสถานศึกษาตามทกี่ ฎหมายว่าดว้ ยระเบยี บขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษาก�ำหนด ๔. ปฏิบัติหน้าที่ตามท่ีกฎหมาย ระเบียบ ประกาศ ฯลฯ ก�ำหนดให้เป็นบทบาทหน้าท่ี ของคณะกรรมการสถานศึกษาข้นั พนื้ ฐาน โดยคณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐานมบี ทบาทหนา้ ทต่ี ามภาระงาน ๔ ดา้ น ทกี่ ำ� หนดไว ้ ในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และท่ีแก้ไขเพิ่มเติม พระราชบัญญัติระเบียบ บริหารข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๗ และที่แก้ไขเพ่ิมเติม และประกาศ ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เรื่อง การกระจายอ�ำนาจการบริหารและการจัด การศกึ ษาของเลขาธกิ ารคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานไปยงั คณะกรรมการ สำ� นกั งานเขตพน้ื ที่ การศึกษาและสถานศึกษาในสงั กดั ส�ำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พ.ศ. ๒๕๕๐ ดงั นี้ ด้านวิชาการ ๑. ให้ข้อมูลเพ่ือส่งเสริม สนับสนุนการจัดระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา และการรบั ประเมินจากภายนอก๒๐ ๒. ใหค้ วามเหน็ ชอบเรอ่ื งการวางแผนงานดา้ นวชิ าการ การพฒั นาหลกั สตู รของสถานศกึ ษา และการพัฒนาระบบประกนั คณุ ภาพภายในและมาตรฐานการศึกษา๒๑ ๒๐ มาตรา ๕๐ หมวด ๖ มาตรฐานและการประกันคณุ ภาพการศึกษา แห่งพระราชบัญญตั กิ ารศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ แก้ไขเพิ่มเติม ๒๑ ข้อ ๔ - ข้อ ๕ ประกาศส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน เร่ือง การกระจายอ�ำนาจการบริหารและ การจดั การศึกษาของเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้นื ฐานไปยงั คณะกรรมการ สำ� นักงานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษา และสถานศึกษาในสงั กัดสำ� นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๐ 17

๓. ใหค้ วามเหน็ ชอบกรณที สี่ ถานศกึ ษานำ� เอารายวชิ าพเิ ศษมาเพม่ิ หรอื ปรบั ใชใ้ นหลกั สตู ร สถานศกึ ษา ท่สี อดคลอ้ งกบั หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน๒๒ ด้านงบประมาณ๒๓ ๑. ให้ความเห็นชอบการจัดท�ำแผนงบประมาณและค�ำขอตั้งงบประมาณเพื่อเสนอต่อ เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พื้นฐาน ๒. ให้ความเห็นชอบการจัดท�ำแผนปฏิบัติการใช้จ่ายเงิน ตามท่ีได้รับจัดสรรงบประมาณ จากส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พืน้ ฐานโดยตรง ๓. ใหค้ วามเหน็ ชอบการขอโอนและการขอเปล่ียนแปลงงบประมาณ ๔. ใหค้ วามเห็นชอบการระดมทรพั ยากรและการลงทุนเพ่ือการศกึ ษา ๕. ให้ความเห็นชอบการจดั หาผลประโยชนจ์ ากทรัพย์สนิ ด้านการบรหิ ารงานบคุ คล๒๔ ๑. ก�ำกบั ดแู ลการบรหิ ารงานบคุ คลในสถานศกึ ษาใหส้ อดคลอ้ งกับนโยบาย กฎ ระเบยี บ ขอ้ บงั คับ หลักเกณฑ์และวิธกี ารตามทค่ี ณะกรรมการศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั ก�ำหนด ๒. เสนอความตอ้ งการและใหค้ วามเหน็ ชอบการวางแผนอตั รากำ� ลงั ของขา้ ราชการครแู ละ บคุ ลากรทางการศึกษาในสถานศึกษาเพอ่ื เสนอคณะกรรมการศกึ ษาธิการจังหวัดพิจารณา ๓. ใหข้ อ้ คดิ เหน็ เกย่ี วกบั การบรหิ ารงานบคุ คลของขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา ในสถานศกึ ษา ต่อผ้บู ริหารสถานศึกษา ๔. ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามท่ีบัญญัติไว้ในพระราชบัญญัติระเบียบบริหารข้าราชการครูและ บุคลากรทางการศึกษา พ.ศ.๒๕๔๗ กฎหมายอ่ืน หรือตามท่ีคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด มอบหมาย ดา้ นการบรหิ ารท่วั ไป๒๕ ๑. ให้ความเหน็ ชอบการวางแผนการบริหารงานการศึกษา ๒. ใหค้ วามเหน็ ชอบการรบั นักเรียน ๓. ใหค้ วามเหน็ ชอบเสนอความเหน็ เกยี่ วกบั เรอื่ งการจดั ตง้ั ยบุ รวมหรอื เลกิ สถานศกึ ษา ๔. ให้ความเหน็ ชอบการระดมทรพั ยากรเพื่อการศกึ ษา ๒๒ เรอื่ งเดียวกัน, ๒๑. ๒๓ เรอื่ งเดียวกนั , ๒๑. ๒๔ มาตรา ๒๖ หมวด ๑ คณะกรรมการบรหิ ารงานบคุ คลของขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา แหง่ พระราชบญั ญตั ิ ระเบยี บบริหารข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๔๗ ข้อ ๔ - ข้อ ๕ ประกาศส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน เร่ือง การกระจายอ�ำนาจการบริหารและ การจัดการศึกษาของเลขาธกิ ารคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐานไปยงั คณะกรรมการ สำ� นกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษา และสถานศึกษาในสงั กดั ส�ำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน พ.ศ. ๒๕๕๐ ๒๕ เรือ่ งเดยี วกัน, ๒๑ 18

บทบาทหน้าทีข่ องหนว่ ยงานทเ่ี กี่ยวข้องกับคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพนื้ ฐาน ๑. บทบาทหนา้ ทข่ี องสถานศึกษาต่อคณะกรรมการสถานศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน ๑.๑ ด�ำเนินการสรรหาและคัดเลอื กคณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน ๑.๒ เสนอรายช่ือผู้ที่ได้รับเลือกต่อผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา เพ่อื พิจารณาแต่งต้ัง ๑.๓ จัดให้มกี ารประชมุ เพื่อพิจารณาการดำ� เนินกิจการของสถานศึกษา ๑.๔ รายงานการประชมุ คณะกรรมการสถานศึกษาข้นั พ้นื ฐานต่อส�ำนักงานเขตพ้ืนที่ การศึกษา ๑.๕ ให้ข้อเสนอแนะและอ�ำนวยความสะดวกในการด�ำเนินกิจการของสถานศึกษา ตามบทบาทหน้าท่ขี องคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพนื้ ฐาน ๑.๖ ประชาสัมพนั ธผ์ ลการด�ำเนินงานของคณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน ๒. บทบาทหนา้ ทข่ี องสำ� นกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาตอ่ คณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน ๒.๑ พิจารณาแต่งต้ังคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานจากการเสนอรายช่ือ ผ้ไู ด้รบั เลือกจากผูอ้ ำ� นวยการสถานศึกษา ๒.๒ จัดให้มีการพัฒนาคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐานเกี่ยวกับบทบาทหน้าท่ี และการทำ� งานรว่ มกบั สถานศกึ ษาได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ ๓. บทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัดต่อคณะกรรมการสถานศึกษา ขนั้ พนื้ ฐาน ใหค้ ณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพนื้ ฐานพน้ จากตำ� แหนง่ เพราะบกพร่องต่อหนา้ ทท่ี ำ� ให้ เสื่อมเสียต่อสถานศึกษาหรือหย่อนความสามารถ๒๖ ๔. บทบาทหน้าท่ีของส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานต่อคณะกรรมการ สถานศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน ตีความและวนิ ิจฉัยปัญหา อันเกีย่ วกับการปฏิบตั หิ รอื การดำ� เนินการสรรหา การเลือกประธานกรรมการและกรรมการของคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานท้ังในส่วนของ สถานศึกษาข้ันพน้ื ฐานท่วั ไปและสถานศึกษารปู แบบโรงเรยี นร่วมพัฒนา ๒๖ คำ� สงั่ หวั หนา้ คณะรกั ษาความสงบแหง่ ชาติ ท่ี ๑๙/๒๕๖๐ เรอ่ื ง การปฏริ ปู การศกึ ษาในภมู ภิ าคของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร สั่ง ณ วันที่ ๓ เมษายน พุทธศักราช ๒๕๖๐ และ ข้อ ๗ (๓) กฎกระทรวงก�ำหนดจ�ำนวนกรรมการ คุณสมบัต ิ หลกั เกณฑ์ วิธีการสรรหา การเลือกประธานกรรมการและกรรมการ วาระการด�ำรงตำ� แหน่ง และการพน้ จากตำ� แหน่ง ของคณะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พื้นฐาน พ.ศ.๒๕๔๖ 19

ตอนท่ี ๔ การปฏบิ ตั งิ านรว่ มกนั ของคณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน กบั สถานศกึ ษา ความสำ� คญั ของคณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน ตามพระราชบญั ญตั ริ ะเบยี บบรหิ ารราชการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร พ.ศ. ๒๕๔๖ และทแ่ี กไ้ ข เพิ่มเติม มาตรา ๓๘ วรรคสองและวรรคสาม ประกอบกับกฎกระทรวงกำ� หนดจ�ำนวนกรรมการ คุณสมบัติ หลักเกณฑ์ วิธีการสรรหา การเลือกประธานกรรมการและกรรมการ วาระการด�ำรง ตำ� แหนง่ และการพน้ จากตำ� แหน่งของคณะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๔๖ กำ� หนด ใหค้ ณะกรรมการสถานศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน ประกอบดว้ ย ผแู้ ทนผปู้ กครอง ผแู้ ทนครู ผูแ้ ทนองคก์ ร ชุมชน ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้แทนศิษย์เก่าของสถานศึกษา ผู้แทนพระภิกษุ และ หรือองค์กรศาสนาอน่ื ในพ้นื ที่ ผทู้ รงคณุ วฒุ ิ และผู้อำ� นวยการสถานศกึ ษา ทำ� หน้าท่ีเป็นกรรมการ และเลขานุการ จากความหลากหลายของบุคคลที่เข้าร่วมเป็นคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน เพื่อให้เอ้ือต่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษาต้องอาศัยความรู้ความสามารถและประสบการณ ์ ในด้านต่างๆ บุคคลท่ีได้รับการคัดเลือกเข้าร่วมเป็นคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน มีความส�ำคัญต่อการจัดการศึกษา ดงั น้ ี ผู้แทนผู้ปกครอง เป็นผู้สะท้อนปัญหาและความต้องการด้านคุณภาพทางการศึกษาและ คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของนักเรียน ทั้งในส่วนที่คาดหวังและสภาพความเป็นจริงที่เกิดขึ้น และรว่ มมอื กับครู บุคลากรทางการศกึ ษา ผ้ปู กครองและชมุ ชนในการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ ผู้แทนครู เป็นผู้ท่ีมีความช�ำนาญในสายวิชาชีพครูมีความส�ำคัญต่อการน�ำเสนอข้อมูล ดา้ นกระบวนการเรยี นรู้ ปญั หา และความตอ้ งการการสนบั สนนุ ชว่ ยเหลอื ของชมุ ชนและหนว่ ยงาน ท่เี กี่ยวข้อง รวมท้ังรายงานผลการจัดการศกึ ษา ผแู้ ทนองคก์ รชมุ ชน เปน็ ผสู้ ะทอ้ นสภาพของปญั หาและความตอ้ งการในการพฒั นาผเู้ รยี น ซง่ึ เปน็ สมาชกิ ส่วนหนงึ่ ของชมุ ชน และใหค้ วามรว่ มมอื กับสถานศกึ ษาท้งั ในด้านภูมิปัญญาท้องถน่ิ แหล่งเรยี นรู้ ผแู้ ทนองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ เปน็ ผสู้ ะทอ้ นสภาพปญั หาและความตอ้ งการทคี่ รอบคลมุ ทัง้ เขตพืน้ ทีบ่ ริการของสถานศึกษา และมคี วามสำ� คัญต่อสถานศึกษาอยา่ งยิ่งในเร่ืองการสนับสนุน ดา้ นงบประมาณ ทรพั ยากรทางการจดั การศกึ ษา และเชอื่ มโยงแผนพฒั นาการศกึ ษากบั แผนพฒั นาทอ้ งถน่ิ ผแู้ ทนศษิ ยเ์ กา่ ของสถานศกึ ษา เปน็ ผทู้ ส่ี ะทอ้ นภาพของความรกั ความศรทั ธา ความภาคภมู ใิ จ ตอ่ สถาบันการศกึ ษาทต่ี นได้รบั การศกึ ษา ช่วยจรรโลงคณุ คา่ ของสถาบนั ไปสศู่ ิษย์รนุ่ หลงั ใหป้ ระสบ ความสำ� เรจ็ ในการศกึ ษาเชน่ กัน 20

