Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การเรียนรู้บนฐาน Growth mindset based learning

การเรียนรู้บนฐาน Growth mindset based learning

Published by educat tion, 2021-04-18 05:07:15

Description: Growth mindset based learning_1583846087

Search

Read the Text Version

การเรยี นร้บู นฐาน Growth mindset Growth mindset - based Learning รองศาสตราจารย์ ดร.วชิ ยั วงษ์ใหญ่ รองศาสตราจารย์ ดร.มารุต พฒั ผล บณั ฑติ วิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ

การเรยี นร้บู นฐาน Growth mindset Growth mindset - based Learning รองศาสตราจารย์ ดร.วชิ ัย วงษ์ใหญ่ รองศาสตราจารย์ ดร.มารตุ พัฒผล บณั ฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรนี ครนิ ทรวิโรฒ

การเรยี นร้บู นฐาน Growth mindset: Growth mindset - based Learning รองศาสตราจารย์ ดร.วิชัย วงษใ์ หญ่ รองศาสตราจารย์ ดร.มารุต พัฒผล พมิ พ์เผยแพร่ มีนาคม 2563 แหลง่ เผยแพร่ ศนู ย์ผู้นำนวัตกรรมหลักสตู รและการเรยี นรู้ บณั ฑติ วทิ ยาลัย มหาวิทยาลยั ศรีนครนิ ทรวโิ รฒ, กรุงเทพมหานคร และ www.curriculumandlearning.com พิมพ์ท่ี บัณฑิตวิทยาลยั มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครินทรวโิ รฒ, กรุงเทพมหานคร ลิขสิทธิ์ หนังสือเล่มนไี้ มม่ ีลขิ สิทธ์ิ จดั พิมพ์เพื่อการใชป้ ระโยชน์ ทางหลักสตู รการเรียนการสอนในสถานศกึ ษา และส่งเสรมิ สังคมแห่งการเรียนรแู้ ละการแบง่ ปัน

คำนำ หนังสือ “การเรียนรู้บนฐาน Growth mindset” เล่มน้ี เข ี ยนข ึ ้ นโ ดย ม ี ว ั ตถ ุ ประส งค ์ เพ่ื อนำเส นอ แนว ค ิ ด แล ะแนว ปฏ ิ บ ั ติ ของการเรียนรู้บนฐาน Growth mindset แก่ผู้สอนและผู้เกี่ยวข้องกับ การจัดการเรียนรู้เพื่อนำไปใช้เป็นแนวทางในการออกแบบการจัดการ เรียนรู้บนฐาน Growth mindset หวังเป็นอย่างยิ่งว่าหนังสือเล่มนี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่เกี่ยวข้อง ไดม้ ากพอสมควร รองศาสตราจารย์ ดร.วิชยั วงษใ์ หญ่ รองศาสตราจารย์ ดร.มารตุ พฒั ผล

สารบญั 1 1 1. บทนำ 3 2. กระบวนทัศน์การเรียนรู้ในโลกยุคใหม่ 4 3. ผ้เู รียนยุคดิจทิ ัล 7 4. การเรียนรู้บนฐาน Growth mindset 8 5. บทสรปุ บรรณานกุ รม

1 การเรียนร้บู นฐาน Growth mindset Growth mindset - based Learning 1. บทนำ การเรยี นรแู้ บบ Passive ขาด Growth mindset ในส่ิงที่ ผู้เรียนกำลังเรียนรู้ เป็นการเรียนรู้ที่ไร้พลัง ตรงกันข้ามกับการเรียนรู้ แบบ Active ที่ผู้เรียนมีความกระตือรือร้น ตอบสนองธรรมชาติ ของผู้เรียน จะเป็นการเรียนรู้ที่มีพลัง ผู้เรียนมี Growth mindset ในการปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้อย่างมีความสุข การจัดการเรียนรู้ ที่สอดคล้องกับบริบทสังคมปัจจุบันต้องเป็นการเรียนรู้ที่มีพลัง โดยเฉพาะพลังทางความคดิ (Thinking power) 2. กระบวนทศั น์การเรยี นรู้ในโลกยคุ ใหม่ โลกปัจจุบนั มคี วามเจริญก้าวหนา้ ทางเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร (digital technology) อย่างมาก มีความรู้และ นวัตกรรมมากมายแขวนอยู่ในโลกออนไลน์ที่คนส่วนใหญ่สามารถ