ผู้แทนพระภิกษุสงฆ์และหรือผู้แทนองค์กรศาสนาในพื้นที่ เป็นผู้น�ำเสนอและเติมเต็ม ข้อมูลด้านคุณธรรม จริยธรรมตามหลักธรรมของศาสนาซึ่งเป็นส่วนส�ำคัญในการจัดการเรียนร ู้ เพ่อื ใหน้ ักเรยี นเปน็ คนดีของสังคม ผทู้ รงคณุ วฒุ ิ เปน็ ผทู้ มี่ คี วามรคู้ วามสามารถ และประสบการณใ์ นดา้ นตา่ งๆ ทจี่ ะชว่ ยเสรมิ ให้สถานศึกษาจัดการศึกษาได้ครอบคลุมในทุกๆ ด้านอย่างมีคุณภาพและประสิทธิภาพ ท�ำให้ สถานศึกษามคี วามเข้มแขง็ และมีการพัฒนาที่ยงั่ ยนื ผู้บริหารสถานศึกษา ในฐานะกรรมการและเลขานกุ ารซ่งึ เป็นสญั ลกั ษณข์ องสถานศกึ ษา เป็นบุคคลส�ำคัญท่ีจะสะท้อนภาพของการบริหารจัดการ ผู้ช่วยเหลือให้ค�ำปรึกษา สร้างแรงจูงใจ กระตนุ้ การทำ� งาน ทบทวนรายงาน สะทอ้ นความคดิ เปดิ โอกาสใหผ้ แู้ ทนแตล่ ะกลมุ่ ไดแ้ สดงบทบาท อย่างเต็มที่ จัดเตรียมการประชุม บันทึกการประชุม รายงานผลการประชุม และสนับสนุน ด้านอปุ กรณ์ หอ้ งประชมุ วสั ดใุ ช้สอย ฯลฯ รวมทงั้ การพิจารณาน�ำมติ ข้อคดิ เหน็ และข้อเสนอแนะ จากท่ีประชุมไปสกู่ ารปฏิบตั ิ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐานซึ่งเป็นองค์คณะบุคคลในการบริหารสถานศึกษา แบบมีส่วนร่วม จึงต้องอาศัยผู้มีความรู้ความเช่ียวชาญในหลากหลายสาขาและเข้าใจการศึกษา มีความมุ่งมั่น มีเวลาท่ีจะอุทิศแรงกายแรงใจพัฒนาสถานศึกษาของชุมชนให้มีคุณภาพและ ได้มาตรฐานตามทีช่ ุมชน สังคม และประเทศชาตติ ้องการ ซงึ่ จะส่งผลให้ชุมชน สงั คมเขม้ แข็ง และ ประเทศชาติกา้ วหนา้ การส่งเสรมิ ภารกจิ ของคณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน สถานศกึ ษาเปน็ หนว่ ยงานหลกั ในการจดั การศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน เพอื่ ใหบ้ รรลตุ ามความมงุ่ หมาย ของการจดั การศกึ ษาตามทกี่ ำ� หนดไวใ้ นกฎหมายวา่ ดว้ ยการศกึ ษาแหง่ ชาติ และกฎหมายทเี่ กย่ี วขอ้ ง จึงก�ำหนดให้มีคณะกรรมการซ่ึงเป็นองค์คณะบุคคลท�ำหน้าที่ก�ำกับและส่งเสริมสนับสนุนกิจการ ของสถานศึกษาให้เป็นไปตามนโยบาย มาตรฐานในการบริหารจัดการทางการศึกษา ท้ังน ี้ การด�ำเนินงานให้ประสบความส�ำเร็จน้ัน สถานศึกษาและคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ควรมีรูปแบบวิธีการท�ำงานที่ประสานสอดคล้องกันโดยมีจุดหมายเพื่อการพัฒนาการศึกษาให้ บรรลผุ ลตามแผนทร่ี ว่ มกนั กำ� หนดขนึ้ โดยในสว่ นของสถานศกึ ษาควรมบี ทบาทในการสง่ เสรมิ ภารกจิ ของคณะกรรมการสถานศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน ดังน้ี ๑. สรา้ งความรคู้ วามเขา้ ใจใหค้ ณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐานในเรอื่ งบทบาทอำ� นาจ หนา้ ทตี่ ามทกี่ ฎหมายกำ� หนด เพอ่ื ใหค้ ณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานไดเ้ ขา้ มามสี ว่ นรว่ มกำ� หนด เป้าหมายการจัดการศึกษา ร่วมคิด ร่วมท�ำ ร่วมพัฒนา ก�ำกับส่งเสริมและสนับสนุนกิจการ ของสถานศกึ ษา เชน่ จดั อบรมใหค้ วามรู้ หรอื จดั ทำ� คมู่ อื การปฏบิ ตั งิ านของคณะกรรมการสถานศกึ ษา ขนั้ พ้นื ฐาน ฯลฯ ๒. สร้างความตระหนักให้บุคลากรในสถานศึกษาและชุมชน เห็นความส�ำคัญ ของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในฐานะท่ีเป็นตัวแทนของชุมชนที่ช่วยสะท้อนปัญหา 21

ความต้องการของชุมชนต่อสถานศึกษา เช่น จัดให้คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้มีสว่ นรว่ มในการประชุมผูป้ กครอง ฯลฯ ๓. จัดท�ำแผนงานกิจกรรมต่างๆ ท่ีสถานศึกษาจัดเพื่อส่งเสริมคุณภาพผู้เรียนและข้อมูล สารสนเทศของสถานศึกษาเสนอให้คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานใช้เป็นข้อมูลประกอบ การพจิ ารณาเพ่ือพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาร่วมกัน ๔. ร่วมกับคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานจัดท�ำปฏิทินการประชุมคณะกรรมการ สถานศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐานอยา่ งนอ้ ยปลี ะ ๒ ครงั้ และรายงานผลการประชมุ คณะกรรมการสถานศกึ ษา ขน้ั พนื้ ฐานต่อสำ� นกั งานเขตพื้นท่ีการศกึ ษา ๕. สร้างหรือพัฒนาช่องทางการส่ือสารระหว่างคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน กบั สถานศกึ ษาเพอ่ื ความสะดวกในการรายงานผลการดำ� เนนิ งานใหค้ ณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน ๖. จดั ทำ� สรปุ ผลการดำ� เนนิ งานใหค้ ณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐานทราบอยา่ งตอ่ เนอื่ ง แนวทางการปฏบิ ตั งิ านรว่ มกนั ของสถานศกึ ษากบั คณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน การปฏบิ ัติหนา้ ที่ร่วมกนั ของสถานศึกษาและคณะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พ้ืนฐานให้เกดิ ประสทิ ธภิ าพสูงสดุ ควรมกี ารท�ำความเขา้ ใจในการท�ำงานร่วมกัน ดงั น้ี ๑. สถานศกึ ษา โดยมผี อู้ ำ� นวยการสถานศกึ ษา เปน็ “ผเู้ ชอ่ื มโยง” ระหวา่ ง คณะกรรมการ สถานศึกษาขั้นพื้นฐานในฐานะกรรมการและเลขานุการ กับสถานศึกษาในฐานะผู้บริหาร ดังนั้น ผู้อ�ำนวยการสถานศึกษา จึงเป็นผปู้ ระสานการด�ำเนนิ กจิ การต่างๆ โดยคำ� นึงถึงข้อคดิ เห็นและมติ ของคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้นื ฐาน ๒. คณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน เขา้ ใจบทบาทหนา้ ทข่ี องตนเอง คอื กำ� กบั และ ส่งเสริมสนับสนุนกิจการของสถานศึกษาและปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่ที่ก�ำหนดไว้ ซึ่งมีแนวทาง การปฏิบัติ ดงั นี้ ๒.๑ เขา้ รว่ มประชมุ คณะกรรมการสถานศกึ ษาข้นั พืน้ ฐานทุกครั้ง ๒.๒ การเสนอแนะความคดิ เหน็ ใดๆ ควรนำ� เสนอในทปี่ ระชมุ คณะกรรมการสถานศกึ ษา ข้ันพ้ืนฐาน แล้วสรุปผลเป็นมติที่ชัดเจน เมื่อได้มติแล้วประธานก็จะมอบให้ผู้บริหารสถานศึกษา นำ� ไปสูก่ ารพจิ ารณาดำ� เนินการของสถานศกึ ษา ๒.๓ บทบาทในการ “กำ� กบั ดแู ลกจิ การของสถานศกึ ษา” เปน็ การตดิ ตามการปฏบิ ตั งิ าน ตามทส่ี ถานศกึ ษาไดท้ ำ� แผนการดำ� เนนิ งานทสี่ อดคลอ้ งกบั กฎหมาย และแนวนโยบายของหนว่ ยงาน ต้นสงั กดั หรือตามมตทิ ่กี �ำหนดไว้รว่ มกนั ๒.๔ การบริหารงานบุคคลในสถานศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน “ไมค่ วรสง่ั การ” กลา่ วคอื ไมค่ วรกำ� กบั การท�ำงานของผู้บริหาร ครู อาจารย์ หรือไมแ่ สดงบทบาท เปน็ ผบู้ งั คบั บญั ชาเสยี เอง ทง้ั โดยตรงและโดยออ้ มไปยงั บคุ ลากรในสถานศกึ ษา เพราะอำ� นาจการสง่ั การ เป็นของผู้บริหารสถานศึกษา ท่ีจะรับผิดชอบการน�ำข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะ และมติ ของคณะกรรมการสถานศกึ ษาไปสู่การปฏิบตั ิ 22

๒.๕ การรบั ทราบผลการดำ� เนนิ กจิ การ ควรพจิ ารณาในภาพรวมของสถานศกึ ษาวา่ ผลการดำ� เนนิ กิจการ ท้ังระหว่างด�ำเนินการ ส้ินปีการศึกษา และสิ้นปีงบประมาณ เพื่อน�ำไปสู่ การพจิ ารณาปรบั ปรงุ พฒั นากจิ การของสถานศกึ ษาใหม้ คี ณุ ภาพ ประสทิ ธภิ าพ และประสทิ ธผิ ลยง่ิ ขน้ึ จากบทบาทหน้าที่ดังกล่าวน้ี ท�ำให้คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐานมีส่วนร่วม กับสถานศึกษา ในกระบวนการและขัน้ ตอนต่างๆ ในกจิ การของสถานศึกษา โดยร่วมรบั รู้ รว่ มคิด รว่ มทำ� ร่วมรับผล และร่วมประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษา แนวทางการประชาสัมพันธเ์ ผยแพร่ผลการดำ� เนนิ งานของสถานศกึ ษา คณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน นอกจากจะมหี นา้ ทกี่ ำ� กบั ดแู ล และสง่ เสรมิ สนบั สนนุ กิจการของสถานศึกษาแล้ว ยังมีบทบาทหน้าที่ในการประชาสัมพันธ์เผยแพร่กิจการและผลงาน ของสถานศึกษาด้วย เน่ืองจากการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์เป็นมิติหนึ่งในการสร้างความรู ้ ความเขา้ ใจใหก้ บั ชมุ ชนไดท้ ราบถงึ สภาพความเปน็ อยแู่ ละผลการดำ� เนนิ งานของสถานศกึ ษา สภาพของ สถานศกึ ษาทจ่ี ะเกดิ ขน้ึ ในอนาคต ตลอดจนความต้องการของสถานศึกษาในการระดมทรัพยากร เพอ่ื ปรบั ปรงุ และพฒั นากจิ การของสถานศกึ ษาใหส้ อดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของชมุ ชนมกี ารปรบั ตวั ในการจัดการเรียนการสอนให้นักเรียนมีคุณภาพได้มาตรฐาน มีทักษะท่ีจ�ำเป็นเพียงพอทันต่อ ความกา้ วหนา้ ของเทคโนโลยี รวมทงั้ การเปลย่ี นแปลงของสงั คมอยา่ งตอ่ เนอื่ งและรวดเรว็ ๑. ความจ�ำเปน็ ในการประชาสัมพันธแ์ ละเผยแพรผ่ ลการด�ำเนนิ งานของสถานศึกษา ๑.๑ ช่วยสร้างความรู้ ความเข้าใจกิจการของสถานศึกษา และกระตุ้นให้ชุมชน เห็นความส�ำคัญในหน้าที่ที่ทุกคนจะต้องมีส่วนร่วมรับผิดชอบในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา เกิดความต้องการเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา โดยการสนับสนุนด้านความรู้ ความคิด ความช่วยเหลือและด้านทรัพยากร เพ่ือผลักดันให้สถานศึกษาในชุมชนเป็นไปตามความคาดหวัง ท่ีชุมชนต้องการ โดยผ่านคณะกรรมการสถานศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน ๑.๒ ช่วยสร้างความภาคภูมิใจให้กับชุมชนถึงผลส�ำเร็จในกิจการของสถานศึกษา ท่ีเกดิ จากตนเอง มีสว่ นรว่ มคิด ร่วมท�ำ ร่วมสรา้ ง และรว่ มพฒั นา ๑.๓ ชว่ ยเสริมสร้างความรสู้ กึ ความเปน็ เจ้าของสถานศกึ ษาร่วมกนั ๒. สาระท่ใี ช้ประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ ๒.๑ การเผยแพร่สถานภาพของสถานศึกษา จะช่วยให้ชุมชนรู้ถึงศักยภาพ จุดแข็ง จุดอ่อน และข้อจ�ำกัดบางประการของสถานศึกษา จึงเป็นการสานสร้างความเข้าใจระหว่าง สถานศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน และความต้องการของชุมชนในบางสิ่ง ที่สถานศึกษาไม่สามารถตอบสนองต่อความต้องการของชุมชนได้อย่างทันท่วงที เนื่องจาก อาจจ�ำกัดด้วยงบประมาณ ดงั นนั้ หากชมุ ชนตอ้ งการใหส้ ถานศกึ ษาด�ำเนนิ กจิ การทช่ี มุ ชนเหน็ วา่ มีความจ�ำเป็นเร่งด่วน จ�ำเป็นต่อการพัฒนาทักษะและคุณภาพนักเรียนโดยเร็ว ชุมชนจะได้ มสี ว่ นรว่ มคดิ หาทางออก และรว่ มกนั พฒั นาสถานศกึ ษาใหเ้ ปน็ ไปตามทชี่ มุ ชนคาดหวงั โดยไมร่ อคอย นโยบายและงบประมาณของรฐั บาล 23

๒.๒ การเผยแพร่วิสัยทัศน์ของสถานศึกษา เป็นการสะท้อนให้ชุมชนเห็นทิศทาง การด�ำเนินกิจการของสถานศึกษาในปัจจุบันและแนวโน้มในอนาคตว่าผลผลิตที่เป็นบุตรหลาน ของชมุ ชนสามารถกา้ วทนั การเปลย่ี นแปลงของโลกในอนาคตไดอ้ ยา่ งไร และสถานศกึ ษาควรกำ� หนด วิสัยทัศน์และทิศทางการจัดการศึกษาในอนาคตให้ชัดเจน เพ่ือรองรับสถานการณ์ท่ีเปล่ียนแปลง ไดต้ ลอดเวลา ๒.๓ การเผยแพร่แผนงาน โครงการ กิจกรรมส�ำคัญของสถานศึกษาจะก่อให้เกิด ประโยชน์ ดังน้ี ๒.๓.๑ ท�ำให้ชุมชนทราบภารกิจและความเคลื่อนไหวของสถานศึกษา ช่วยให้ ชมุ ชนมสี ว่ นรว่ มในการกำ� กบั การดำ� เนนิ งานของสถานศกึ ษา สะทอ้ นความคดิ เหน็ และขอ้ เสนอแนะ ในการดำ� เนนิ งานของสถานศกึ ษาไดอ้ ยา่ งตรงประเดน็ โดยผา่ นคณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน ๒.๓.๒ เปิดโอกาสใหช้ ุมชนเข้าร่วมกจิ กรรมของสถานศกึ ษา ๒.๓.๓ เสริมสรา้ งสัมพันธภาพอันดรี ะหว่างชมุ ชนและสถานศึกษา ๒.๓.๔ ได้รับความร่วมมือและสนับสนุนกิจการของสถานศึกษาที่เกิดจาก กระบวนการคดิ และการตดั สินใจของชุมชนเอง ๒.๔ การเผยแพรผ่ ลการด�ำเนนิ งานของสถานศกึ ษา เช่น ผลงานนกั เรยี น ผลงานครู ผลงานดา้ นการแขง่ ขนั ทำ� ใหป้ ระชาชน ชมุ ชน ทอ้ งถน่ิ รบั ทราบผลการดำ� เนนิ กจิ การและความเจรญิ ก้าวหนา้ ในดา้ นตา่ งๆ ของสถานศึกษา รว่ มภาคภูมิใจตอ่ ผลการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาท่ีเกดิ ขึ้น กบั บตุ รหลานและประชาชนในทอ้ งถน่ิ ทที่ กุ คนไดม้ สี ว่ นรว่ ม สง่ เสรมิ สนบั สนนุ ตลอดจนไดร้ บั ทราบ ถึงข้อจ�ำกัดและส่ิงท่ีควรมีการปรับปรุง พัฒนาให้มีคุณภาพและประสิทธิภาพย่ิงขึ้น ซึ่งทุกฝ่าย จะต้องตระหนักในบทบาทของการมีส่วนร่วม ส่งเสริม สนับสนุนสถานศึกษาท่ีทุกคนมีส่วน เป็นเจา้ ของให้บรรลผุ ลในการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาตอ่ ไป ๒.๕ ขอ้ มลู อนื่ ๆ ทส่ี ถานศกึ ษาเหน็ วา่ มคี วามจำ� เปน็ ทจี่ ะชว่ ยเสรมิ สรา้ งใหช้ มุ ชนมคี วามรกั ตระหนกั ร่วมรบั ผดิ ชอบ หวงแหนและหว่ งใยในสถานศกึ ษาของชุมชน 24

ตอนท่ี ๕ แนวทางการพฒั นาคณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นองค์คณะบุคคลท่ีมีความส�ำคัญต่อการบริหาร และการจดั การศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน จงึ มคี วามจำ� เปน็ ทจ่ี ะตอ้ งพฒั นาอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง เพอื่ ใหก้ ารปฏบิ ตั งิ าน บรรลวุ ตั ถุประสงค์ตามเป้าหมายทกี่ �ำหนด วัตถปุ ระสงค์ ๑. เพอื่ ใหม้ คี วามรคู้ วามเขา้ ใจในบทบาทหนา้ ทขี่ องคณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน ๒. เพอ่ื ใหม้ คี วามตระหนกั ในบทบาทหน้าทขี่ องคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ๓. เพอ่ื ให้มคี วามสามารถในการปฏบิ ตั หิ น้าทต่ี ามบทบาทของคณะกรรมการสถานศกึ ษา ข้ันพนื้ ฐานไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพและมีประสทิ ธิผล กลมุ่ เป้าหมาย คณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน กระบวนการพฒั นา กระบวนการในการพฒั นาคณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พื้นฐานแบ่งเปน็ ๓ ระดับ ดงั น้ี ๑. ระดบั ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน ๑.๑ ก�ำหนดนโยบายในการพัฒนาคณะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน ๑.๒ จัดท�ำแผนพัฒนาคณะกรรมการสถานศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน ๑.๓ จัดต้ังและจัดสรรงบประมาณ เพ่ือสนับสนุนกระบวนการพัฒนาคณะกรรมการ สถานศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน ๑.๔ มีการกำ� กบั ติดตาม และประเมนิ ผลการดำ� เนินงานอยา่ งตอ่ เนือ่ ง ๑.๕ เสริมสร้างแรงจูงใจและขวัญก�ำลังใจให้แก่ส�ำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา และ สถานศกึ ษาที่มีผลการด�ำเนนิ งานของคณะกรรมการสถานศกึ ษาข้ันพ้ืนฐานดีเด่นเป็นต้นแบบได้ ๒. ระดบั ส�ำนกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษา ๒.๑ จดั ทำ� แผนและดำ� เนนิ การพฒั นาคณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน อยา่ งนอ้ ย ปีละ ๑ ครัง้ ๒.๒ มกี ารนเิ ทศ กำ� กบั ตดิ ตาม ประเมนิ ผลและรายงานผลการดำ� เนนิ งานอยา่ งตอ่ เนอื่ ง ๒.๓ สรา้ งแรงจงู ใจใหส้ ถานศกึ ษาทม่ี ผี ลการดำ� เนนิ งานของคณะกรรมการสถานศกึ ษา ข้ันพน้ื ฐานดเี ด่นเป็นตน้ แบบได้ ๒.๔ สง่ เสรมิ สนบั สนนุ สถานศกึ ษาใหม้ กี ารพฒั นาคณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน 25

๓. ระดบั สถานศกึ ษา ๓.๑ จดั ทำ� แผนและดำ� เนนิ การพฒั นาคณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน อยา่ งนอ้ ย ปลี ะ ๑ ครงั้ ๓.๒ ส่งเสริม สนับสนุนให้คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐานได้เข้าร่วมพัฒนา กบั หนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วข้อง เชน่ สมาคมกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานแหง่ ประเทศไทย ส�ำนักงาน เขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา สถาบนั อุดมศกึ ษา เป็นตน้ ๓.๓ เสรมิ สร้างแรงจูงใจให้กับคณะกรรมการสถานศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน ๓.๔ รายงานผลการดำ� เนนิ งานของคณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานตอ่ สำ� นกั งาน เขตพ้นื ท่ีการศกึ ษา ผู้ปกครองและชุมชนอยา่ งต่อเนอ่ื ง เน้อื หาสาระการพฒั นาคณะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐานมีส่วนส�ำคัญย่ิงในการรองรับการกระจายอ�ำนาจ ของสถานศกึ ษาตามเจตนารมณข์ องพระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และทแ่ี กไ้ ขเพมิ่ เตมิ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ สถานศกึ ษาข้ันพื้นฐานที่มีคณะกรรมการสถานศกึ ษาข้ันพื้นฐานทีเ่ ข้มแขง็ จะสามารถบริหารสถานศึกษาได้อย่างมีคุณภาพและประสิทธิภาพ เน่ืองจากคณะกรรมการ สถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานมีบทบาทในการวางแผน ประสานงาน การระดมทรัพยากร การกระตุ้น การท�ำงาน ตลอดจนการก�ำกับ ติดตามการปฏิบัติงานของสถานศึกษา ดังน้ัน การพัฒนา คณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐานเพอ่ื พฒั นาการบรหิ ารแบบมสี ว่ นรว่ มในสถานศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน จงึ เปน็ ความจำ� เปน็ เรง่ ดว่ นอยา่ งยงิ่ ตอ่ การพฒั นาคณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานทเ่ี ปน็ รปู ธรรม โดยเฉพาะเรอ่ื งกฎ ระเบยี บตา่ งๆ ซง่ึ มคี วามจำ� เปน็ ทตี่ อ้ งสง่ เสรมิ ใหค้ ณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน ได้รับความรู้ ความเข้าใจ อันส่งผลโดยตรงต่อการพัฒนาระบบการศึกษาไทยให้มีประสิทธิภาพ มากย่งิ ขึน้ ๑. กฎหมายทีเ่ กย่ี วข้องกับสถานศกึ ษาและคณะกรรมการสถานศกึ ษาข้ันพื้นฐาน เพอ่ื ใหค้ ณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐานมคี วามรคู้ วามเขา้ ใจเกย่ี วกบั กฎและระเบยี บ ต่างๆ ท่ีเกย่ี วขอ้ งกบั การปฏิบตั ิงานบริหารการศกึ ษาของสถานศึกษาขนั้ พื้นฐาน ๑.๑ กฎหมายท่ีเกีย่ วข้องกบั สถานศึกษา ๑.๑.๑ พระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และท่แี ก้ไขเพิ่มเติม ๑.๑.๒ พระราชบญั ญตั ริ ะเบยี บบรหิ ารราชการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร พ.ศ. ๒๕๔๖ และที่แก้ไขเพิ่มเติม ๑.๒ กฎหมายทีใ่ ห้มีคณะกรรมการสถานศึกษาข้นั พืน้ ฐาน ๑.๒.๑ พระราชบญั ญตั ริ ะเบยี บบรหิ ารราชการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร พ.ศ. ๒๕๔๖ และท่ีแก้ไขเพ่ิมเติม หมวด ๒ การจัดระเบียบบริหารราชการเขตพื้นที่การศึกษา มาตรา ๓๘ วรรคหน่ึง 26