2 เข้าถึงได้ โดยใช้เครื่องมือต่างๆ เช่น Smart Phone, Tablet, Computer เป็นต้นมี Application ต่างๆ มากมายที่ตอบสนองความ ต้องการท่จี ะเรียนร้ทู ีห่ ลากหลายของผ้คู นในสงั คม ความรู้ที่เคยบรรจุไว้ในหนังสือ ตำรา และเอกสารต่างๆ และวางอยู่ใน ตู้หนังสือ ในห้องสมุด ถูกแปลงมาเป็นไฟล์ดิจิทัล (digital) หรือเอกสารออนไลน์ในรูปแบบต่างๆ ซึ่งมีทั้งที่สามารถ เข้าถึงไดโ้ ดยไมม่ ีค่าใชจ้ ่ายและท่ีตอ้ งเสยี คา่ ใช้จ่าย นอกจากนี้ยังมีการเรียนรู้ตามหลักสูตรของ สถาบันการศึกษาต่างๆ ทั้งในและต่างประเทศ ในรูปแบบของการ เรียนรู้ออนไลน์ (online learning) ข้ามซีกโลกก็ยังสามารถเรียนรู้ แบบ real time ได้ เรียกได้ว่าเป็นการเรียนรู้ที่ไร้พรมแดนอย่าง แท้จริง ไมม่ ีข้อจำกดั ใดๆ สามารถเรยี นรู้ได้ทกุ เวลาและสถานท่ี นอกจากการเรียนรู้จะไร้พรพมแดนแล้ว การทำงานยิ่งไร้ พรหมแดนมากกวา่ ที่เราสามารถทำงานรว่ มกบั เพอื่ นรว่ มงาน ทอ่ี ยู่ใน โลกออนไลน์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ Office จะสามารถเคล่ือนที่ไปในที่ ต่างๆ ได้ หากมีสัญญาณ internet ไม่ต้องนั่งประจำอยู่ที่โต๊ะ ไม่ต้อง ตอกบัตรลงเวลา ไม่ต้องเดินทาง แต่สามารถสร้าง ผลผลิต (productivity) ของงานไดต้ ามมาตรฐานทีก่ ำหนด

3 จากการที่โลกของเรามีความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ดิจิทัลดังกล่าว ส่งผลกระทบทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิต วิถีการ ทำงาน รวมถงึ วถิ ีการเรียนรู้ (way of learning) ด้วยเช่นกนั โดยเฉพาะ อย่างยง่ิ ผ้เู รยี นในยุคดจิ ทิ ัล 3. ผ้เู รยี นยดุ ดจิ ิทลั ผู้เรียนในยุคดิจิทัล (Digital age) ได้ใช้ Smart Phone และ Tablet เป็นเครื่องมือที่สำคัญสำหรับการเรียนรู้สิ่งต่างๆ ตาม ความสนใจของตนเอง และนำสิ่งที่ได้เรียนรู้มาใช้พัฒนาคุณภาพชีวิต ประสิทธิภาพของการทำงาน การแก้ไขปัญหาต่างๆ ตลอดจนการ สรา้ งสรรคน์ วัตกรรมทเ่ี ปน็ ประโยชน์ตอ่ ตนเองและสงั คม การเรียนรู้ของผู้เรียนยุคดิจิทัล มีความแตกต่างไปจากเดิม เนื่องจากความรู้ในทุกวันนี้ไม่ได้อยู่เฉพาะที่ผู้สอนแต่เพียงผู้เดียว อีกต่อไป ตรงกันข้าม ความรู้มีอยู่ทุกที่และสามารถเข้าถึงได้ ทุกเวลา และเป็นการเรียนรู้ที่ตอบสนองความต้องการของผู้เรียน รายบุคคล ผู้เรียนมี Growth mindset ในการเรียนรู้ มีความมุ่งม่ัน ความอยากรู้ และใช้ความพยายามในการเรียนรู้อยา่ งเตม็ ท่ี

4 4. การเรียนรูบ้ นฐาน Growth mindset ด้วยเหตุนี้จึงมีคำถามที่น่าสนใจซึ่งจะนำไปสู่ การ เปลี่ยนแปลงกระบวนการทางความคิด (Mindset shift หรือ Mind shift) ที่มีต่อการเรียนรู้ จากเดิมไปสู่สิ่งใหม่ที่เรียกว่า Growth mindset คำถามท่นี ำไปสู่ mind shift - การเรยี นรูใ้ นสงั คมยคุ ปัจจบุ ันควรเป็นอยา่ งไร - การเรียนรตู้ ้องเกดิ ข้ึนทโ่ี รงเรียนเทา่ นน้ั หรือไม่ - หอ้ งเรียนยุคใหมค่ วรเป็นอย่างไร - ครยู ุคใหมจ่ ะโค้ชผู้เรยี นได้ดีท่ีสุดอยา่ งไร - ผเู้ รียนยงั จะตอ้ งเรียนรู้กับผู้สอนอีกหรือไม่ - เราจะใชเ้ ทคโนโลยีดจิ ิทลั เพ่อื การเรยี นรูอ้ ยา่ งไร การตั้งคำถามและตอบคำถามดังกล่าวจะช่วยทำให้เรา ทุกคนได้คิดใคร่ครวญ (Reflection) สิ่งที่เคยปฏิบัติกันมาและ