๑.๒.๒ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และท่ีแก้ไขเพ่ิมเติม หมวด ๕ การบริหารและการจัดการศึกษา มาตรา ๔๐ วรรคหน่งึ ๑.๓ กฎหมายท่ีก�ำหนดจ�ำนวนกรรมการ คุณสมบัติ หลักเกณฑ์ วิธีการสรรหา การเลือกประธานกรรมการและกรรมการ วาระการด�ำรงต�ำแหน่ง และการพ้นจากต�ำแหน่ง ของคณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน กฎกระทรวง ก�ำหนดจ�ำนวนกรรมการ คุณสมบัติ หลักเกณฑ์ วิธีการสรรหา การเลือกประธานกรรมการและกรรมการ วาระการด�ำรงต�ำแหน่ง และการพ้นจากต�ำแหน่ง ของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พ.ศ. ๒๕๔๖ ๑.๔ การกระจายอำ� นาจจากสว่ นกลางมายงั คณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน ๑.๔.๑ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และท่ีแก้ไขเพ่ิมเติม หมวด ๕ การบริหารและการจัดการศกึ ษา มาตรา ๓๙ ๑.๔.๒ กฎกระทรวงก�ำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการกระจายอ�ำนาจการบริหาร และการจัดการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๕๐ ๑.๔.๓ ประกาศสำ� นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน เรอื่ ง การกระจาย อ�ำนาจการบริหารและการจัดการศึกษาของเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานไปยัง คณะกรรมการ ส�ำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา และสถานศึกษาในสังกัดส�ำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พ.ศ. ๒๕๕๐ ๑.๕ บทบาท อ�ำนาจหนา้ ท่ขี องคณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน ๑.๕.๑ พระราชบญั ญตั ริ ะเบยี บบรหิ ารราชการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร พ.ศ. ๒๕๔๖ และทีแ่ ก้ไขเพ่มิ เตมิ หมวด ๒ มาตรา ๓๘ วรรคหนึ่ง ๑.๕.๒ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และท่ีแก้ไขเพิ่มเติม หมวด ๕ การบริหารและการจัดการศึกษา มาตรา ๔๐ วรรคหนง่ึ ๑) ดา้ นวชิ าการ - พระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และทแี่ กไ้ ขเพม่ิ เตมิ หมวด ๖ มาตรฐานและการประกนั คณุ ภาพการศึกษา มาตรา ๕๐ - ประกาศส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน เรื่อง การกระจายอำ� นาจการบรหิ ารและการจดั การศกึ ษาของเลขาธกิ ารคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน ไปยงั คณะกรรมการ สำ� นกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษา และสถานศกึ ษาในสงั กดั สำ� นกั งานคณะกรรมการ การศึกษาข้นั พื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๐ ๒) ดา้ นงบประมาณ - ประกาศส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน เรื่อง การกระจายอำ� นาจการบรหิ ารและการจดั การศกึ ษาของเลขาธกิ ารคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน ไปยงั คณะกรรมการ สำ� นกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษา และสถานศกึ ษาในสงั กดั สำ� นกั งานคณะกรรมการ การศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๕๐ 27

๓) ดา้ นการบริหารงานบุคคล - พระราชบัญญัติระเบียบบริหารข้าราชการครูและบุคลากร ทางการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๔๗ หมวด ๑ คณะกรรมการบรหิ ารงานบคุ คลของขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากร ทางการศึกษา มาตรา ๒๖ - ประกาศส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน เร่ือง การกระจายอำ� นาจการบรหิ ารและการจดั การศกึ ษาของเลขาธกิ ารคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน ไปยงั คณะกรรมการ สำ� นกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาและสถานศกึ ษาในสงั กดั สำ� นกั งานคณะกรรมการ การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๕๐ ๔) ดา้ นการบรหิ ารทวั่ ไป - ประกาศส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เรื่อง การกระจายอำ� นาจการบรหิ ารและการจดั การศกึ ษาของเลขาธกิ ารคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน ไปยงั คณะกรรมการ สำ� นกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษา และสถานศกึ ษาในสงั กดั สำ� นกั งานคณะกรรมการ การศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พ.ศ. ๒๕๕๐ ๒. หลกั การมสี ่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษาข้นั พ้นื ฐาน คณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐานตอ้ งมคี วามรคู้ วามเขา้ ใจเกย่ี วกบั หลกั การมสี ว่ นรว่ ม ในการด�ำเนินงานของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และเพ่ือเปิดโอกาสให้คณะกรรมการ สถานศึกษาข้ันพื้นฐานมีส่วนร่วมในการบริหารสถานศึกษาให้เกิดประสิทธิภาพด้วยการให้ คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพน้ื ฐานมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการสถานศกึ ษา ดงั นี้ ๒.๑ การตระหนกั ถงึ การเป็นเจา้ ของสถานศกึ ษา ๒.๒ การร่วมคดิ ๒.๓ การรว่ มวางแผน ๒.๔ การร่วมด�ำเนนิ งานตามแผน ๒.๕ การรว่ มก�ำกบั ติดตาม นเิ ทศ ประเมิน และรายงานผล ๒.๖ การร่วมรับผลท่เี กิดขนึ้ เพือ่ น�ำผลไปปรบั ปรุงและพัฒนา ๓. การบริหารงานในสถานศกึ ษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานต้องเข้าใจและตระหนักถึงบทบาทหน้าท ี่ ในการก�ำกับดูแลสถานศึกษา การด�ำเนินงานด้านวิชาการ ด้านงบประมาณ ด้านการบริหารงาน บคุ คล และดา้ นการบรหิ ารทวั่ ไป ใหส้ อดคลอ้ งกบั กฎหมาย กฎ ระเบยี บ ประกาศ คำ� สง่ั และนโยบาย ของกระทรวงศึกษาธิการ ที่เป็นอ�ำนาจหน้าท่ีของสถานศกึ ษา ดงั นี้ ๓.๑ ด้านวชิ าการ งานวิชาการเป็นภารกิจหลักของสถานศึกษา มุ่งกระจายอ�ำนาจในการบริหาร จดั การไปใหส้ ถานศกึ ษาใหม้ ากทสี่ ดุ ดว้ ยเจตนารมณท์ ใี่ หส้ ถานศกึ ษาดำ� เนนิ การไดอ้ ยา่ งอสิ ระ คลอ่ งตวั รวดเร็ว สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน สถานศึกษา ชุมชน ท้องถิ่น และการมีส่วนร่วม จากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกฝ่าย เพ่ือมุ่งการพัฒนานักเรียนสู่มาตรฐานในระดับสากล มีคุณธรรม 28

จริยธรรม และมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ โดยมีรายละเอียดของภาระงานและความรับผิดชอบ ดงั นี้ ๑) การพัฒนาหรือการด�ำเนินการเกี่ยวกับการให้ความเห็นการพัฒนาสาระ หลกั สตู รทอ้ งถนิ่ ๒) การวางแผนงานดา้ นวชิ าการ ๓) การจดั การเรยี นการสอนในสถานศึกษา ๔) การพัฒนาหลกั สูตรของสถานศึกษา ๕) การพัฒนากระบวนการเรยี นรู้ ๖) การวัดผล ประเมินผล และดำ� เนินการเทียบโอนผลการเรยี น ๗) การวิจยั เพ่อื พัฒนาคณุ ภาพการศึกษาในสถานศกึ ษา ๘) การพฒั นาและส่งเสรมิ ใหม้ แี หล่งเรยี นรู้ ๙) การนเิ ทศการศกึ ษา ๑๐) การแนะแนว ๑๑) การพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในและมาตรฐานการศกึ ษา ๑๒) การส่งเสรมิ ชุมชนใหม้ คี วามเขม้ แขง็ ทางวชิ าการ ๑๓) การประสานความรว่ มมอื ในการพฒั นาวชิ าการกบั สถานศกึ ษาและองคก์ รอน่ื ๑๔) การสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ งานวชิ าการแกบ่ คุ คล ครอบครวั องคก์ ร หนว่ ยงาน สถานประกอบการและสถาบันอน่ื ท่จี ดั การศกึ ษา ๑๕) การจดั ทำ� ระเบยี บและแนวปฏบิ ตั เิ กยี่ วกบั งานดา้ นวชิ าการของสถานศกึ ษา ๑๖) การคัดเลือกหนังสอื แบบเรยี นเพอ่ื ใชใ้ นสถานศกึ ษา ๑๗) การพฒั นาและใช้สอ่ื เทคโนโลยเี พือ่ การศกึ ษา ๓.๒ ด้านงบประมาณ การบริหารงบประมาณเป็นภารกิจส�ำคัญที่มุ่งส่งเสริมให้สามารถปฏิบัติงาน เพอื่ ตอบสนองภารกจิ ของสถานศกึ ษา มงุ่ เน้นความเป็นอิสระในการบริหารจัดการ มคี วามคล่องตัว โปร่งใส ตรวจสอบได้ ซ่ึงจะส่งผลต่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของผู้เรียนเป็นส�ำคัญ โดยมี รายละเอียดของภาระงาน ดังนี้ ๑) การจดั ทำ� แผนงบประมาณและคำ� ขอตงั้ งบประมาณเพอื่ เสนอตอ่ ปลดั กระทรวง ศึกษาธกิ าร หรือเลขาธกิ ารคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน แล้วแต่กรณี ๒) การจัดท�ำแผนปฏิบัติการใช้จ่ายเงิน ตามที่ได้รับจัดสรรงบประมาณ จากสำ� นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐานโดยตรง ๓) การอนุมตั ิการใช้จา่ ยงบประมาณที่ได้รับจัดสรร ๔) การขอโอนและการขอเปลี่ยนแปลงงบประมาณ ๕) การรายงานผลการเบิกจา่ ยงบประมาณ 29

๖) การตรวจสอบ ตดิ ตาม และรายงานการใชง้ บประมาณ ๗) การตรวจสอบ ติดตาม และรายงานการใชผ้ ลผลิตจากงบประมาณ ๘) การระดมทรัพยากรและการลงทนุ เพอ่ื การศกึ ษา ๙) การปฏิบัติงานอืน่ ใดตามทีไ่ ด้รบั มอบหมายเก่ียวกบั กองทุนเพือ่ การศึกษา ๑๐) การบริหารจดั การทรัพยากรเพ่ือการศึกษา ๑๑) การวางแผนพสั ดุ ๑๒) การก�ำหนดรูปแบบรายการ หรือคุณลักษณะเฉพาะของครุภัณฑ์ หรือ สงิ่ กอ่ สรา้ งทใี่ ชเ้ งนิ งบประมาณเพอื่ เสนอตอ่ ปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร หรอื เลขาธกิ ารคณะกรรมการ การศึกษาข้นั พนื้ ฐาน แล้วแตก่ รณี ๑๓) การพัฒนาระบบขอ้ มูลและสารสนเทศเพ่ือการจดั ทำ� และจัดหาพสั ดุ ๑๔) การจัดหาพัสดุ ๑๕) การควบคมุ ดแู ล บำ� รงุ รกั ษา และจำ� หน่ายพสั ดุ ๑๖) การจัดหาผลประโยชนจ์ ากทรัพย์สนิ ๑๗) การเบกิ เงนิ จากคลงั ๑๘) การรับเงิน การเก็บรกั ษาเงนิ และการจา่ ยเงิน ๑๙) การนำ� เงนิ สง่ คลงั ๒๐) การจดั ทำ� บัญชกี ารเงิน ๒๑) การจดั ทำ� รายงานทางการเงนิ และงบการเงนิ ๒๒) การจดั ทำ� หรอื จัดหาแบบพมิ พบ์ ญั ชี ทะเบยี น และรายงาน ๓.๓ ดา้ นการบรหิ ารงานบุคคล การบริหารงานบุคคลในสถานศึกษา เป็นภารกิจส�ำคัญที่มุ่งส่งเสริมการปฏิบัติงาน ของบุคลากรให้สามารถปฏิบัติงานที่ตอบสนองภารกิจของสถานศึกษา โดยการบริหารตาม หลักธรรมาภบิ าล เพอ่ื ใหเ้ กิดการพัฒนาบคุ ลากรอยา่ งต่อเน่อื ง ใหม้ ขี วัญกำ� ลงั ใจในการปฏบิ ตั ิงาน ไดร้ บั การยกยอ่ งเชดิ ชเู กยี รติ มคี วามมน่ั คงและกา้ วหนา้ ในวชิ าชพี ซงึ่ จะสง่ ผลตอ่ การพฒั นาคณุ ภาพ การศกึ ษาของผเู้ รยี น โดยมีรายละเอยี ดของภาระงาน ดงั นี้ ๑) การวางแผนอัตราก�ำลัง ๒) การจดั สรรอตั รากำ� ลังข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา ๓) การสรรหาและบรรจุแตง่ ตงั้ ๔) การเปลย่ี นตำ� แหนง่ ใหส้ งู ขน้ึ การยา้ ยขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา ๕) การด�ำเนินการเก่ียวกบั การเลอ่ื นขน้ั เงนิ เดอื น ๖) การลาทุกประเภท ๗) การประเมนิ ผลการปฏิบตั ิงาน ๘) การด�ำเนนิ การทางวนิ ัยและการลงโทษ 30

๙) การสงั่ พกั ราชการและการสง่ั ให้ออกจากราชการไว้ก่อน ๑๐) การรายงานการดำ� เนนิ การทางวินยั และการลงโทษ ๑๑) การอุทธรณแ์ ละการร้องทุกข์ ๑๒) การออกจากราชการ ๑๓) การจัดระบบและการจัดทำ� ทะเบยี นประวตั ิ ๑๔) การจัดท�ำบัญชีรายชื่อและให้ความเห็นเก่ียวกับการเสนอขอพระราชทาน เคร่ืองราชอิสรยิ าภรณ์ ๑๕) การสง่ เสรมิ การประเมนิ วทิ ยฐานะขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา ๑๖) การส่งเสริมและยกย่องเชดิ ชูเกยี รติ ๑๗) การส่งเสรมิ มาตรฐานวชิ าชีพและจรรยาบรรณวิชาชีพ ๑๘) การสง่ เสรมิ วนิ ยั คณุ ธรรม และจรยิ ธรรมสำ� หรบั ขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากร ทางการศึกษา ๑๙) การรเิ ริ่มสง่ เสรมิ การขอรบั ใบอนุญาต ๒๐) การพฒั นาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา ๓.๔ ด้านการบริหารทัว่ ไป การบรหิ ารทวั่ ไป เปน็ งานทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั ระบบบรหิ ารองคก์ ร การใหบ้ รกิ ารงานอนื่ ๆ ใหบ้ รรลตุ ามมาตรฐาน คณุ ภาพและเปา้ หมายทก่ี ำ� หนด มงุ่ เนน้ ผลสมั ฤทธขิ์ องงานเปน็ หลกั โดยเนน้ ความโปร่งใส ความรับผดิ ชอบทต่ี รวจสอบได้ ตลอดจนการมสี ว่ นร่วมของบุคคล ชุมชนและองค์กร ท่ีเก่ียวข้อง เพ่ือให้การจัดการศึกษามีประสิทธิภาพและประสิทธิผลเป็นส�ำคัญ โดยมีรายละเอียด ภาระงาน ดงั นี้ ๑) การพัฒนาระบบและเครอื ข่ายขอ้ มลู สารสนเทศ ๒) การประสานงานและพัฒนาเครือข่ายการศึกษา ๓) การวางแผนการบรหิ ารงานการศึกษา ๔) งานวจิ ัยเพ่อื พัฒนานโยบายและแผน ๕) การจัดระบบการบรหิ ารและพฒั นาองคก์ ร ๖) การพฒั นามาตรฐานการปฏบิ ัติงาน ๗) งานเทคโนโลยเี พอ่ื การศกึ ษา ๘) การดำ� เนนิ งานธุรการ ๙) การดูแลอาคารสถานทแ่ี ละสภาพแวดล้อม ๑๐) การจัดท�ำส�ำมะโนผู้เรยี น ๑๑) การรบั นกั เรียน ๑๒) การเสนอความเห็นเกี่ยวกบั เรื่องการจดั ตงั้ ยุบ รวมหรือเลกิ สถานศึกษา ๑๓) การประสานการจดั การศกึ ษาในระบบ นอกระบบและตามอธั ยาศัย 31

๑๔) การระดมทรพั ยากรเพอ่ื การศกึ ษา ๑๕) การทศั นศกึ ษา ๑๖) งานกิจการนกั เรยี น ๑๗) การประชาสัมพันธ์งานการศกึ ษา ๑๘) การส่งเสริม สนับสนุน และประสานการจัดการศึกษาของบุคคล ชุมชน องค์กร หนว่ ยงานและสถาบนั สงั คมอื่นท่ีจัดการศกึ ษา ๑๙) งานประสานราชการกับส่วนภมู ิภาคและส่วนท้องถิ่น ๒๐) การรายงานผลการปฏิบตั งิ าน ๒๑) การจัดระบบการควบคุมภายในหน่วยงาน ๒๒) แนวทางการจัดกจิ กรรมเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการลงโทษนักเรยี น ๔. บทบาทหนา้ ทขี่ องคณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐานกบั การบรหิ ารสถานศกึ ษา บทบาทและหนา้ ทข่ี องคณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน ตอ้ งทำ� หนา้ ทแ่ี ทนชมุ ชน และผู้ปกครองนักเรียนทุกคน จึงต้องค�ำนึงถึงการจัดการศึกษาที่เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ผู้เรียน ขณะเดียวกันต้องท�ำงานร่วมกับสถานศึกษาและครู โดยตระหนักถึงความเป็น “เจ้าของร่วมกัน” จึงอาศัยกระบวนการที่เน้นการกระจายอ�ำนาจ การมีส่วนร่วมและความโปร่งใส ตรวจสอบได ้ ในทุกขั้นตอนของการจัดการศึกษา พร้อมกับยึดหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองและสังคมที่ดี ดว้ ยการปฏบิ ตั ติ ามกฎหมาย ยดึ มน่ั ในความถกู ตอ้ ง ดงี าม สรา้ งความไวว้ างใจซงึ่ กนั และกนั เปดิ โอกาส ให้ประชาชนมีส่วนรว่ ม ตระหนกั ในสิทธิหนา้ ท่ี ความส�ำนึกในความรบั ผิดชอบร่วมกันและคำ� นึงถึง ความคุ้มค่าในการลงทุนด้านการศึกษา ดังน้ัน การพัฒนาคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน จึงมีความส�ำคัญและความจ�ำเป็นอยา่ งย่งิ เพือ่ สง่ ผลตอ่ การพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา ๕. การสรา้ งภาคีเครือขา่ ยของคณะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน การศกึ ษาเปน็ กระบวนการสำ� คญั ในการพฒั นาคนให้เปน็ ทรพั ยากรมนษุ ย์ทม่ี คี ุณภาพ และมีพลังในการเสริมสร้างประเทศชาติให้มีความมั่นคง ดังพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาต ิ พ.ศ. ๒๕๔๒ และท่แี กไ้ ขเพ่ิมเตมิ ฉบบั ท่ี ๒ (พ.ศ. ๒๕๔๕) มาตรา ๖ ระบุว่า “การจัดการศึกษา ตอ้ งเปน็ ไปเพอื่ พฒั นาคนไทยใหเ้ ปน็ มนษุ ยท์ ส่ี มบรู ณท์ งั้ ทางรา่ งกาย จติ ใจ สตปิ ญั ญา ความรแู้ ละคณุ ธรรม มีจรยิ ธรรมและวฒั นธรรมในการด�ำรงชวี ิต สามารถอยูร่ ว่ มกบั ผอู้ น่ื ไดอ้ ยา่ งมคี วามสขุ ” มกี ารสรา้ ง เครอื ขา่ ยของคณะกรรมการสถานศกึ ษาข้นั พื้นฐาน และสรา้ งความรว่ มมือในการขับเคลือ่ นพฒั นา การศึกษาไทยไปสู่ความส�ำเร็จ โดยคาดหวังว่าจะสามารถแลกเปล่ียนเรียนรู้ประสบการณ์ของ คณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน รวมถงึ การมจี ติ สำ� นกึ รว่ มกนั ในการเปน็ สมาชกิ ทดี่ ขี องสงั คมไทย ๖. การสรา้ งแนวทางพฒั นาหลกั ธรรมาภบิ าลของคณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน การจดั การศกึ ษาตามหลกั คนทงั้ มวลเพอื่ การศกึ ษา (All For Education) เปน็ การบรหิ าร ตามหลักธรรมาภิบาลท่ีเน้นการบริหารแบบมีส่วนร่วมของหลายฝ่าย ท้ังภาครัฐ ภาคเอกชนและ ภาคประชาชน ก่อให้เกิดเอกภาพ ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของระบบบริหารจัดการศึกษา 32

ชุมชนเข้มแข็งและสังคมก้าวหน้า เป็นเครื่องมือในการน�ำวิสัยทัศน์และนโยบายสู่การปฏิบัติ ใหค้ ณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน เพอื่ สะทอ้ นความตอ้ งการในการจดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษา ประกอบด้วยหลัก ๖ ประการ ดังนี้ ๖.๑ หลักนิติธรรม เป็นผู้ที่สามารถใช้กฎหมายในการปฏิบัติงานอย่างเป็นธรรม โดยคำ� นงึ ถึงผลทจี่ ะเกดิ ขน้ึ ต่อนักเรียนและประชาชน ๖.๒ หลกั คณุ ธรรม เปน็ ผทู้ ยี่ ดึ มน่ั ในความถกู ตอ้ งดงี ามในการปฏบิ ตั หิ นา้ ทเ่ี ปน็ ตวั อยา่ ง แกผ่ ้รู ว่ มงานและสังคม ๖.๓ หลักความโปร่งใส เป็นผู้ท่ีท�ำงานด้วยความโปร่งใส สามารถปรับปรุงกลไก การท�ำงานรว่ มกนั ให้สามารถตรวจสอบได้ มีการเปิดเผยข้อมูลขา่ วสารที่เป็นประโยชน์อยา่ งตรงไป ตรงมา ๖.๔ หลักการมีส่วนร่วม เป็นผู้ที่เปิดโอกาสให้ประชาชนและผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย เขา้ มาน�ำเสนอความคดิ เห็นในการตัดสนิ ใจปญั หาสำ� คัญการบรหิ ารและการจัดการศกึ ษา ๖.๕ หลกั ความรบั ผดิ ชอบ เปน็ ผทู้ มี่ คี วามตระหนกั ในสทิ ธหิ นา้ ทข่ี องตนเองและผอู้ นื่ สำ� นกึ และรบั ผดิ ชอบในการตดั สนิ ใจทสี่ ง่ ผลตอ่ การพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาของเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษา และสถานศกึ ษา ๖.๖ หลกั ความค้มุ คา่ เป็นผทู้ ส่ี ามารถบรหิ ารและจดั การศึกษา ร้จู กั การใช้ทรพั ยากร อย่างประหยดั และเกิดประโยชน์สูงสุดต่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยรณรงคใ์ ห้คนไทยหรือ เด็กไทย มคี วามประหยัด ใชข้ องอยา่ งคมุ้ คา่ และรกั ษาทรพั ยากรธรรมชาตใิ หส้ มบูรณ์ย่งั ยืน ๗. กลยุทธก์ ารกำ� กับ ตดิ ตามและประเมินคณุ ภาพสถานศึกษา เพ่ือให้คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐานมีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับหลักคิด เพอื่ การก�ำกับ ติดตามงาน ซึ่งประกอบด้วยการกำ� หนดภาพความสำ� เร็จขององค์กร วสิ ยั ทศั น์ทเี่ ปน็ รูปธรรม การเป็นผู้น�ำการเปลี่ยนแปลง การยึดหลักการ หลักวิชาในการเปลี่ยนแปลงองค์กร การบริหารงานอย่างเป็นระบบ โดยการน�ำวงจรคุณภาพ PDCA๒๗ มาใช้ การท�ำงานแบบประกัน คณุ ภาพ การใชพ้ ลงั เครือข่ายในการพัฒนาการทำ� งาน รวมทั้งการสรา้ งความพรอ้ มด้านทรัพยากร เพ่ือการพฒั นางาน ๒๗ วงจรการบริหารงานคณุ ภาพ (PDCA) P : Plan หมายถึง การวางแผนงานจากวตั ถปุ ระสงค์ และเปา้ หมายท่ีไดก้ �ำหนดข้ึน D : Do หมายถึง การปฏิบตั ติ ามข้นั ตอนในแผนงานท่ไี ดเ้ ขียนไวอ้ ยา่ งเป็นระบบและมีความต่อเนือ่ ง C : Check หมายถึง การตรวจสอบผลการด�ำเนินงานในแต่ละข้ันตอนของแผนงานว่ามีปัญหาอะไรเกิดข้ึน จ�ำเป็น ต้องเปลยี่ นแปลงแก้ไขแผนงานในขัน้ ตอนใด A : Act หมายถงึ การด�ำเนินการปรับปรุงแก้ไขส่วนที่มีปัญหา หรือ ถ้าไม่มีปัญหาก็ยอมรับแนวทางการปฏิบัต ิ ตามแผนงานท่ไี ดผ้ ลส�ำเรจ็ เพื่อนำ� ไปใชใ้ นการทำ� งานครั้งต่อไป 33

๘. หลักการทำ� งานเป็นทมี เพอื่ ใหค้ ณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐานมคี วามรแู้ ละเขา้ ใจเกยี่ วกบั หลกั การทำ� งาน เป็นทีม การสร้างทีมงาน การมีมนุษยสัมพันธ์ในการท�ำงาน การเข้าใจรูปแบบพฤติกรรมบุคคล เพอื่ ความเขา้ ใจในการท�ำงานร่วมกัน การขจัดข้อขดั แยง้ ของทีม เทคนิคการรกั ษาทมี งาน เป็นตน้ การอบรมสมั มนาคณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐานเพอื่ พฒั นาการบรหิ ารสถานศกึ ษา หลงั จากทค่ี ณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐานไดศ้ กึ ษาองคค์ วามรทู้ จ่ี ำ� เปน็ ตอ่ การปฏบิ ตั หิ นา้ ที่ ของคณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน ควรมกี ารจดั อบรมและพฒั นาคณะกรรมการสถานศกึ ษา ขั้นพ้ืนฐาน เพ่ือให้มีความรู้ความเข้าใจในองค์ความรู้ที่ตนเองได้ศึกษา ได้มีโอกาสเรียนรู้และ แลกเปลีย่ นประสบการณ์ จากคณะกรรมการสถานศกึ ษาข้นั พ้นื ฐานที่ปฏิบัติหน้าท่ีได้ดีจนประสบ ความส�ำเร็จ (Best Practices) และสามารถน�ำมาประยุกต์ใช้กับสถานศึกษาของตน นอกจากน ี้ การฝึกอบรมคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐานยังเป็นการสร้างเครือข่ายของคณะกรรมการ สถานศกึ ษาข้ันพ้ืนฐานในแตล่ ะสถานศกึ ษาท่ีเขา้ อบรมเพ่อื สนับสนุนและพัฒนาการทำ� งาน การจัดอบรมสามารถจัดกิจกรรมการอบรมในรูปแบบที่หลากหลายเพ่ือท�ำให้ผู้เข้ารับ การอบรมเข้าใจเนื้อหาตามหลักสูตร ซงึ่ รูปแบบการอบรมทีถ่ กู น�ำไปใช้อย่างแพร่หลายมดี ังนี้ ๑. การบรรยาย (Lecturing) เปน็ การฝกึ อบรมระหวา่ งวทิ ยากรผู้เชี่ยวชาญกบั ผูเ้ ข้ารบั การอบรม วิทยากรเป็นผูใ้ ห้ความรู้แก่ผู้เข้ารบั การอบรม ซ่ึงหากมขี ้อสงสัยกส็ ามารถซกั ถามได้ ๒. การระดมสมอง (Brainstorming) เป็นการรวมกลุ่มเลก็ ๆ ไม่เกนิ ๑๕ คน เปดิ โอกาส ใหท้ กุ คนพูดในหัวขอ้ ใดหวั ข้อหน่งึ ไมค่ ำ� นึงความถูกผิด เพื่อให้เกดิ แนวทางในการลงมอื ด�ำเนนิ การ ส่ิงใดในอนาคต หรือแก้ไขปัญหาร่วมกนั ๓. การศึกษาจากรายกรณี (Case study) เป็นการให้ผู้เข้าร่วมการฝึกอบรมสามารถ ประมวลความรู้ ทกั ษะและประสบการณท์ ม่ี มี าใชว้ เิ คราะหป์ ญั หาทซ่ี บั ซอ้ นภายในระยะเวลาทจี่ ำ� กดั เพื่อใหเ้ กดิ ความช�ำนาญและสามารถตดั สินใจไดอ้ ยา่ งถูกต้องและแม่นย�ำ ๔. การศึกษาจากสถานการณ์จ�ำลอง (Simulation) เป็นการจ�ำลองสถานการณ ์ โดยใหใ้ กลเ้ คยี งกบั สถานการณจ์ รงิ มากทส่ี ดุ ใหผ้ เู้ ขา้ รบั การอบรมเขา้ ไปมสี ว่ นรว่ มในสถานการณน์ นั้ เพอ่ื ทดลองใช้หรอื แกป้ ญั หา นอกเหนือจากรูปแบบการอบรมทั้งส่ีรูปแบบข้างต้น ก็ยังมีรูปแบบการอบรมอ่ืนๆ เช่น การอภิปรายเป็นคณะ (Panel Discussion) การประชุมปาฐกถาหรือการประชุมทางวิชาการ (Symposium) การสาธิต (Demonstration) การสอนงาน (Coaching) การประชุมกลุ่มย่อย (Buzz Session) การประชุมใหญ่ (Convention) เกมการบริหาร (Management Game) การแสดงบทบาทสมมติ (Role Playing) การสัมมนา (Seminar) การทัศนศึกษา (Field Trip) เปน็ ต้น ซึ่งการเลือกใชร้ ูปแบบการอบรมในแตล่ ะรปู แบบ ต้องเหมาะสมกบั ลักษณะของเนือ้ หา 34

การตดิ ตามผลการนำ� ความรไู้ ปใชใ้ นการปฏบิ ตั งิ านของคณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานได้ศึกษาองค์ความรู้ท่ีจ�ำเป็นต่อการปฏิบัติหน้าท ี่ และได้รับการอบรมเพื่อเพ่ิมพูนความรู้และประสบการณ์ในการบริหารสถานศึกษาจากวิทยากร ผู้เชี่ยวชาญและคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐานจากสถานศึกษาอื่นๆ เพ่ือให้สามารถทราบ ไดว้ า่ การจดั ทำ� หลกั สตู รเกย่ี วกบั องคค์ วามรทู้ จ่ี ำ� เปน็ ตอ่ การปฏบิ ตั หิ นา้ ที่ และการอบรมคณะกรรมการ สถานศึกษาข้นั พ้นื ฐาน บรรลุวัตถุประสงค์ของการพฒั นาหรอื ไม่ เชน่ เกดิ การเรยี นรู้ (Learning) เกิดการเปล่ียนแปลงพฤตกิ รรมในการทำ� งาน (Behavior) เปน็ ตน้ การติดตามผลของการน�ำความรู้ไปใช้ในการปฏิบัติงานของคณะกรรมการสถานศึกษา ขน้ั พ้นื ฐาน ต้องประเมินความเปลย่ี นแปลงใน ๓ ประการ คือ ๑. การเปลี่ยนแปลงดา้ นความรู้ ด้านความคดิ และความเขา้ ใจ (Cognitive Domain) ๒. การเปลี่ยนแปลงทางด้านอารมณ์หรือความรู้สึก (Affective Domain) เป็นการ เปลีย่ นแปลงทางดา้ นจติ ใจ เชน่ ความเชื่อ เจตคติ ความสนใจ คา่ นยิ ม เป็นตน้ ๓. การเปล่ียนแปลงด้านการเคล่ือนไหวของร่างกายเพื่อให้เกิดความช�ำนาญหรือทักษะ (Psychomotor Domain) การตดิ ตามผลการนำ� ความรไู้ ปใชใ้ นการปฏบิ ตั งิ านของคณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน ควรมกี ารตดิ ตามผลการพัฒนา อย่างน้อยปีละ ๑ ครัง้ โดยคณะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน จะต้องมีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับบทบาท หน้าท่ีของตนและสามารถให้ค�ำปรึกษาในประเด็น พิจารณาต่างๆ ได้ รวมถึงการส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษามีการบริหารจัดการศึกษาท่ีด ี เชน่ สนบั สนนุ ให้สถานศกึ ษามคี วามพรอ้ มในการจดั การเรียนการสอน เปน็ ผปู้ ระสานงานใหช้ มุ ชน เขา้ มาสนบั สนนุ การจดั การเรยี นการสอน การจัดกิจกรรมตา่ งๆ ในสถานศกึ ษา เป็นต้น สำ� หรบั แนวทางการตดิ ตามผลการนำ� ความรไู้ ปใชใ้ นการปฏบิ ตั ขิ องคณะกรรมการสถานศกึ ษา ขน้ั พน้ื ฐาน สามารถทำ� ไดห้ ลากหลายรปู แบบ เชน่ สำ� นกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาแตง่ ตง้ั คณะกรรมการ ตดิ ตามฯ ลงพนื้ ทเี่ ชงิ ประจกั ษ์ เพอ่ื ตดิ ตามผลการนำ� ความรไู้ ปใชใ้ นการปฏบิ ตั งิ านของคณะกรรมการ สถานศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน การสนทนากลุม่ ของคณะกรรมการตดิ ตามฯ กับคณะกรรมการสถานศึกษา ขน้ั พืน้ ฐานหรอื ผูท้ ่เี กยี่ วข้อง การใหค้ ณะกรรมการสถานศกึ ษาข้ันพน้ื ฐานหรอื ผทู้ ่เี ก่ยี วข้องรายงาน ขอ้ มลู หรอื ตอบแบบสอบถาม เพอื่ ใหท้ ราบผลของการนำ� ความรไู้ ปใชใ้ นการปฏบิ ตั ขิ องคณะกรรมการ สถานศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน เปน็ ต้น 35