5 เปลี่ยนแปลงไปสู่สิ่งที่ดีขึ้น โดยไม่ละทิ้งรากฐานทางสังคม และวฒั นธรรมท่ดี งี ามของเรา เมื่อเราตั้งและตอบคำถามได้ถูกต้องชัดเจนแล้ว สิ่งที่จะ เกิดขึ้นตามมา คือ การเปลี่ยนแปลงกระบวนการทางความคิด (mindset) จากเดิมที่เราคิดแบบเดิมๆ ทำแบบเดิมๆ (Mindset) มา เป็นกระบวนการทางความคิดเพื่อการเติบโต (Growth mindset) ดงั ต่อไปนี้ ตาราง 1 Mindset และ Growth Mindset ของการเรียนรู้ การเรียนร้แู บบท่วั ไป การเรียนรู้ (Mindset เดมิ ) บนฐาน Growth mindset - จดุ ประสงค์การเรียนรมู้ ีเพยี ง - จดุ ประสงค์การเรยี นรมู้ ีความ หนง่ึ เดยี วและไดร้ ับการกำหนด หลากหลายตามระดบั มาจากผู้สอน ความสามารถของผ้เู รยี น - การเรียนรู้เกดิ ไดเ้ ฉพาะในห้องเรยี น - อยตู่ รงไหนกเ็ รยี นรไู้ ด้ - การเรยี นรูต้ ้องผา่ นผู้สอนเทา่ น้นั - เรยี นรู้จากบคุ คลต่างๆ - ภาระงานไดร้ ับมอบหมาย - ผูเ้ รยี นออกแบบภาระงาน จากผู้สอน ของตนเอง - ผู้สอนหาความรูม้ าถ่ายทอด - ผูเ้ รียนแสวงหาความรทู้ ีต่ นสนใจ แกผ่ ู้เรยี น

6 ตาราง 1 (ต่อ) การเรยี นรู้แบบ Mindset การเรยี นรแู้ บบ Growth mindset - ผสู้ อนกำกบั กระบวนการเรียนรู้ - ผู้เรยี นใช้วนิ ยั ในการเรยี นรู้ - เน้นผลลพั ธ์การเรียนรู้ - เน้นกระบวนการเรยี นรู้ไปสู่ - ใชว้ ธิ ีการสอบเดียวกับผเู้ รียนทง้ั ชนั้ ผลลัพธ์ - กำหนดชว่ งเวลาเรียนแน่นอน - ใช้วธิ กี ารสอดคลอ้ งกบั ผู้เรยี น แตล่ ะคน - ผเู้ รยี นเลือกชว่ งเวลาเรียนเอง - ผู้สอนสง่ั ให้ผเู้ รียนทำกจิ กรรม - ผู้สอนโคช้ ผเู้ รยี น - เรียนร้ตู ามแผนทกี่ ำหนดตายตวั - เรยี นรู้ตามสภาพจรงิ - ผู้สอนประเมนิ ตดั สนิ การเรียนรู้ - ประเมนิ เพอ่ื พัฒนาการเรยี นรู้ - มาตรฐานการประเมินมเี พยี ง - ผเู้ รยี นกำหนดมาตรฐาน มาตรฐานเดยี วท่กี ำหนดโดยผ้สู อน การประเมินของตนเอง และยกระดบั สูงขึน้ - วเิ คราะห์จดุ บกพร่องจากภายนอก - สะทอ้ นคดิ สูก่ ารเปลย่ี นแปลง จากภายใน

7 5. บทสรุป การเรยี นร้บู นฐาน Growth mindset เปน็ การเรยี นรู้แบบใหม่ ที่ตอบสนองความต้องการและธรรมชาติของผู้เรียนได้อย่างแท้จริง เป็นการเรียนรู้ที่ตอบสนองคุณลักษณะการใฝ่รู้ของผู้เรียน ส่งเสริมการ เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ในระยะยาว ผู้สอนและผู้เกี่ยวข้องควร ตระหนักและให้ความสำคัญกับการเรียนรู้บนฐาน Growth mindset เพอ่ื เปดิ พน้ื ทกี่ ารเรียนรู้เชิงสรา้ งสรรค์ให้กับผ้เู รยี นทกุ คน

8 บรรณานุกรม Dweck, C. (2008). Mindset. New York, NY: Ballantine Books. Dweck, C. (2012). Mindset: How You Can Fulfill Your Potential. London: Robinson. Dweck, C. (2012) “Mindset and Malleable Minds: Implications for Giftedness and Talent” In Malleable Minds: Translating Insight from Psychology and Neuroscience to Gifted Education. Subotnik, R., Robinson, A., Callahan, C., Gubbins, E., Eds., National Research Center on the Gifted and Talented, University of Connecticut: Storrs, CT, pp. 7 – 18. Dweck, C., Walton, G. and Cohen, G. (2014). Academic Tenacity: Mindset and Skills that Promote Long – Term Learning. Seattle, WA: Bill & Melinda Gates Foundation. Education Week Research Center. (2016). Mindset in the Classroom: A National Study of K-12 Teachers. Bethesda, MD: Editorial Projects in Education Inc.

การเรยี นรู้บนฐาน Growth mindset เป็นการเรยี นรแู้ บบใหมท่ ี่ตอบสนองความตอ้ งการ และธรรมชาตขิ องผเู้ รียนไดอ้ ยา่ งแทจ้ ริง