ตอนที่ ๖ ปจั จยั ความสำ� เรจ็ ของการบรหิ ารและการจดั การศกึ ษา คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน คือ ตัวแทนของประชาชนผู้มีส่วนเก่ียวข้องในเขต ชมุ ชน ทเ่ี ข้ามามสี ว่ นร่วมในการบรหิ ารจัดการศึกษาของสถานศกึ ษาที่ต้ังอย่ใู นชุมชน บทบาทและ หนา้ ทขี่ องคณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน จงึ มคี วามสำ� คญั เปน็ อยา่ งยงิ่ ในการกำ� กบั และสง่ เสรมิ สนบั สนนุ กจิ การของสถานศกึ ษา อนั เนอื่ งมาจากเจตนารมณข์ องพระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และแกไ้ ขเพม่ิ เตมิ (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ ตอ้ งการใหป้ ระชาชนซงึ่ เปน็ ผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี โดยตรง เขา้ มามสี ว่ นรว่ มในการจดั การศกึ ษารว่ มกบั ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา ครู บคุ ลากรทางการศกึ ษา อย่างแทจ้ รงิ ในลักษณะเปน็ เจ้าของ หรือหุ้นส่วนของสถานศึกษาข้นั พื้นฐาน ซ่ึงบทบาทและหน้าท่ี ของคณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน ซงึ่ ตอ้ งทำ� หนา้ ทแ่ี ทนชมุ ชนและผปู้ กครองนกั เรยี นทกุ คน จึงต้องค�ำนึงถึงการจัดการศึกษาท่ีจะเกิดประโยชน์สูงสุดกับผู้เรียน ซึ่งเป็นลูกหลานของชุมชน ขณะเดียวกันก็จะต้องท�ำงานร่วมกับผู้บริหารสถานศึกษาและคณะครู โดยตระหนักถึงความเป็น “เจ้าของร่วมกัน” จึงอาศัยกระบวนการท�ำงานท่ีเน้นการกระจายอ�ำนาจ การมีส่วนร่วมและ ความโปรง่ ใส ตรวจสอบไดใ้ นทกุ ขน้ั ตอนของการจดั การศกึ ษา พรอ้ มกบั ยดึ ถอื หลกั การของการบรหิ าร กจิ การบา้ นเมืองท่ีดี ดว้ ยการปฏบิ ตั ติ ามกฎหมายยดึ ม่นั ในความถกู ตอ้ ง ดีงาม สร้างความไวว้ างใจ ซง่ึ กนั และกนั เปดิ โอกาสใหป้ ระชาชนมสี ว่ นรว่ ม ตระหนกั ในสทิ ธหิ นา้ ทค่ี วามสำ� นกึ ในความรบั ผดิ ชอบ รว่ มกัน และค�ำนึงถึงความคมุ้ ค่าในการลงทุนด้านการจัดการศกึ ษา อน่ึง ในการมีส่วนร่วมบริหารจัดการศึกษาของคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน กบั สถานศกึ ษา ใหเ้ ปน็ ไปอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพนน้ั มปี จั จยั ทจ่ี ะนำ� ไปสคู่ วามสำ� เรจ็ รวมถงึ จะตอ้ งมสี ว่ นรว่ ม ในการบรหิ ารจดั การศกึ ษา เพอื่ ใหบ้ รรลถุ งึ คณุ ภาพของการจดั การศกึ ษา โดยมงุ่ ไปสคู่ ณุ ภาพทจ่ี ะเกดิ ขนึ้ กับสถานศกึ ษา ผูบ้ รหิ ารสถานศึกษา ตลอดจนครผู ูส้ อนและนกั เรียนต่อไป รายละเอียดดังตอ่ ไปน้ี ปัจจัยความสำ� เรจ็ หลกั การสำ� คญั ของการปฏริ ปู การศกึ ษา คอื การกระจายอำ� นาจการบรหิ ารและการจดั การศกึ ษา การเปดิ โอกาสใหช้ มุ ชนเขา้ มามสี ว่ นรว่ มในการจดั การศกึ ษา ซง่ึ การดำ� เนนิ การตามหลกั การดงั กลา่ ว จะประสบความสำ� เรจ็ นา่ เชอ่ื ถือ และเป็นทยี่ อมรับของผเู้ กีย่ วข้องและสาธารณชนได้ จำ� เปน็ ต้อง ด�ำเนินการภายใต้สภาพแวดล้อมที่เปน็ ปัจจัยความส�ำเรจ็ ดงั นี้ ๑. ปจั จยั ด้านสถานศึกษา สถานศกึ ษาเปน็ หนว่ ยงานตามกฎหมายทมี่ หี นา้ ทห่ี รอื มวี ตั ถปุ ระสงคใ์ นการจดั การศกึ ษา ซง่ึ สถานศกึ ษาแตล่ ะแห่งมีสภาพแวดลอ้ ม ปัจจยั และวฒั นธรรมแตกตา่ งกัน สถานศกึ ษาจึงจำ� เปน็ 36

ต้องบริหารและจัดการศึกษาให้เหมาะสมกับบริบทของสถานศึกษา เพ่ือให้เป็นการจัดการศึกษา ตลอดชีวิตส�ำหรับประชาชน โดยให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา การพัฒนาสาระและ กระบวนการเรียนรู้เป็นไปอย่างต่อเนื่อง ทั้งน้ี สถานศึกษาควรส่งเสริมการมีส่วนร่วมของ คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ซ่ึงเป็นบทบาทส�ำคัญในการบริหารและการจัดการศึกษา โดยท�ำหน้าที่ ดงั นี้ ๑.๑ เป็นหน่วยงานกลางในการส่งเสริมและประสานงานการศึกษาและด�ำเนินการ ในฐานะเลขานกุ ารของคณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน ๑.๒ ก�ำหนดภารกจิ เปา้ หมาย และแผนส่งเสริมการมสี ว่ นร่วมในภารกจิ งาน ๔ ด้าน ของคณะกรรมการสถานศกึ ษาข้นั พน้ื ฐานใหช้ ดั เจน ๑.๓ จัดระบบกลไก วิธีการ และดำ� เนนิ การให้คณะกรรมการสถานศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน ชุมชน หรือหน่วยงาน/สถาบันต่างๆ ให้มีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาโดยให้ผสมผสานเช่ือมโยง กับสถานศึกษา หนว่ ยงานตา่ งๆ และคณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพ้ืนฐานใหช้ ัดเจน ๑.๔ สรา้ งทีมงานท่ีเขม้ แข็ง สถานศกึ ษาควรสร้างและพฒั นาทมี งาน ท้ังแนวตัง้ และ แนวนอน ให้ทีมงานหรือคณะท�ำงานเข้ามามีส่วนร่วมหรือประสานและบูรณาการกิจกรรมต่างๆ กับคณะกรรมการสถานศึกษาข้นั พนื้ ฐาน หรือชุมชนภายนอก ๑.๕ พฒั นาบคุ ลากรใหเ้ ปน็ มอื อาชพี มกี ารพฒั นาบคุ ลากรใหม้ กี ารพฒั นาในเรอ่ื งตา่ งๆ เชน่ ทกั ษะการจดั ประชุม การวิเคราะหด์ ้วยเหตผุ ล การสรา้ งฉันทานุมตั ิ และความรตู้ า่ งๆ เกี่ยวกับ บทบาทหนา้ ทีแ่ ละการศึกษา เปน็ ตน้ ๑.๖ การสรา้ งฉนั ทานมุ ตั ิ วธิ กี ารบรหิ ารและจดั การศกึ ษาโดยคณะกรรมการสถานศกึ ษา ขนั้ พนื้ ฐานใหส้ ำ� เรจ็ และสง่ ผลดตี อ่ สถานศกึ ษา จะตอ้ งดำ� เนนิ การบนพนื้ ฐานของการสรา้ งฉนั ทานมุ ตั ิ จากกลมุ่ ตา่ งๆ การสรา้ งฉนั ทานมุ ตั ิ เปน็ กญุ แจสำ� คญั ประการหนงึ่ ในการยอมรบั ถงึ พลงั ของผมู้ สี ว่ นรว่ ม ในแต่ละกลุ่ม ๑.๗ การสรา้ งความรู้ ความเขา้ ใจบทบาทหนา้ ที่ สรา้ งความเขม้ แขง็ สรา้ งความเชอื่ มน่ั ใหแ้ กผ่ นู้ ำ� ชมุ ชน คณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน และผเู้ กยี่ วขอ้ ง เปน็ กลไกและเปน็ พลงั ขบั เคลอื่ น สำ� คญั ให้ทุกฝา่ ยสามารถปฏบิ ตั ิงานอยา่ งเปน็ ระบบและมีประสิทธภิ าพ ๒. ปจั จยั ด้านผู้บริหารสถานศึกษา ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษามคี วามสำ� คญั อยา่ งมาก ซงึ่ จะตอ้ งเปน็ ผมู้ บี ทบาทสำ� คญั ตอ่ ความสำ� เรจ็ ในการจัดการศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษาจะเป็นผู้ถ่ายทอดนโยบายในการพัฒนาการศึกษาไปส ู่ การปฏบิ ตั ิ และเปน็ กลไกสำ� คญั ทจี่ ะดำ� เนนิ การและผลกั ดนั ใหก้ ารจดั การศกึ ษาบรรลวุ ตั ถปุ ระสงค์ ผู้บริหารสถานศึกษาจึงมีบทบาทในฐานะนักบริหาร และบทบาทในฐานะผู้น�ำในการบริหารงาน การศกึ ษา โดยการมสี ว่ นรว่ มกบั คณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐานให้ประสบผลสำ� เร็จ ผบู้ รหิ าร สถานศึกษาควรมคี ณุ ลักษณะ ดงั น้ี ๒.๑ มวี สิ ยั ทศั นก์ วา้ งไกล สามารถมองการณไ์ กลและคาดการณแ์ นวโนม้ ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง มองเหน็ ผลกระทบของการเปล่ยี นแปลง สามารถรับรเู้ หตกุ ารณต์ า่ งๆ ทจี่ ะเกิดขึน้ ได้อยา่ งรวดเร็ว สามารถตัดสินใจโดยใชข้ ้อมูลและเหตุผลทเี่ หมาะสม 37

๒.๒ มีความสามารถสร้างทีมงาน มีความตระหนักในคุณค่าของการท�ำงานร่วมกัน มอบหมายงานตามความถนัด สามารถแก้ปัญหาความขัดแย้งในการท�ำงานได้อย่างละมุนละม่อม ท�ำงานเป็นทีมและยกย่องใหเ้ กียรติผรู้ ่วมงาน ๒.๓ มมี นษุ ยสมั พนั ธ์ มที กั ษะในการสอ่ื สาร รบั ฟงั และยอมรบั ความคดิ เหน็ ทแี่ ตกตา่ ง มเี หตผุ ล แสดงออกไดอ้ ย่างเหมาะสมทุกสถานการณ์ และท�ำงานไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพ ๒.๔ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ พร้อมท่ีจะเปลี่ยนแปลงและสามารถน�ำความรู้ไปใช้ ท�ำให้การปฏบิ ตั ิงานประสบผลส�ำเร็จ เกดิ ประสทิ ธิภาพตอ่ สถานศึกษา ๒.๕ มที กั ษะแกป้ ญั หาอยา่ งสรา้ งสรรค์ สามารถเผชญิ ปญั หาอปุ สรรคตา่ งๆ ทง้ั ในสว่ นตวั และการทำ� งาน มองเห็นปญั หาไดอ้ ยา่ งชดั เจนและเลอื กวธิ ีการแกป้ ัญหาได้อย่างเหมาะสม ๒.๖ มีทักษะทางการบริหาร มีความรู้และประสบการณ์ในการบริหาร การวางแผน ควบคุม นเิ ทศ ก�ำกบั ติดตาม และประเมนิ ผลการปฏิบัตงิ าน รวมท้งั การสรา้ งบรรยากาศการท�ำงาน โดยเลอื กใช้วิธกี ารบริหารไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ๒.๗ มคี วามสามารถในการสรา้ งภาคเี ครอื ขา่ ยความรว่ มมอื ทางการศกึ ษาโดยการประสาน หน่วยงาน องค์กรเครือข่าย สร้างพันธสัญญาร่วมกัน บริหารจัดการเครือข่าย พัฒนาและรักษา ความสัมพนั ธ์อยา่ งต่อเนอื่ ง ๓. ปจั จัยด้านคณะกรรมการสถานศึกษาข้นั พ้นื ฐาน คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน เป็นกลุ่มบุคคลหน่ึงท่ีเข้ามามีส่วนร่วม หรือ มสี ว่ นเกย่ี วขอ้ งกบั การบรหิ ารการศกึ ษา ซงึ่ สว่ นใหญจ่ ะเปน็ ตวั แทนจากบคุ คลกลมุ่ ตา่ งๆ เชน่ ผบู้ รหิ าร ข้าราชการ ผู้ปกครองนักเรียน ผู้ทรงคุณวุฒิ ประชาชน ชุมชน บุคคลในท้องถิ่น เป็นต้น ในการปฏิบัติงานของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐานตามบทบาทหน้าที่ให้เกิดผลด ี ต่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษาในทอ้ งถนิ่ ตวั บคุ คลทเ่ี ขา้ มารว่ มงานในคณะกรรมการสถานศกึ ษา ขน้ั พน้ื ฐาน ควรมคี ณุ ลกั ษณะ ดงั น้ี ๓.๑ มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ และความสามารถท่เี กี่ยวกับการศึกษา เชน่ บทบาทหน้าท่ี ของคณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐานในภารกจิ งาน ๔ ดา้ น ไดแ้ ก่ ดา้ นวชิ าการ ดา้ นงบประมาณ ด้านการบริหารงานบคุ คล และด้านการบริหารท่วั ไป เพ่ือให้ค�ำปรึกษา แนะนำ� แสดงความคดิ เห็น ท่เี กี่ยวกับการศึกษาได้ ๓.๒ มีส่วนร่วมในกิจกรรมของสถานศึกษา เช่น เข้าร่วมประชุมอย่างสม่�ำเสมอ มีการน�ำทรัพยากรในชุมชนมาสนับสนุนการพัฒนาการศึกษา สนับสนุนช่วยเหลือนักเรียน ติดต่อ บุคคลหรือภูมปิ ัญญาท้องถิ่นมาเป็นวิทยากร เปน็ ตน้ ๓.๓ เปน็ ผทู้ เี่ สรมิ สรา้ งความสมั พนั ธช์ มุ ชน และสถานศกึ ษา คณะกรรมการสถานศกึ ษา ขน้ั พืน้ ฐาน มกี ารเสริมสรา้ งความสมั พันธ์กบั ชมุ ชนและหนว่ ยงานอ่ืนๆ ในทอ้ งถ่นิ ในการมสี ่วนรว่ ม จดั ทำ� กจิ กรรมรว่ มกนั ระหวา่ งสถานศกึ ษา กบั หนว่ ยงานตา่ งๆ หรอื ชมุ ชน ทอ้ งถน่ิ หรอื การสนบั สนนุ ใหบ้ คุ คลเขา้ มามสี ว่ นรว่ มสนบั สนนุ สถานศกึ ษา จะเปน็ ปจั จยั หนงึ่ ทช่ี มุ ชนไดเ้ ขา้ มามสี ว่ นรว่ มมากขนึ้ 38

๓.๔ เป็นผู้ทมี่ อี ุดมการณ์ในการพัฒนาด้านการศกึ ษาโดยเข้ามาเปน็ อาสาสมัคร เพอื่ ให้คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐานก้าวไปข้างหน้าได้อย่างเป็นระบบ สร้างคุณค่าให้แก่ สถานศกึ ษา อาจกลา่ วไดว้ า่ การมีส่วนร่วมของประชาชนในลักษณะเช่นนี้ ประชาชนหรือชุมชน ได้ใช้ความรู้ ความสามารถ หรือทรัพยากรอ่ืนๆ ในกิจกรรมการพัฒนา จะเปรียบเสมือนการมี ส่วนร่วมแบบยั่งยืน เพราะกระบวนการทป่ี ระชาชนซง่ึ เปน็ สว่ นหนง่ึ ของชมุ ชนและทอ้ งถน่ิ ไดเ้ ขา้ ไป เกย่ี วขอ้ งในการจดั การศกึ ษา โดยรว่ มแสดงความคดิ เหน็ เสนอแนะ รวมทงั้ การแกป้ ญั หาความตอ้ งการ ของชุมชนและท้องถน่ิ โดยมเี ป้าหมายเพือ่ พฒั นาการศึกษาของท้องถน่ิ ใหเ้ จรญิ กา้ วหนา้ ๓.๕ เปน็ ผทู้ ที่ ำ� การประชาสมั พนั ธ์ คณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐานทม่ี คี วามเขา้ ใจ ในการประชาสัมพันธ์ จะเป็นส่วนหน่ึงในการเผยแพร่ผลงานของสถานศึกษาให้ชุมชนรับทราบ ความรแู้ ละผลงานได้ ซึง่ การประชาสัมพันธ์น้อี าจมีลักษณะไมเ่ ป็นทางการ เช่น การสนทนา พูดคุย การยกยอ่ งเชดิ ชเู กียรติ การเล่าเหตุการณ์ เปน็ ตน้ ๔. ปจั จยั ดา้ นการบรหิ ารการศึกษา คณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน มคี วามสำ� คญั ยงิ่ ตอ่ การปฏริ ปู การศกึ ษา เนอ่ื งจาก ประกอบด้วย ผแู้ ทนกลมุ่ บคุ คลที่มีสว่ นเกีย่ วขอ้ งหรอื ผู้มีส่วนไดส้ ว่ นเสียกบั การศกึ ษา เชน่ ผบู้ ริหาร ข้าราชการ ผู้ปกครองนักเรียน ผทู้ รงคณุ วุฒิ ประชาชน ชมุ ชน บคุ คลในท้องถิ่น เป็นต้น ซ่งึ เขา้ มา เป็นผู้สะท้อนปัญหาและความต้องการ และมีส่วนร่วมในการก�ำหนดนโยบาย แผน ทิศทาง ในการจัดการศึกษาในท้องถ่ิน โดยเฉพาะนโยบายปฏิรูปการศึกษาท่ีเน้นการกระจายอ�ำนาจ การบริหารและการจดั การศกึ ษาไปสสู่ ถานศกึ ษา เนน้ ความเปน็ อสิ ระและการมสี ว่ นรว่ มของชมุ ชน การดำ� เนนิ การดังกล่าว จำ� เป็นต้องยดึ หลกั การบริหารการศกึ ษา ดังน้ี ๔.๑ ยึดหลักธรรมาภิบาล (Good Governance) ซึ่งมีหลักการส�ำคัญ ๖ ประการ ไดแ้ ก่ หลกั นติ ธิ รรม หลกั คณุ ธรรม หลกั ความโปรง่ ใส หลกั การมสี ว่ นรว่ ม หลกั ความรบั ผดิ ชอบ และ หลกั ความค้มุ คา่ ๔.๒ ยึดหลักการแบบองค์รวม (Holistic) การด�ำเนินงานของสถานศึกษาและ คณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐานใหเ้ กดิ ประสทิ ธผิ ลอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ จำ� เปน็ อยา่ งยงิ่ ทจี่ ะตอ้ ง ประสานความร่วมมือในการปฏิบัติงานซึ่งกันและกันให้มีลักษณะเป็นองค์รวม (Holistic) และ เกิดการมีส่วนร่วมกับทุกงานท่ีเก่ียวข้องกับคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้บริหาร สถานศกึ ษา คือ “ผเู้ ชอื่ มโยง” ระหว่างคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ในฐานะท่ีท�ำหน้าท่ี เป็นกรรมการและเลขานุการ หรือประธานกรรมการ ควรเป็นผู้ประสานการด�ำเนินการกิจกรรม ตา่ งๆ และผเู้ ชอ่ื มโยงขอ้ มลู สารสนเทศทเี่ ปน็ ขอ้ คดิ เหน็ มตขิ องคณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน ให้สามารถดำ� เนินการไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพและร้อยรัดกนั อยา่ งเป็นองคร์ วม ๕. ปจั จัยดา้ นผู้มีสว่ นไดส้ ่วนเสีย (Stakeholders) ของสถานศกึ ษา ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholders) คือกลุ่มคนท่ีได้รับผลกระทบ หรืออาจได้รับ ผลกระทบจากการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ประกอบด้วย นักเรียน ผู้ปกครอง ศิษย์เก่า 39

หน่วยงาน องค์กรต่างๆ รวมถึงชุมชน โดยกลุ่มคนเหล่าน้ีเป็นส่วนหน่ึงที่จะสะท้อนปัญหา ความต้องการ ซ่ึงมีส่วนร่วมในการให้ข้อคิดเห็น หรือข้อเสนอแนะต่อการพัฒนาการจัดการศึกษา ทีเ่ ปน็ ประโยชน์ ควรมีบทบาท ดังน้ี ๕.๑ มีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็นและให้ข้อเสนอแนะในการบริหารและการจัดการ ศึกษาของสถานศึกษา ๕.๒ มีส่วนร่วมปฏิบัติงานและเข้าร่วมกิจกรรมของสถานศึกษา เช่น การพัฒนา ด้านอาคารสถานท่ี การดูแลรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษา การร่วมจัดกิจกรรมการเรียน การสอนในรปู แบบวทิ ยากรบุคคลภายนอกหรือภมู ิปัญญาท้องถนิ่ ฯลฯ ๕.๓ มีส่วนร่วมในการติดตามผลการด�ำเนินงานของสถานศึกษา เช่น ผลการพัฒนา สถานศึกษา ผลการพฒั นาผ้เู รยี น เป็นต้น ๕.๔ มสี ว่ นรว่ มรบั ผดิ ชอบ ชว่ ยเหลอื สนบั สนนุ ปรบั ปรงุ งานทกุ ๆ ดา้ นของสถานศกึ ษา เช่น รว่ มจดั กิจกรรมนกั เรียน ดา้ นสขุ ภาพอนามัยนกั เรยี น สนบั สนุนทรพั ยากร วัสดุ เงนิ เป็นต้น ดงั นน้ั ความสำ� เรจ็ ของการบรหิ ารและการจดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษา โดยการมสี ว่ นรว่ ม ของคณะกรรมการสถานศึกษาข้นั พื้นฐาน ใหเ้ ปน็ ไปตามเจตนารมณ์ของพระราชบัญญตั กิ ารศกึ ษา แหง่ ชาติ จำ� เปน็ ตอ้ งอาศยั ปจั จยั หลายๆ ปจั จยั ของทกุ ฝา่ ยทจ่ี ะตอ้ งรว่ มมอื กนั ดำ� เนนิ งานอยา่ งจรงิ จงั เพอ่ื เสรมิ สรา้ งความเขม้ แขง็ ของคณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน อนั จะทำ� ใหส้ ถานศกึ ษาพฒั นา คณุ ภาพการศกึ ษา ใหท้ นั โลกในยุคปัจจบุ ันทมี่ กี ารเปลยี่ นแปลงและเจริญก้าวหนา้ ไปอยา่ งรวดเร็ว ข้อควรปฏิบัติ ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ ได้มีการสำ� รวจความคิดเหน็ ของคณะกรรมการสถานศึกษา ข้ันพื้นฐาน สถานศึกษา และผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง และข้อเสนอแนะจากการอภิปรายแลกเปล่ียน ความคดิ เหน็ รว่ มกนั จากการประชมุ เพอื่ ปรบั ปรงุ คมู่ อื การดำ� เนนิ งานของคณะกรรมการสถานศกึ ษา ขน้ั พน้ื ฐาน สงั กดั สำ� นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พบวา่ มสี ภาพปญั หาอปุ สรรคของ การดำ� เนนิ งานที่ผ่านมาระหว่างคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานและสถานศึกษาบางแห่ง จงึ เสนอข้อควรปฏิบตั ิ ดงั นี้ ๑. ด้านคณะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน ๑.๑ ไม่แสวงหาผลประโยชนใ์ นสถานศกึ ษา ๑.๒ ให้ความสนใจและปฏิบัติหน้าที่ของตนเองโดยไม่แทรกแซงการปฏิบัติงานของ สถานศึกษา ๑.๓ ควรอุทิศเวลาในการปฏิบตั ิหนา้ ที่ ๒. ดา้ นสถานศึกษา ๒.๑ ควรก�ำหนดจ�ำนวนคร้ังของการประชุมท่ีแน่นอนและต้องมีกรรมการครบ องคป์ ระชมุ ๒.๒ ควรจัดกจิ กรรมการระดมทรัพยากรอยา่ งเหมาะสมและถูกต้องตามกฎหมาย 40


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook