Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Pra-Parit-Book

Pra-Parit-Book

Published by morakot panpichit, 2020-01-29 05:26:24

Description: Pra-Parit-Book

Search

Read the Text Version

สุดยอดบทสวด 12 ตาํ นาน “ พระปริตร ” รบั มหาพร 12 ประการ ยาขนานเอกทางพุทธศาสนา ผใู ดหมน่ั สวดพระปริตรเปนนิจ ผูน้นั จะรอดจากภัยพิบตั ิ ผอ นทกุ ขห นักใหเปนเบา!! ...ขอบพระคุณ... วิทยาลัยศาสนศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั มหิดล ทง้ั คณาจารยแ ละคณะศิษยเกา ทุกทาน ท่เี อ้อื เฟอ เน้ือมนตและคาํ แปล และคําแนะนาํ ท่ดี ีในการจดั ทําหนงั สือสวดมนตคร้ังนี้

คํานํา หนังสอื \"สุดยอดบทสวด 12 ตํานานพระปริตร\" เลม นี้ เกิดขน้ึ จากความตั้งใจของทีมงานเวบ็ ไซตส ยาม คเณศ ทตี่ อ งการรวบรวมเอกสาร บทสวดมนตร ธรรมะและหลักปรชั ญาอันลึกซง้ึ ในศาสนาพุทธ เขา ไว ดวยกนั แลวจดั ทําเปนเอกสารชนดิ PDF เพื่อเผยแพรบ นเครือขายอนิ เตอรเน็ต ใหศ าสนกิ ชนไดร บั ไป อาน ศึกษา ปฏิบัติ ใหเขาถึงซ่ึงบทสวดและธรรมะอนั เปนมงคล แมวาบทสวดมนตรและหนังสือธรรมะตา งๆ จะสามารถหาซอ้ื ไดต ามแผงหนงั สือทว่ั ไปก็ตาม แตใน ภาวะเศรษฐกจิ เชนน้ี การท่ีผศู รัทธาสามารถดาวนโ หลดไฟลหนงั สือมาอานไดฟรี โดยไมตอ งเสีย คาใชจ า ยใดๆ กย็ อ มสะดวก ประหยัด เกิดประโยชนสงู กวา สามารถเกบ็ ออมเงินในกระเปา เพ่ือนําไปทํา ทานและใชสรางประโยชนแ กสังคมไดมากข้นึ เว็บไซตสยามคเณศ และ สํานักพิมพส ยามคเณศ ไดด าํ เนินการผลิตสื่อเวบ็ ไซต ส่งิ พิมพต างๆ ที่เนน เผยแพรค วามรูเก่ียวกับเทพเจาและคําสอนในศาสนาพราหมณ-ฮินดู มาโดยตลอด แตผ ศู รัทธาทบี่ ชู า เทพเจา ฮนิ ดใู นประเทศไทยสวนใหญก ค็ อื พทุ ธศาสนิกชน ท่ีหันมาบชู าเทพเจา ของฮนิ ดดู วยความ ศรัทธาในพระบารมแี ละเพ่อื ขอพรใหเปน สริ ิมงคลแกต น และพทุ ธศาสนกิ ชนสว นใหญกย็ อมไมเปลี่ยน วถิ ีชวี ิตและความศรทั ธาไปนบั ถอื ศาสนาฮนิ ดู อีกท้งั ทีมงานสยามคเณศหลายๆ ทานก็นับถอื ศาสนา พทุ ธ การท่ีเวบ็ ไซตส ยามคเณศไดเ ผยแพรทั้งความรูในศาสนาพราหมณ-ฮนิ ดู และศาสนาพทุ ธควบคู กนั ไป โดยไมเกบ็ คาใชจา ยใดๆ กย็ อ มกอ ใหเกิดประโยชนกับผูศรัทธามากกวา เพราะเราเช่ือวา ธรรมะ คาํ สอนของทุกศาสนาในโลก เปน สงิ่ ทปี่ ระเสริฐย่งิ สมควรเผยแพรแ ละอนรุ ักษไวไมใ หส ญู หาย แมว า เทคโนโลยีจะกาวหนาไปเพียงใดก็ตาม โครงการรวบรวมบทสวดมนตร ธรรมะและปรัชญาในพทุ ธศาสนา จดั ทําเปน เอกสารและเผยแพรใน เวบ็ ไซตส ยามคเณศ จะเปน ภารกิจทีท่ ีมงานสยามคเณศกระทาํ อยางเครง ครดั ควบคไู ปกบั การเผยแพร ศาสนาพราหมณ- ฮนิ ดู ใหป ระชาชนชาวไทยผศู รัทธาไดม ที างเลอื กในการศกึ ษาตอ ไป ขอใหผอู านทุกทานจงมคี วามสุข...บุญรักษาครับ ...สยามคเณศ... สํานกั พิมพสยามคเณศ | เว็บไซต www.Siamganesh.com [email protected] | twitter.com/siamganesh

ยาวเิ ศษ มนตรม หัศจรรย !! 1. มงคลปรติ ร สวดบูชาใหพ นจาก ส่ิงอัปมงคลช่ัวรา ย 2. รัตนปริตร สวดบูชาใหพน จาก ความทุกขโศก 3. เมตตปริตร สวดบชู าใหพนจาก ความตกตาํ่ ในชีวิต 4. ขันธปรติ ร สวดบชู าใหพน จาก อสรพิษ สัตวราย 5. โมรปรติ ร สวดบูชาใหพ นจาก ผูคิดรา ย การฉอ โกง 6. วัฏฏกปริตร สวดบูชาใหพน จาก อคั คภี ยั 7. ธชัคคปริตร สวดบชู าใหพนจาก อันตรายจากความเสยี่ ง 8. อาฏานาฏยิ ปริตร สวดบูชาใหพน จาก อมนุษย ภูตผี วิญญาณราย 9. องั คุลีมาลปริตร สวดบชู าใหพ นจาก การแทงบุตร คลอดบตุ รงาย 10. โพชฌงั คปรติ ร สวดบชู าใหพ น จาก โรคราย สุขภาพแข็งแรง 11. อภัยปรติ ร สวดบชู าใหพนจาก ภยั พิบัติทัง้ ปวง ใหเกดิ ความสุขสวัสดิ์ 12. ชัยปริตร สวดบูชาใหพ นจาก ความพา ยแพ มชี ัยชนะเหนือความช่วั ราย เวบ็ ไซต www.Siamganesh.com [email protected] | twitter.com/siamganesh

พระปริตร มนตรปกปอ งคมุ ครอง \"บทสวดมนตรสิบสองตํานาน\" เดมิ ชอื่ วา \"พระปรติ ร\" หมายถึง \"เครอื่ ง คมุ ครอง\" อันเปน บทสวดมนตรที่มคี วามศักดิ์สิทธ์ิและสําคัญมากในพุทธศาสนา มใี ชมาต้ังแตสมยั พุทธกาล เปนการสวดพระพทุ ธวจนะ ใหคุมครองปองกนั ภัยแก ผูสวด ใหเ กดิ ความสขุ สวัสด์ิ ผอนภัยรายใหเปน เบา พระปรติ ร ท่ีใชสวดกัน มีอยู 2 แบบ คือ - จุลฺลราชปริตตฺ : ราชปริตรนอย 7 ตํานาน (พุทธมนตรเ จ็ดตํานาน) - มหาราชปริตตฺ : ราชปรติ รใหญ 12 ตาํ นาน (พุทธมนตรสิบสองตํานาน) พระปริตรนั้นมีปรากฏในพระไตรปฏก คือ - เมตตปรติ ร มใี นขุททกปาฐะ และสตุ ตนิบาต - ขันธปริตร มีในองั คตุ ตรนกิ าย จตุกกนิบาต และ ชาดก ทกุ นิบาต - โมรปริตร มใี นชาดก ทกุ นิบาต - อาฏานาฏิยปริตร มีในทฆี นกิ าย ปาฏิกวรรค - โพชฌังคปริตร มใี นสังยตุ ตนิกาย มหาวรรค - รัตนปริตร มใี นขทุ ทกปาฐะ และสุตตนิบาต - วฏั ฏกปริตร มใี นชาดก เอกนิบาต และจริยาปฏก - มงั คลปรติ ร มใี นขุททกปาฐะ และสุตตนบิ าต - ธชคั คปริตร มีในสังยุตตนิกาย สคาถวรรค - อังคุลิมาลปรติ ร มีในมชั ฌมิ นกิ าย มชั ฌมิ ปณ ณาสก เวบ็ ไซต www.Siamganesh.com [email protected] | twitter.com/siamganesh

นมัสการพระรตั นตรยั อมิ นิ า สักกาเรนะ พทุ ธงั อะภปิ ชู ะยามิ อมิ นิ า สักกาเรนะ ธมั มัง อะภิปชู ะยามิ อิมนิ า สักกาเรนะ สังฆงั อะภปิ ูชะยามิ ฯ กราบพระรตั นตรัย อะระหงั สมั มาสัมพทุ โธ ภะคะวา พทุ ธัง ภะคะวนั ตัง อะภิวาเทมิ (กราบ) สวากขาโต ภะคะวะตา ธมั โม ธมั มัง นะมสั สามิ (กราบ) สุปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ สงั ฆังนะมามิ (กราบ) นมัสการพระพุทธเจา นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสมั พุทธัสสะ นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สมั มาสัมพทุ ธัสสะ นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพทุ ธัสสะ ฯ ขอขมาพระรตั นตรยั วันทามิ พุทธงั สัพพะเมโทสงั ขะมะถะเม ภันเต วนั ทามิ ธมั มัง สพั พะเมโทสัง ขะมะถะเม ภันเต วันทามิ สงั ฆงั สพั พะเมโทสัง ขะมะถะเม ภันเต ฯ

นมสั การไตรสรณคมน พุทธงั สะระณงั คจั ฉามิ | ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ | สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ทตุ ยิ ัมป พุทธัง สะระณงั คัจฉามิ ทุติยมั ป ธมั มงั สะระณงั คัจฉามิ ทุตยิ ัมป สังฆงั สะระณัง คัจฉามิ ตะตยิ มั ป พุทธัง สะระณัง คจั ฉามิ ตะตยิ ัมป ธมั มัง สะระณงั คัจฉามิ ตะติยัมป สังฆงั สะระณัง คัจฉามิ บทสรรเสริญพระพุทธคุณ อติ ปิ  โส ภะคะวา อะระหัง สมั มาสัมพทุ โธ วชิ ชาจะระณะสัมปนโน สุคะโต โลกะวทิ ู อะนตุ ตะโร ปุริสสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมนุสสานัง พทุ โธ ภะคะวาติ ฯ บทสรรเสรญิ พระธรรมคุณ สวากขาโต ภะคะวะตา ธมั โม สนั ทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหปิ ส สโิ ก โอปะนะยโิ ก ปจ จตั ตัง เวทิตพั โพ วิญหู ีติ ฯ บทสรรเสรญิ พระสังฆคุณ สุปะฏปิ นโน ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ อุชุปะฏิปน โน ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ ญายะปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สามจี ิปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ยะทิทงั จัตตาริ ปรุ ิสะยุคานิ อฏั ฐะ ปุริสะปุคคะลา เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทกั ขิเณยโย อญั ชะลกี ะระณโี ย อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ ฯ

พระคาถาขา ยเพชรพระพุทธเจา ชาโล มหาชาโล ชาลัง มหาชาลงั ชาลิเต มหาชาลิเต ชาลติ ัง มหาชาลติ งั มตุ เต มตุ เต สัมปต เต มุตตัง มุตตัง สัมปตตัง สตุ งั คะมิติ สุตงั คะมิติ มัคคะยีติ ทิฏฐิลา ทัณฑะลา มัณฑะลา โรคิลา กะระลา ทุพพะลา ริตติ รติ ติ กติ ติ กิตติ มิตติ มิตติ จติ ติ จติ ติ มตุ ติ มตุ ติ จุตติ จุตติ ธาระณี ธาระณีติ อทิ ัง ธาระณะ ปะรติ ตังฯ คาํ อธบิ าย : พระคาถาขายเพชรพระพทุ ธเจา นี้ มีความศักดสิ์ ทิ ธิย์ ง่ิ ยวด สืบทอด มาแตส มยั พทุ ธกาล โดยสมเดจ็ พระสัมมาสมั พทุ ธเจาไดพ ระราชทานใหพระ อานนทมหาเถระ ผูท่ีสวดภาวนาพระคาถาขายเพชรพระพุทธเจาอยูเปนนิตย จะ พนจากความยากลาํ บาก ความขัดสน ความเจบ็ ไขไดป ว ย ตลอดจนจะประสบ ความเจริญรุง เรืองในทกุ ๆ ดานของชวี ิต อกี ทง้ั พระคาถานีย้ ังสามารถใชสวดเพ่ือ ทํานา้ํ พระพุทธมนต ใชบริกรรมเพื่อเสกเปาใหหายจากการเจ็บปวย ใหแ คลว คลาดจากภยันตรายตางๆ ผูใดหม่ันสวดพระคาถาขายเพชรพระพุทธเจาทุกวัน ทกุ คืน อมนษุ ยและมนุษยผ ูคดิ ช่วั จะมิบังอาจกลา กลาํ้ กลาย

นมการสทิ ธิคาถา คําอธิบาย : พระนิพนธของสมเด็จพระมหาสมณเจากรมพระยาวชิรญาณวโรรส เนือ้ มนตคอื การนอบนอ มคณุ พระศรีรัตนตรยั และขออาํ นาจพระศรีรตั นตรัยให ปกปกรักษาผูสวดใหมีความปลอดภัย ทําลายอัปมงคลและผคู ิดรายใหส้ิน อีกทั้ง ขอใหดลบนั ดาลความสําเร็จใหเกิดข้นึ เมื่อประกอบกิจกรรมทง้ั ปวง โย จกั ขุมา โมหะมะลาปะกัฎโฐ | สามัง วะ พทุ โธ สคุ ะโต วิมุตโต มารสั สะ ปาสา วนิ ิโมจะยันโต | ปาเปสิ เขมัง ชะนะตัง วเิ นยยังฯ พุทธงั วะรนั ตัง สิระสา นะมามิ | โลกัสสะ นาถญั จะ วินายะกัญจะ ตันเตชะสา เต ชะยะสทิ ธิ โหตุ | สัพพันตะรายา จะ วนิ าสะเมนตุฯ ธัมโม ธะโช โย วยิ ะ ตสั สะ สัตถุ | ทัสเสสิ โลกัสสะ วสิ ุทธมิ ัคคัง นิยยานิโก ธัมมะธะรสั สะ ธารี | สาตาวะโห สนั ติกะโร สุจิณโณฯ ธมั มงั วะรันตัง สิระสา นะมามิ | โมหปั ปะทาลัง อุปะสันตะทาหงั ตนั เตชะสา เต ชะยะสทิ ธิ โหตุ | สพั พันตะรายา จะ วนิ าสะเมนตฯุ สทั ธมั มะเสนา สุคะตานุโค โย โลกสั สะ ปาปูปะกเิ ลสะเชตา สนั โต สะยัง สันตนิ โิ ยชะโก จะ สะวากขาตะธัมมัง วิทติ ัง กะโรตฯิ สงั ฆัง วะรนั ตัง สิระสา นะมามิ พุทธานุพทุ ธัง สะมะสีละทิฏฐิง ตันเตชะสา เต ชะยะสิทธิ โหตุ สพั พันตะรายา จะ วนิ าสะเมนตุฯ

1. มงคลปรติ ร (มงคลสตู ร) สวดบูชาใหพน จากส่ิงอัปมงคล เนอื้ มนตกลาวถงึ หลักปฏิบตั ทิ ่ชี วยสงเสรมิ ใหช ีวิตมแี ตส ิริมงคล มีความสุข ความเจริญสูงสดุ ถึง 38 ประการ เอวัมเม สตุ งั ฯ เอกงั สะมะยัง ภะคะวา สาวัตถิยัง วิหะระติ เชตะวะเน อะนา ถะปณฑิกัสสะ อาราเม ฯ อะถะโข อญั ญะตะรา เทวะตา อะภิกกันตายะ รตั ติยา อะภิกกันตะวัณณา เกวะละกปั ปง เชตะวะนัง โอภาเสตวา เยนะ ภะคะวา เตนุ ปะสังกะมิ อปุ ะสงั กะมิตวา ภะคะวันตัง อะภวิ าเทตวา เอกะมันตัง อัฏฐาสิ ฯ เอกะ มันตัง ฐติ า โข สา เทวะตา ภะคะวันตงั คาถายะ อัชฌะภาสิ พะหู เทวา มะนุสสา จะ มงั คะลานิ อะจนิ ตะยงุ อากังขะมานา โสตถานัง พรหู ิ มงั คะละมตุ ตะมัง ฯ อะเสวะนา จะ พาลานัง ปณฑติ านัญจะ เสวะนา ปชู า จะ ปชู ะนยี านัง เอตัมมังคะละมตุ ตะมัง ฯ ปะฏิรูปะเทสะวาโส จะ ปุพเพ จะ กะตะปุญญะตา อัตตะสมั มาปะณิธิ จะ เอตัมมังคะละมุตตะมงั ฯ พาหุสจั จัญจะ สิปปญจะ วนิ ะโย จะ สุสิกขิโต สุภาสิตา จะ ยา วาจา เอตมั มังคะละมุตตะมัง ฯ มาตาปตุอุปฏฐานัง ปุตตะทารสั สะ สังคะโห อะนากลุ า จะ กัมมันตา เอตัมมงั คะละมุตตะมัง ฯ ทานญั จะ ธมั มะจะริยา จะ ญาตะกานญั จะ สังคะโห อะนะวัชชานิ กมั มานิ เอตมั มังคะละมตุ ตะมัง ฯ

ขันตี จะ โสวะจสั สะตา สะมะณานัญจะ ทสั สะนัง กาเลนะ ธัมมะสากจั ฉา เอตมั มังคะละมตุ ตะมัง ฯ ตะโป จะ พรัหมะจะริยัญจะ อะรยิ ะสัจจานะ ทสั สะนงั นพิ พานะสัจฉิกิรยิ า จะ เอตมั มังคะละมุตตะมัง ฯ ผฏุ ฐัสสะ โลกะธมั เมหิ จติ ตัง ยสั สะ นะ กัมปะติ อะโสกัง วิระชงั เขมัง เอตัมมังคะละมุตตะมัง ฯ เอตาทสิ านิ กัตวานะ สัพพัตถะมะปะราชติ า สพั พตั ถะ โสตถิง คัจฉันติ ตันเตสงั มังคะละมตุ ตะมันติ ฯ คาํ แปล มงคลปริตร : ขาพเจา (คือพระอานนทเถระ) ไดสดับมาแลวอยา งนี้ สมยั หนึ่ง สมเด็จพระผูมี พระภาคเจาเสด็จประทบั อยทู ี่เชตวันวิหาร อารามของอนาถบณิ ฑิกเศรษฐี ใกล เมืองสาวตั ถคี ร้ังน้ันแลเทพดาองคใ ดองคหนึ่ง ครั้งเมื่อราตรีปฐมยามลว งไปแลว มี รศั มีอันงามย่ิงนัก ยงั เชตวนั ทัง้ ส้ินใหสวา ง พระผมู ีพระภาคเจาเสด็จประทับอยู โดยท่ใี ด กเ็ ขา ไปเฝา โดยที่น้นั คร้ันเขา ไปเฝาแลว จึงถวายอภวิ าทพระผมู พี ระภาค เจา แลวไดยืนอยูใ นทา มกลางสวนขา งหนึ่ง ครั้นเทพดาน้ันยนื ในท่ีสมควรสวนขาง หนง่ึ แลวแล ไดท ูลพระผมู ีพระภาคเจา ดวยคาถาวา หมูเทวดาและมนษุ ยเปน อันมาก ผูหวังความสวัสดี ไดคิดหามงคลทงั้ หลาย ขอ พระองคจ งเทศนามงคลอันสงู สุด - ความไมคบชนพาลท้ังหลาย ๑ ความคบบณั ฑติ ท้ังหลาย ๑ ความบชู าชนควร บชู าทงั้ หลาย ๑ ขอน้ีเปนมงคลอันสงู สดุ , - ความอยใู นประเทศอันสมควร ๑ ความเปนผูมบี ุญอนั ทาํ แลว ในกาลกอ น ๑ ความตงั้ ตนไวช อบ ๑ ขอนี้เปนมงคลอันสงู สดุ , - ความไดฟ งแลวมาก ๑ ศิลปศาสตร ๑ วนิ ัยอันชนศึกษาดีแลว ๑ วาจาอันชน กลา วดแี ลว ๑ ขอน้เี ปนมงคลอนั สงู สดุ ,

- ความบํารงุ มารดาและบิดา ๑ ความสงเคราะหล ูกและเมยี ๑ การงานทง้ั หลายไม อากลู ๑ ขอ น้ีเปนมงคลอนั สงู สุด, - ความให ๑ ความประพฤตธิ รรม ๑ ความสงเคราะหญาติทั้งหลาย ๑ กรรม ทัง้ หลายไมมโี ทษ ๑ ขอนเ้ี ปน มงคลอันสูงสดุ , - ความงดเวน จากบาป ๑ ความสาํ รวมจากการด่ืมนา้ํ เมา ๑ ความไมป ระมาทใน ธรรมท้ังหลาย ๑ ขอ นเี้ ปน มงคลอันสูงสุด, - ความเคารพ ๑ ความไมจองหอง ๑ ความยินดดี ว ยของอันมีอยู ๑ ความเปนผรู ู อุปการะอนั ทา นทาํ แลวแกตน ๑ ความฟงธรรมโดยกาล ๑ ขอนเี้ ปนมงคลอัน สงู สุด, - ความอดทน ๑ ความเปน ผวู า งาย ๑ ความเห็นสมณะทงั้ หลาย ๑ ความเจรจา ธรรมโดยกาล ๑ ขอน้เี ปน มงคลอันสูงสุด, - ความเพยี รเผากิเลส ๑ ความประพฤติอยา งพรหม ๑ ความเหน็ อรยิ สัจท้งั หลาย ๑ ความทําพระนิพพานใหแ จง ๑ ขอ นีเ้ ปนมงคลอันสูงสุด, - จติ ของผใู ดอนั โลกธรรมท้ังหลายถกู ตองแลว ยอมไมหวั่นไหว ไมมีโศก ปราศจากธลุ เี กษม ขอ นเ้ี ปน มงคลอันสูงสุด, - เทพดาและมนุษยท ั้งหลายกระทาํ มงคลทัง้ หลายเชน นแี้ ลว เปนผไู มพายแพใ นท่ี ทั้งปวง ยอ มถึงความสวสั ดใี นทีท่ ง้ั ปวง ขอนั้นเปนมงคลอันสูงสุดของเทพดาและ มนุษยท ง้ั หลายเหลา นน้ั แล.

2. รตั นปรติ ร (รตั นสตู ร) สวดบชู าใหพน จากความทุกข เนื้อมนตสรรเสริญคุณของพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ การตัง้ จิตของ อาราธนาเอาคุณความดีของพระรัตนตรยั น้ันมาปกปก รักษาตน ชว ย ทาํ ลายความทุกขโ ศกใหส้ินไป และขออาํ นวยความสุขสวัสดแิ์ กต น ยานีธะ ภตู านิ สะมาคะตานิ ภมุ มานิ วา ยานิวะ อันตะลิกเข สัพเพ วะ ภตู า สุมะนา ภะวนั ตุ อะโถป สักกัจจะ สุณนั ตุ ภาสติ ัง ตัสมา หิ ภตู า นิสาเมถะ สัพเพ เมตตัง กะโรถะ มานุสยิ า ปะชายะ ทิวา จะ รตั โต จะ หะรนั ติ เย พะลิง ตสั มา หิ เน รักขะถะ อปั ปะมตั ตา ฯ ยังกิญจิ วติ ตัง อธิ ะ วา หรุ งั วา สัคเคสุ วา ยงั ระตะนัง ปะณีตงั นะ โน สะมัง อัตถิ ตะถาคะเตนะ อทิ มั ป พทุ เธ ระตะนัง ปะณีตัง เอเตนะ สัจเจนะ สุวตั ถิ โหตุ ฯ ขะยงั วิราคงั อะมะตัง ปะณตี ัง ยะทชั ฌะคา สักยะมนุ ี สะมาหิโต นะ เตนะ ธัมเมนะ สะมัตถิ กิญจิ อิทัมป ธมั เม ระตะนัง ปะณตี ัง เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ

ยัมพุทธะเสฏโฐ ปะริวณั ณะยี สจุ ิง สะมาธมิ านันตะรกิ ัญญะมาหุ สะมาธินา เตนะ สะโม นะ วิชชะติ อทิ ัมป ธัมเม ระตะนัง ปะณตี งั เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ เย ปคุ คะลา อัฏฐะ สะตัง ปะสฏั ฐา จตั ตาริ เอตานิ ยคุ านิ โหนติ เต ทักขิเณยยา สุคะตัสสะ สาวะกา เอเตสุ ทินนานิ มะหัปผะลานิ อทิ มั ป สังเฆ ระตะนัง ปะณีตัง เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ เย สปุ ปะยุตตา มะนะสา ทฬั เหนะ นกิ กามโิ น โคตะมะสาสะนมั หิ เต ปต ตปิ ตตา อะมะตัง วิคัยหะ ลทั ธา มุธา นิพพุตงิ ภุญชะมานา อทิ มั ป สงั เฆ ระตะนงั ปะณีตงั เอเตนะ สัจเจนะ สวุ ัตถิ โหตุ ฯ ยะถินทะขีโล ปะฐะวิง สโิ ต สิยา จะตพุ ภิ วาเตภิ อะสัมปะกมั ปโ ย ตะถูปะมงั สัปปุริสัง วะทามิ โย อะรยิ ะสจั จานิ อะเวจจะ ปสสะติ อิทัมป สงั เฆ ระตะนงั ปะณีตัง เอเตนะ สัจเจนะ สุวตั ถิ โหตุ ฯ เย อะริยะสัจจานิ วภิ าวะยันติ คัมภรี ะปญเญนะ สุเทสิตานิ กิญจาป เต โหนติ ภุสัปปะมัตตา นะ เต ภะวงั อฏั ฐะมะมาทิยนั ติ อิทมั ป สงั เฆ ระตะนัง ปะณีตงั เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ สะหาวัสสะ ทัสสะนะสัมปะทายะ ตะยัสสุ ธัมมา ชะหิตา ภะวันติ สักกายะทฏิ ฐิ วจิ ิกจิ ฉิตัญจะ สีลัพพะตัง วาป ยะทัตถิ กิญจิ จะตหู ะปาเยหิ จะ วปิ ปะมุตโต ฉะ จาภิฐานานิ อะภัพโพ กาตุง อทิ มั ป สงั เฆ ระตะนงั ปะณตี งั เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ กิญจาป โส กมั มงั กะโรติ ปาปะกัง กาเยนะ วาจายุทะ เจตะสา วา อะภัพโพ โส ตัสสะ ปะฏิจฉะทายะ อะภัพพะตา ทิฏฐะปะทสั สะ วตุ ตา อิทัมป สังเฆ ระตะนงั ปะณีตัง เอเตนะ สัจเจนะ สวุ ตั ถิ โหตุ ฯ

วะนัปปะคมุ เพ ยะถา ผุสสติ ัคเค คิมหานะมาเส ปะฐะมัสมงิ คมิ เห ตะถูปะมงั ธมั มะวะรัง อะเทสะยิ นพิ พานะคามิง ปะระมงั หติ ายะ อิทมั ป พุทเธ ระตะนัง ปะณีตัง เอเตนะ สัจเจนะ สวุ ัตถิ โหตุ ฯ วะโร วะรัญู วะระโท วะราหะโร อะนตุ ตะโร ธัมมะวะรัง อะเทสะยิ อทิ มั ป พทุ เธ ระตะนัง ปะณีตงั เอเตนะ สัจเจนะ สุวตั ถิ โหตุ ฯ ขณี ัง ปรุ าณัง นะวัง นตั ถิ สัมภะวัง วริ ัตตะจิตตายะตเิ ก ภะวัสมงิ เต ขีณะพีชา อะวริ ุฬหฉิ นั ทา นพิ พนั ติ ธีรา ยะถายมั ปะทีโป อทิ มั ป สงั เฆ ระตะนงั ปะณตี ัง เอเตนะ สัจเจนะ สวุ ตั ถิ โหตุ ฯ ยานีธะ ภูตานิ สะมาคะตานิ ภุมมานิ วา ยานวิ ะ อันตะลิกเข ตะถาคะตัง เทวะมะนุสสะปูชติ ัง พทุ ธัง นะมัสสามะ สุวตั ถิ โหตุ ฯ ยานีธะ ภตู านิ สะมาคะตานิ ภุมมานิ วา ยานิวะ อนั ตะลิกเข ตะถาคะตัง เทวะมะนุสสะปูชิตงั ธมั มัง นะมัสสามะ สุวัตถิ โหตุ ฯ ยานีธะ ภูตานิ สะมาคะตานิ ภมุ มานิ วา ยานวิ ะ อนั ตะลิกเข ตะถาคะตัง เทวะมะนุสสะปชู ิตงั สังฆงั นะมัสสามะ สุวัตถิ โหตุ ฯ คาํ แปล รตั นปริตร : - หมภู ูตประจาํ ถิ่นเหลาใด ประชุมกันแลว ในนครน้ีกด็ ี เหลา ใดประชมุ กันแลวใน อากาศก็ดี ขอหมูภูตทั้งปวงจงเปนผดู ใี จและจงฟงภาษิตโดยเคารพ เพราะเหตุนั้น แล ทา นภตู ทง้ั ปวงจงต้ังใจฟง กระทําไมตรีจติ ในหมูม นุษยชาติ ประชุมชนมนษุ ย เหลา ใด ยอ มสังเวยทงั้ กลางวันกลางคืน เพราะเหตุนนั้ แล ทา นทง้ั หลาย จงเปน ผู ไมประมาท รักษาหมูม นุษยเ หลา น้นั

- ทรัพยเ คร่ืองปลมื้ ใจ อันใดอันหนึ่ง ในโลกน้หี รือโลกอ่นื หรือรัตนะอันใด อัน ประณีตในสวรรค รตั นะอันน้ันเสมอดวยพระตถาคตเจา ไมม ีเลย แมอ นั นี้ เปน รตั นะ อันประณีตในพระพุทธเจา ดว ยคาํ สัตยนี้ ขอความสวัสดจี งมี - พระศากยมุนเี จา มีพระหฤทัยดาํ รงม่ัน ไดบ รรลธุ รรมอันใดเปนท่ีสนิ้ กิเลส เปน ท่ี ส้ินราคะ เปนอมฤตธรรมอันประณตี ส่ิงไรๆ เสมอดวยพระธรรมนั้นยอ มไมม ี แม อันน้ีเปนรตั นะอันประณตี ในพระธรรม ดวยคําสัตยน ี้ ขอความสวัสดจี งมี - พระพุทธเจา ผูประเสริฐสุด ทรงสรรเสรญิ แลวซ่ึงสมาธอิ ันใด วา เปนธรรมอัน สะอาด บัณฑติ ทง้ั หลายกลาวซงึ่ สมาธิอันใด วาใหผ ลโดยลําดบั สมาธิอน่ื เสมอ ดวยสมาธิน้นั ยอมไมม ี แมอ ันนี้ เปน รัตนะอันประณีตในพระธรรม ดว ยคําสัตยน้ี ขอความสวัสดีจงมี - บคุ คลเหลา ใด ๘ จําพวก ๔ คู อันสตั บุรษุ ทัง้ หลายสรรเสรญิ แลว บุคคลเหลา นั้น เปนสาวกของพระสุคต ควรแกทักษิณาทาน ทานท้ังหลาย อันบุคคลถวายในทาน เหลา นัน้ ยอ มมีผลมาก แมอ ันนี้ เปนรัตนะอันประณีตในพระสงฆ ดว ยคําสัตยน ้ี ขอความสวัสดีจงมี - พระอริยบุคคลทง้ั หลายเหลาใด ในศาสนาพระโคดมเจา ประกอบดีแลว มีใจ มัน่ คง มีความใคร ออกไปแลว พระอริยบคุ คลทัง้ หลายเหลานั้น ถึงพระอรหตั ผลท่ี ควรถงึ หยั่งเขาสูพระนพิ พาน ไดซ่ึงความดับกิเลส โดยเปลา ๆ แลวเสวยผลอยู แม อนั น้ี เปน รตั นะอันประณีตในพระสงฆ ดว ยคําสัตยนี้ ขอความสวัสดีจงมี - เสาเขื่อนทีล่ งดินแลว ไมห ว่นั ไหวดวยพายุ ๘ ทศิ ฉันใด ผใู ด เล็งเห็นอริยสจั ทัง้ หลาย เราเรยี กผูนั้นวา เปน สตั บุรษุ ผูไมห วน่ั ไหวดว ยโลกธรรม อปุ มาฉันน้ัน แมอันน้ีเปน รัตนะอันประณีตในพระสงฆ ดว ยคาํ สัตยน้ี ขอความสวัสดีจงมี

- พระโสดาบันจาํ พวกใด กระทาํ ใหแ จงอยู ซ่ึงอรยิ สัจท้ังหลายอันพระศาสดาผมู ี ปญญาอันลึกซึ้งแสดงดีแลว พระโสดาบันจําพวกนั้น ยังเปน ผูประมาทก็ดี ถึง กระนั้น ทานยอมไมถือเอาภพที่ ๘ (คอื เกิดอีกอยางมาก๗ ชาต)ิ แมอ นั น้ี เปน รตั นะอันประณีตในพระสงฆ ดว ยคําสตั ยน ้ี ขอความสวสั ดีจงมี - สกั กายทิฏฐิ วิจิกจิ ฉา สีลัพพตปรามาส อนั ใดอันหน่ึงยังมีอยู ธรรมเหลานนั้ อัน พระโสดาบนั ละไดแลว พรอมดวยทสั สนะสมบตั ิ (คือโสดาปต ตมิ รรค) ทเี ดียว อนึง่ พระโสดาบันเปนผพู นแลว จากอบายทัง้ ๔ ไมอาจเพื่อจะกระทาํ อภิฐานทงั้ ๖ (คอื อนันตริยกรรม ๕ และการเขา รีต) แมอ ันนี้ เปน รัตนะอันประณตี ในพระสงฆ ดว ยคาํ สัตยน ี้ ขอความสวสั ดีจงมี - พระโสดาบันนั้น ยงั กระทาํ บาปกรรม ดวยกายหรอื วาจาหรือใจไดบา ง (เพราะ ความพล้ังพลาด) ถงึ กระนัน้ ทา นไมค วรเพือ่ จะปกปดบาปกรรมอันน้ัน ความเปน ผู มีทางพระนพิ พาน อันเห็นแลว ไมค วรปกปดบาปกรรมนน้ั อนั พระผมู พี ระภาค เจาตรัสแลว แมอนั น้ี เปนรัตนะอันประณตี ในพระสงฆ ดวยคําสตั ยนี้ ขอความ สวัสดีจงมี - พมุ ไมใ นปา มยี อดอันบานแลว ในเดือนตนคิมหะแหงคมิ หฤดูฉนั ใด พระผมู พี ระ ภาคเจาไดทรงแสดงพระธรรมใหถงึ พระนพิ พาน เพ่ือประโยชนแกส ัตวทงั้ หลาย มี อปุ มาฉนั น้ัน แมอ ันน้ี เปน รัตนะอนั ประณีตในพระพุทธเจา ดว ยคาํ สัตยน้ี ขอ ความสวัสดีจงมี - กรรมเกา ของพระอรยิ บคุ คลเหลา ใดสิ้นแลว กรรมสมภพใหมย อมไมม ี พระ อรยิ บุคคลเหลาใด มีจิตอันหนา ยแลวในภพตอไป พระอริยบุคคลเหลาน้นั มีพืช สนิ้ ไปแลว มีความพอใจงอกไมไ ดแลว เปน ผมู ปี ญ ญา ยอมปรินิพพานเหมอื น ประทีปอันดบั ไป ฉะนั้น แมอันนี้ เปนรตั นะอันประณตี ในพระสงฆ ดว ยคําสตั ยนี้ ขอความสวัสดีจงมี

- ภตู ประจําถิ่นเหลา ใด ประชุมกนั แลวในพระนครกด็ ี เหลา ใดประชุมกันแลวใน อากาศก็ดี เราทั้งหลาย จงนมัสการพระพทุ ธเจา ผมู าแลวอยา งน้ัน ผอู ันเทพดา และมนษุ ยบ ชู าแลว ขอความสวสั ดีจงมี - ภตู ประจําถ่ินเหลาใด ประชมุ กันแลวในพระนครน้ีก็ดี เหลา ใดประชุมกันแลวใน อากาศก็ดี เราทง้ั หลาย จงนมสั การพระธรรมอันมาแลวอยางนัน้ อันเทพดาและ มนุษยบ ชู าแลว ขอความสวสั ดีจงมี - ภูตประจําถิ่นเหลา ใด ประชมุ กันแลว ในพระนครน้ีก็ดี เหลาใดประชมุ กนั แลว ใน อากาศก็ดี เราท้งั หลาย จงนมัสการพระสงฆผ มู าแลว อยางนั้น ผูอนั เทพดาและ มนษุ ยบ ูชาแลว ขอความสวัสดีจงม.ี

3. เมตตปรติ ร (กรณียเมตตสูตร) สวดบูชาใหพ น จากความตกต่ํา ชวี ิตเจรญิ รุงเรืองขนึ้ เนื้อมนตก ลา วถึงอานุภาพของพระพุทธเจาทีไ่ ดแผเ มตตาไว และการ เทศนาเรอื่ งการแผเมตตาใหแ กพ ระภกิ ษจุ าํ นวน 500 รปู เมอื่ การตงั้ จิตแผ เมตตาเปน ผล ยอ มสง ผลใหผ ูสวดรอดพนจากความตกตํา่ เกิดไฟสองทาง ใหช วี ติ มแี ตแ สงสวา มคี วามกา วหนา กะระณยี ะมตั ถะกุสะเลนะ ยันตงั สันตัง ปะทัง อะภิสะเมจจะ สักโก อชุ ู จะ สุหชุ ู จะ สุวะโจ จัสสะ มุทุ อะนะติมานี สันตุสสะโก จะ สุภะโร จะ อัปปะกิจโจ จะ สลั ละหุกะวตุ ติ สันตินทริโย จะ นิปะโก จะ อัปปะคัพโภ กเุ ลสุ อะนะนุคทิ โธ นะ จะ ขุททัง สะมาจะเร กิญจิ เยนะ วญิ ู ปะเร อุปะวะเทยยงุ สุขโิ น วา เขมโิ น โหนตุ สัพเพ สัตตา ภะวนั ตุ สขุ ติ ัตตา เย เกจิ ปาณะภูตัตถิ ตะสา วา ถาวะรา วา อะนะวะเสสา ทีฆา วา เย มะหันตา วา มชั ฌิมา รัสสะกา อะณุกะถูลา

ทิฏฐา วา เย จะ อะทฏิ ฐา เย จะ ทูเร วะสนั ติ อะวทิ ูเร ภตู า วา สมั ภะเวสี วา สพั เพ สตั ตา ภะวนั ตุ สขุ ิตัตตา นะ ปะโร ปะรงั นิกุพเพถะ นาติมญั เญถะ กัตถะจิ นัง กิญจิ พยาโรสะนา ปะฏิฆะสัญญา นาญญะมัญญัสสะ ทกุ ขะมิจเฉยยะ มาตา ยะถา นิยัง ปตุ ตงั อายสุ า เอกะปุตตะมะนุรักเข เอวัมป สัพพะภูเตสุ มานะสัมภาวะเย อะปะริมาณัง เมตตัญจะ สพั พะโลกัสมิง มานะสมั ภาวะเย อะปะริมาณัง อุทธัง อะโธ จะ ติรยิ ัญจะ อะสัมพาธัง อะเวรงั อะสะปตตัง ติฎฐญั จะรัง นสิ ินโน วา สะยาโน วา ยาวะตสั สะ วิคะตะมทิ โธ เอตัง สะติง อะธฏิ เฐยยะ พรหั มะเมตัง วหิ ารงั อิธะมาหุ ทิฏฐญิ จะ อะนุปะคัมมะ สสี ะวา ทัสสะเนนะ สมั ปนโน กาเมสุ วเิ นยยะ เคธัง นะ หิ ชาตุ คัพภะเสยยัง ปุนะเรตีติฯ

คาํ แปล กรณียเมตตปรติ ร : กลุ บตุ รผฉู ลาด พึงกระทํากิจที่พระอรยิ เจาผบู รรลุแลว ซึ่งพระนพิ พานอันเปนท่ี สงบระงับไดกระทาํ แลว กุลบุตรน้ังพึงเปนผูองอาจ ซ่ือตรงและประพฤตติ รงดี เปน ผูทีว่ า งา ยสอนงาย ออ นโยน ไมมมี านะอันย่ิง เปนผูสันโดษยินดีในสิ่งที่ตนมีอยู เปนผูเลี้ยงงาย เปน ผมู ีกิจธุระนอ ย เปน ผปู ระพฤติทาํ ใหกายและจิตเบา มตี า หู จมูก ลนิ้ กาย ใจ อันสงบนิง่ มปี ญญาฆา กเิ ลส เปน ผไู มคะนอง กาย วาจา ใจ และ ไมพวั พนั ในสกุลท้ังหลาย ไมพึงกระทํากรรมท่ที านผูรูท้งั หลายติเตยี น ผูอน่ื วาทํา แลว ไมดี พึงแผเมตตาจิตวา ขอสัตวทั้งหลายทัง้ ปวง จงเปนผูม ีสขุ มีจติ เกาะพระ นพิ พานแดนอันพนจากภัยทั้งหลาย และจงเปนผทู ําตนใหถึงความสขุ ทกุ เมอื่ เถิด ขอสตั วท ้ังหลายท้ังปวงทั้งหมดโดยไมมเี หลอื ทง้ั ทม่ี ีตัณหาเคร่ืองทําใจใหสะดุง อยู และผมู นั่ คงคือไมมีตัณหาแลว ท้งั ทีม่ กี ายยาว ใหญปานกลาง หรือกายสน้ั หรือ ผอม อว น เปน ผทู เี่ ราเห็นแลวก็ดี ไมไดเ หน็ กด็ ี อยใู นท่ีไกลหรือในที่ไมไกล ทั้งที่ เกิดมาในโลกนแี้ ลว และท่ียังกาํ ลังแสวงหาภพเปน ทีเ่ กิดอยูดี จงเปน เปนผูทาํ ตน ใหถ งึ ความสุขเถดิ สัตวอื่นอยาพึงรังแกขม เหงสัตวอ ื่น อยาพึงดูหมิ่นใครในทใ่ี ด ๆ เลย ไมควรปรารถนาใหกันและกันมคี วามทกุ ข เพราะความกร้วิ โกรธ และเพราะ ความเคียดแคนกันเลย มารดายอมตามรักษาบตุ รคนเดยี วผูเกดิ ในตน ดว ยชีวติ ฉนั ใด กุลบุตรพงึ เจริญ เมตตาจติ ในใจไมมีประมาณ ในสัตวทั้งปวงทั้งหลายแมฉนั นั้น บุคคลพึงเจริญ เมตตาใหม ใี นใจไมมปี ระมาณ ไปในโลกท้ังสน้ิ ท้งั เบื้องบน เบือ้ งต่าํ เบือ้ งขวาง การเจรญิ เมตตาจิตนี้เปนธรรมอันไมแ คบ ไมม เี วร ไมม ีศตั รู ผูเจริญเมตตาจิตนัน้ จะยนื อยกู ็ดี เดนิ ไปกด็ ี น่ังอยกู ด็ ี นอนอยูก็ดี เปนผปู ราศจากความงวงเพยี งใด ก็ สามารถตัง้ สติไวไ ดเพยี งน้ัน บณั ฑิตทัง้ หลายกลา วถึงกิริยาอยางน้ีวา เปน การ เจรญิ พรหมวิหารในศาสนานี้ บุคคลผทู ่ีมีเมตตา ไมเขาถงึ ความเหน็ ผดิ เปนผูม ีศีล ถึงพรอมแลวดวยความเห็นคอื ปญญา นาํ ความหมกมุนในกามทง้ั หลายออกได แลว ยอ มไมเ ขา ถึงความเขา ไปนอนในครรภเ พื่อเกิดอีกโดยแทแ ลฯ

4. ขนั ธปริตร สวดบูชาใหพนจากอสรพิษสัตวรา ยทั้งปวง เนอ้ื มนตกลาวถึงการแผเมตตาใหสตั วร ายทัง้ ปวง เชน งู ตะขาบ แมงปอง เสอื จระเข เหยี่ยว แรง กา ฯลฯ นิยมสวดเม่อื เขาปา ใหเ กดิ ความแคลว คลาดปลอดภัย วิรปู ก เขหิ เม เมตตัง เมตตัง เอราปะเถหิ เม ฉพั ยาปุตเตหิ เม เมตตงั เมตตัง กณั หาโคตะมะเกหิ จะ อะปาทะเกหิ เม เมตตงั เมตตัง ทปิ าทะเกหิ เม จะตปุ ปะเทหิ เม เมตตัง เมตตัง พะหปุ ปะเทหิ เม มา มงั อะปาทะโก หิงสิ มา มงั หงิ สิ ทปิ าทะโก มา มงั จะตปุ ปะโท หิงสิ มา มงั หิงสิ พะหปุ ปะโท สัพเพ สตั ตา สพั เพ ปาณา สัพเพ ภูตา จะ เกวะลา สพั เพ ภทั รานิ ปสสันตุ มา กญิ จิ ปาปะมาคะมา อปั ปะมาโณ พทุ โธ | อปั ปะมาโณ ธมั โม | อัปปะมาโณ สังโฆ ปะมาณะวันตานิ สิรงิ สะปานิ อะหิ วิจฉิกา สะตะปะที อณุ ณานาภี สะระพู มูสกิ า กะตา เม รกั ขา กะตา เม ปะรติ ตา ปะฏิกกะมนั ตุ ภตู านิ โสหงั นะโม ภะคะวะโต นะโม สัตตันนัง สมั มาสัมพุทธานังฯ

คาํ แปล ขันธปริตร : ความเปน มติ รของเรา จงมีแกพญางทู งั้ หลาย สกลุ วิรปู กขดว ย ความเปน มิตรของเรา จงมีกับพญางูทั้งหลาย สกลุ เอราบทดว ย ความเปน มิตรของเรา จงมแี กพญางูทั้งหลาย สกลุ ฉัพยาบุตรดวย ความเปน มติ รของเรา จงมีแกพญางทู ั้งหลาย สกุลกณั หาโคตมกะดว ย ความเปน มติ รของเรา จงมีกับสัตวท ้งั หลาย ทไ่ี มม ีเทาดว ย ความเปน มิตรของเรา จงมีกบั สัตวทัง้ หลาย ทม่ี สี องเทาดว ย ความเปน มติ รของเรา จงมีกบั สัตวท งั้ หลาย ที่มสี เ่ี ทา ดวย ความเปน มิตรของเรา จงมีกบั สัตวท ั้งหลาย ทมี่ หี ลายเทาดวย สตั วไมม เี ทาอยาเบียดเบียนเรา สัตวส องเทา อยาเบยี ดเบยี นเรา สตั วส เี่ ทา อยา เบยี ดเบียนเรา สตั วห ลายเทาอยาเบียดเบียนเรา ขอสรรพสัตวที่มชี ีวติ ทั้งหลาย ทีเ่ กิดมาทงั้ หมดจนสิน้ เชงิ ดว ย จงเห็นซึ่งความเจริญทั้งหลายท้ังปวงเถิด โทษลามกใดๆ อยาไดม าถงึ แลว แกสัตวเ หลา นั้น พระพทุ ธเจา ทรงพระคุณ ไมมปี ระมาณ พระธรรม ทรงพระคุณ ไมมปี ระมาณ พระสงฆ ทรงพระคุณ ไมม ีประมาณ สัตวเล้ือยคลานท้ังหลาย คอื งู แมลงปอง ตะเข็บ ตะขาบ แมงมมุ ตกุ แก หนู เหลา น้ี ลว นมปี ระมาณ ความรกั ษา อันเรากระทําแลว การปองกนั อันเรากระทาํ แลว หมสู ัตวท งั้ หลายจงหลกี ไปเสีย เราน้นั กระทํานอบนอม แดพระผมู ีพระภาคเจา อยู กระทาํ นอบนอ ม แดพระสัมมาสมั พุทธเจา เจ็ดพระองคอยู

5. โมรปริตร สวดบชู าใหพ นจากกับดักและผคู ิดราย เนอ้ื มนตกลาวถึงพระโพธิสัตวเมอ่ื ครัง้ เสวยพระชาตเิ ปนพญานกยงู พุทธา นุภาพใหพระโพธิสัตวรอดพนจากบวงของนายพรานนานถงึ 12 ป สวดบูชา เปน ประจําเพื่อใหรอดพนจากผูคิดการราย รอดพนจากกบั ดัก อุบายและ การฉอ โกง อเุ ทตะยญั จกั ขุมา เอกะราชา หะรสิ สะวณั โณ ปะฐะวปิ ปะภาโส ตัง ตงั นะมัสสามิ หะริสสะวณั ณัง ปะฐะวปิ ปะภาสัง ตะยัชชะ คุตตา วหิ ะเรมุ ทิวะสัง เย พราหมะณา เวทะคุ สพั พะธมั เม เต เม นะโม เต จะ มัง ปาละยนั ตุ นะมัตถุ พุทธานัง นะมัตถุ โพธยิ า นะโม วิมุตตานงั นะโม วมิ ุตตยิ า อมิ ัง โส ปะริตตงั กตั วา โมโร จะระติ เอสะนา ฯ อะเปตะยัญจักขุมา เอกะราชา หะริสสะวัณโณ ปะฐะวปิ ปะภาโส ตัง ตงั นะมัสสามิ หะริสสะวัณณัง ปะฐะวิปปะภาสัง ตะยัชชะ คตุ ตา วิหะเรมุ รัตติง เย พราหมะณา เวทะคุ สพั พะธัมเม เต เม นะโม เต จะ มงั ปาละยันตุ นะมัตถุ พทุ ธานัง นะมัตถุ โพธยิ า นะโม วมิ ตุ ตานงั นะโม วิมุตตยิ า อมิ งั โส ปะริตตงั กตั วา โมโร วาสะมะกปั ปะยีติ ฯ

คาํ แปล โมรปรติ ร : พระอาทติ ยเปน ดวงตาของโลก เปน เอกราช มสี เี พียงดังสีแหงทอง ยงั พน้ื ปฐพีให สวา ง อทุ ยั ขึ้นมา เพราะเหตนุ ้ัน ขาขอนอบนอ มพระอาทิตยนั้น ซึ่งมีสีเพยี งดังสี แหง ทอง ยงั พ้นื ปฐพีใหสวาง ขาทั้งหลาย อนั ทา นปกครองแลวในวนั น้ี พึงอยูเปน สุขตลอดวัน พราหมณท ้งั หลายเหลา ใด ผถู ึงซึ่งเวทในธรรมท้ังปวง พราหมณท ้ังหลายเหลาน้นั จงรบั ความนอบนอ มของขา อน่ึง พราหมณท้ังหลาย เหลา น้นั จงรักษาซึ่งขา ฯ ความนอบนอมของขา จงมแี ดพระพุทธเจาท้งั หลาย ความนอบนอมของขา จงมี แดพ ระโพธิญาณ ความนอบนอมของขา จงมแี ดท า นผูพนแลว ทั้งหลาย ความ นอบนอมของขา จงมีแดวิมตุ ติธรรม นกยูงน้ันไดกระทําปริตรอันนแ้ี ลว จึงเทยี่ ว ไป เพื่ออันแสวงหาอาหาร ฯ พระอาทิตยน ้เี ปน ดวงตาของโลก เปนเอกราช มีสีเพียงดังสีแหงทองยังพื้นปฐพีให สวา ง ยอ มอัสดงคตไป เพราะเหตนุ ้ัน ขาขอนอบนอมพระอาทติ ยนั้น ซึ่งมีสีเพยี ง ดังสีแหงทอง ยงั พ้ืนปฐพใี หสวาง ขาทั้งหลาย อันทานปกครองแลวในวนั นี้ พึงอยู เปน สขุ ตลอดคืน พราหมณท ้ังหลายเหลา ใด ผูถงึ ซึง่ เวทในธรรมท้ังปวง พราหมณ ท้งั หลายเหลานนั้ จงรบั ความนอบนอมของขา อนึ่ง พราหมณท้ังหลายเหลา นัน้ จงรักษาซ่ึงขา ฯ ความนอบนอมของขา จงมแี ดพระพุทธเจาทัง้ หลาย ความนอบนอ มของขา จงมีแดพ ระโพธิญาณ ความนอบนอ มของขา จงมีแดท านผูพนแลว ทงั้ หลาย ความนอบนอมของขา จงมีแดว มิ ุตตธิ รรม นกยงู น้นั ไดก ระทําปรติ รอันนี้แลว จงึ สําเร็จความอยแู ล ฯ

6. วัฏฏกปริตร สวดบูชาใหพน จากอัคคภี ัย เนือ้ มนตก ลาวถงึ พระโพธิสัตวเ ม่อื ครัง้ เสวยพระชาตเิ ปน ลกู นกคมุ ทปี่ ด เปา ไฟปา ท่ีกําลังลกุ ลามใหดบั โดยแบพลนั ใชสวดเพอ่ื ปองกนั อคั คภี ยั อัตถิ โลเก สลี ะคุโณ | สัจจัง โสเจยยะนุททะยา เตนะ สจั เจนะ กาหามิ | สจั จะกิรยิ ะมะนุตตะรัง อาวชั ชิตวา ธมั มะพะลัง | สะริตวา ปุพพะเก ชิเน สัจจะพะละมะวัสสายะ | สจั จะกิรยิ ะมะกาสะหัง สนั ติ ปกขา อะปตตะนา | สันติ ปาทา อะวัญจะนา มาตา ปต า จะ นิกขันตา | ชาตะเวทะ ปะฎิกกะมะ สะหะ สัจเจ กะเต มยั หงั | มะหาปชชะลโิ ต สขิ ี วัชเชสิ โสฬะสะ กะรีสานิ | อทุ กงั ปตวา ยะถา สขิ ี สัจเจนะ เม สะโม นัตถิ | เอสา เม สัจจะปาระมตี ิ ฯ คําแปล วัฏฏกปริตร : คณุ แหง ศีลมอี ยูใ นโลก ความสัจ ความสะอาดกาย และความเอ็นดูมีอยใู นโลก ดวยคําสัจน้ัน ขาพเจา จกั กระทาํ สัจจะกิรยิ าอนั เยีย่ ม ขา พเจา พิจารณาซง่ึ กําลงั แหง ธรรมและระลึกถึงพระชนิ เจา ทั้งหลายในปางกอน อาศยั กาํ ลงั แหงสจั จะ ขอกระทําสัจจะกิรยิ า ปกท้ังหลายของขา มอี ยู แตบินไมไ ด เทา ท้งั หลายของขามีอยู แตเดินไมไ ด มารดาและบิดาของขา ออกไปหาอาหาร ดูกอ นไฟปา ขอทานจงหลีกไป ครน้ั เมื่อสจั จะ อันเรากระทําแลว เปลวไฟอนั รุงเรืองใหญไดห ลกี ไป พรอมกบั คําสัตย ประหนึ่งเปลวไฟอันตกถึงนาํ้ ส่ิงไรเสมอดว ยสจั จะของเราไมมี นเ้ี ปนสจั จะบารมขี องเราดังนแ้ี ล

7. ธชคั คปริตร (ธชัคคสูตร) สวดบชู าใหพน จากอนั ตรายจากความเส่ยี ง การตกจากที่สงู การตอ งเส่ียงชวี ิต เน้อื มนตกลาวถึงเม่อื ครั้งสงครามระหวางเทวดาและอสูร ทาวสกั กะเหน็ วาเหลา เทวดาเกดิ ความหวาดกลัวอสูรรา ย ทาวสกั กะจึงชี้ใหเ หลา เทวดามองข้นึ ไปบนยอดธงรบของพระองค เพอื่ ใหเกดิ กาํ ลงั ใจ ปลุกใจใหเ หลาเทวดาเกดิ ความหา วหาญ เหลาเทวดาสรู บกบั อสรู และ ไดรบั ชยั ชนะในทส่ี ดุ สมเดจ็ พระสมั มาสมั พุทธเจา แนะนาํ ใหเหลา ภิกษุไปปฏิบัติธรรมตามปา เขา เมื่อเหลาภิกษุเกดิ ความหวาดกลัวอันตรายไปปา พระพทุ ธองคก็แนะใหระลกึ ถงึ ยอดธงรบ ของทา วสกั กะอยเู สมอ ธงรบนั้นกค็ ือสญั ลักษณของพระรตั นตรยั ทม่ี ีชยั เหนอื ทุกสรรพสงิ่ อานภุ าพของพระคาถาบทนี้จงึ ปกปอ งคมุ ครองใหผูสวดเกิดความฮกึ เหิมและแคลวคลาดจาก ภยนั ตรายทั้งปวง เอวัม เม สตุ งั ฯ เอกงั สะมะยัง ภะคะวา สาวัตถยิ งั วหิ ะระติ เชตะวะเน อะนา ถะปณ ฑกิ ัสสะ อาราเม ฯ ตตั ระ โข ภะคะวา ภิกขู อามันเตสิ ภิกขะโวติ ฯ ภะทนั เตติ เต ภกิ ขู ภะคะวะโต ปจ จัสโสสงุ ฯ ภะคะวา เอตะทะโวจะฯ ภูตะปุพพัง ภิกขะเว เทวาสรุ ะสังคาโม สะมปุ พยฬุ โห อะโหสิ ฯ อะถะโข ภิกขะเว สักโก เทวานะมนิ โท เทเว ตาวะตงิ เส อามันเตสิ สะเจ มาริสา เทวานงั สังคา มะคะตานัง อปุ ปช เชยยะ ภะยัง วา ฉมั ภิตัตตัง วา โลมะหังโส วา มะเมวะ ตสั มิง สะมะเย ธะชัคคัง อุลโลเกยยาถะ มะมัง หิ โว ธะชคั คงั อุลโลกะยะตัง ยัมภะวิ สสะติ ภะยัง วา ฉมั ภติ ัตตัง วา โลมะหังโส วา โส ปห ิยยสิ สะติ โน เจ เม ธะชัคคงั อลุ โลเกยยาถะ อะถะ ปะชาปะติสสะ เทวะราชสั สะ ธะชคั คัง อุลโลเกย ยาถะ ปะ ชาปะติสสะ หโิ ว เทวะราชัสสะ ธะชัคคัง อุลโลกะยะตัง ยมั ภะวสิ สะติ ภะยงั วา ฉมั ภิตัตตัง วา โลมะหงั โส วา โส ปะหยิ ยิสสะติ โน เจ ปะชาปะติสสะ เทวะราชสั สะ ธะชคั คัง อุลโลเกยยาถะ อะถะ วะรณุ ัสสะ หิโว เทวะราชัสสะ ธะชคั คัง อลุ โล กะยะตัง ยมั ภะวิสสะติ ภะยัง วา ฉัมภิตัตตัง วา โลมะหังโส วา โส ปะหยิ ยสิ สะติ โน เจ วะรณุ ัสสะ เทวะราชัสสะ ธะชัคคัง อุลโล เกยยาถะ อสี านสั สะ หิโว เทวะ ราชสั สะ ธะชัคคัง อุลโลกะยะตัง ยมั ภะวสิ สะติ ภะยัง วา ฉัมภติ ตั ตัง วา โลมะหงั โส วา โส ปะหยิ ยิสสะตีตฯิ

ตงั โข ปะนะ ภกิ ขะเว สักกัสสะ วา เทวานะ มินทัสสะ ธะชัคคงั อลุ โลกะยะตงั ปะชา ปะตสิ สะ วา เทวะราชัสสะ ธะชัคคัง อุลโลกะยะตัง วะรุณสั สะ วา เทวะราชัสสะ ธะชัคคงั อุลโลกะยะตัง อสี านสั สะ วา เทวะราชัสสะ ธะชคั คงั อุลโลกะยะตงั ยัมภะวิ สสะติ ภะยงั วา ฉัมภิตตั ตงั วา โลมะหังโส วาโส ปะหยิ เยถาป โนป ปะหิยเยถะ ตัง กิสสะเหตุ สักโก หิ ภิกขะเว เทวานะมินโท อะวีตะราโค อะวีตะโทโส อะวีตะโมโห ภริ ุ ฉัมภี อตุ ราสี ปะลายตี ิฯ อะหญั จะ โข ภิกขะเว เอวัง วะทามิ สะเจ ตุมหากงั ภกิ ขะเว อะรญั ญะคะตานัง วา รกุ ขะมลู ะคะตานงั วา สุญญาคาระคะตานงั วา อุปปชเชยยะ ภะยงั วา ฉมั ภติ ตั ตงั วา โลมะหังโส วา มะเมวะ ตัสมงิ สะมะเย อันุสสะเรยยาถะ อิตปิ  โส ภะคะวา อะระหงั สมั มาสมั พุทโธ วิชชาจะระณะสมั ปนโน สุคะโต โลกะวิทู อะนตุ ตะโร ปรุ สิ ะทัมมะ สาระถิ สตั ถา เทวะมะนุสสานัง พทุ โธ ภะคะวาติ มะมัง หิ โว ภิกขะเว อะนุสสะระตงั ยมั ภะวิสสะติ ภะยัง วา ฉัมภิตัตตัง วา โลมะหงั โส วา โส ปะหิยยสิ สะติ โน เจ มัง อะ นุสสะเรยยาถะ อะถะ ธมั มัง อะนุสสะเรยยาถะ สวากขาโต ภะคะวะตา ธมั โม สันทิฏฐิ โก อะกาลโิ ก เอหปิ ส สโิ ก โอปะนะยิโก ปจจตั ตงั เวทติ ัพโพ วญิ หู ีติ ธมั มงั หิโว ภิกขะเว อะนุสสะระตัง ยัมภะวสิ สะติ ภะยัง วา ฉัมภิตัตตงั วา โลมะหงั โส วา โส ปะหยิ ยิสสะติ โน เจ ธมั มัง อะนุสสะเรยยาถะ อะถะ สงั ฆัง อะนุสสะเรยยาถะ สุปะฏิ ปน โน ภะคะวะโต สาวะ กะสงั โฆ อุชุปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ญายะ ปะฏิ ปน โน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สามีจปิ ะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อฏั ฐะ ปรุ สิ ะปุคคะลา เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหเุ นยโย ปาหเุ นยโย ทกั ขิเณยโย อญั ชะลกี ะระณะโย อะนุตตะรงั ปญุ ญักเขตตัง โลกัสสาติ สงั ฆัง หิ โว ภิกขะเว อะนุสสะระตงั ยัมภะวิสสะติ ภะยัง วา ฉมั ภิตัตตัง วา โลมะหังโส วา โส ปะหิยยสิ สะติ ตงั กิสสะ เหตุ ตะถา คะโต หิ ภิกขะเว อะระหัง สัมมาสัมพทุ โธ วี ตะราโค วีตะโทโส วตี ะโมโห อะภิรุ อจั ฉัมภี อะนุตราสี อะปะ ลายีติฯ อิทะมะโวจะ ภะคะวา อทิ ัง วตวานะ สุคะโต อะถาปะรงั เอตะทะโวจะ สัตถา อะรญั เญ รุกขะมูเล วา สญุ ญาคาเรวะ ภกิ ขะโว อะนุสสะเรถะ สมั พทุ ธงั ภะยัง ตุมหากะ โน สิยา โน เจ พุทธงั สะเรยยาถะ โลกะ เชฏฐัง นะราสะภงั อะถะ ธัมมงั สะเรยยาถะ นิยยานิ กงั สเุ ทสิตัง โน เจ ธัมมงั สะเรยยาถะ นยิ ยานิกัง สเุ ทสติ ัง อะถะ สังฆงั สะเรยยาถะ ปุญญักเขตตัง อะนุตตะรงั เอวมั พุทธัง สะรันตานัง ธมั มัง สังฆัญจะ ภิกขะโว ภะยัง วา ฉัมภติ ัตตงั วา โลมะหงั โส นะ เหสสะตตี ิ ฯ

อธิบาย ธชัคคปริตร : พระพุทธเจา ไดตรัสสอนพระภิกษทุ ง้ั หลายใหร ะลกึ ถงึ พระคุณของพระพุทธเจา พระ ธรรม และพระสงฆ โดยทรงนําเอาเร่อื งสงครามระหวางพวก เทวดา และพวกอสูร เมือ่ ครง้ั กาํ ลงั ติดพนั กนั ในสมยั กอน มาตรสั เปน ตัวอยา งวา ในสงครามคร้งั น้นั ไดมีพระอินทร หรอื ทาวสกั กะ ผเู ปน ใหญของพวกเทวดาทั้งหลาย ไดตรสั แนะนาํ ใหพ วกเทวดาทีเ่ ขาสงคราม ถาเกิดความหวาดกลัว กใ็ หดยู อดธงท่ี งอน รถ เพอื่ ใหหายหวาดกลัว หานความครั่นคราม หายความสยดสยองตอขา ศึก ซึง่ มี มลู เหตมุ าจากการแยง ทีอ่ ยกู ันบนสวรรค เพราะแตเดมิ น้ัน เทวโลกบนยอดเขาสเุ มรุ เปน ที่อยขู องเทวดาพวกหนึ่ง เรียกวา เนวาสิกเทวบุตร (เทวบตุ รผอุ ยูป ระจํา) มที า ว เวปจิตตเิ ปนหัวหนา ตอ มา เมือ่ \"มฆะมาณพ\" ชาวบานอจลคามในอาณาจกั ร มคธ ผู บําเพญ็ วตั ตบท ๗ ประการ กับภรรยา 4 คน ไดช ักชวนเพื่อนอีก 32 คน รว มกันสราง กุศลกรรมตางๆ ครนั้ ตายลง มฆะมาณพกบั พวกเพ่ือน 32 คน และภรรยา 3 คน (ขาด นางสุชาดา) ไดไปเกิดในเทวโลกบนยอดเขาสเุ มรุ ทพ่ี วกเนวาสิกเทวบุตรอยู มฆะ มาณพไปเกดิ เปนพระอินทร คอื ทาวสักกะ ผูเปนใหญ ของเทวดา สว นนายชา งของ มฆะมาณพไปเกิดเปน วิสสุกรรมเทวบตุ ร นายชา งเทวดา ภรรยา ๓ คน คือ นางสุธัม มา นางสุนันทา นางสุจิตรา ก็ไปเกิดเปนมเหสีของพระอนิ ทร ฝา ยเนวาสกิ เทวบุตร เมื่อเหน็ พวกเทวดามาเกดิ ใหม ก็จัดเคร่ืองดืม่ พวกน้าํ เมา (เรยี กวา ทิพพปานะบา ง คนั ธปานะบาง) เล้ียงตอนรับผูมาใหม แตทา วสกั กะ นัด หมายมใิ หพวกพอ งของตนรวมด่มื พวกเนวาสิกเทวบุตร พากันดมื่ ฝา ยเดียวจนเมา มาย นอนหลบั ไหล อยตู ามภาคพ้ืน ทาวสกั กะ จงึ บอกแกพ วกของตนวา เราไม ตองการใหราชสมบตั ิ ณ ท่ีนี้ เปนสาธารณะแกพ วกเนวาสิกเทวบุตร จงึ ส่งั ใหพรรค พวกของตน จบั พวกเทวบุตรขีเ้ มา ขวา งลงไปในมหาสมุทร ณ เชิงเขาพระสุเมรุ พอ ตกลงมาถึงกลางชว งเขา พวกเนวาสิกเทวบตุ รไดสติ จงึ ปรารภกันวา แตนไ้ี ปเราจะไม ด่มื สุรากันอีกแลว แตนั้นมาพวกเนวาสิกเทวบตุ ร จงึ มนี ามใหมวา \"อสรุ า\" แปลวา ผู ไมดม่ื สุรา และดว ยบุญญานุภาพของพวกเนวาสิกเทวบตุ ร จงึ ดลบันดาลใหมอี สูรภภิ พ เกิดขน้ึ ณ เบื้องลา งเขาพระสุเมรุ มีตนไมชอ่ื จิตตปาลี (แปลวาตนแคฝอย) เกิดขน้ึ เปนตน ไมป ระจําพิภพของอสูร

สว นเทวโลกบนยอดเขาสเุ มรุ ก็กลายเปน สุทัศนเทพนคร ของพระอินทร กับพรรค พวกผูเปน สหาย มีวมิ าน มีอุทยาน มสี ระโบกขรณี มเี วชยนั ตป ราสาท เวชยันตราชรถ และอ่นื ๆ เกดิ ข้ึนดวยอานุภาพของ ทาวสักกะกับมเหสี และเทวดา32 องค ซงึ่ สราง กศุ ลรวมกันมา ตั้งแตนน้ั สวรรคช ั้นน้จี ึงมนี ามวา ดาวดงึ สเทพนคร(นครของเทวดา ๓๒ องค) ทานกลา ววา เทพนครกับอสรู นครนน้ั มี สมบัติเทา เทียมเสมอกัน สวนนางสุชาดา ภรรยาอีกคนหนึ่งของ มฆะมาณพ น้ัน เมื่อภรรยา ทงั้ ๓ คนเขาสรา ง กุศลกัน ตนเองกม็ ไิ ดรวมสรางดวยเพราะคิดเสียวา ตัวเปนภรรยา เมื่อสามีทาํ แลวก็ เทา กบั ตนเองทําดวย จึงสาละวนอยูกบั การแตง ตัว มิไดขวนขวายกอ สรา งการกุศลใด ครัน้ ตายลงจึงไปเกิดเปนนกยาง วันหนึง่ พระอนิ ทรทรงราํ พงึ วา เม่ือครัง้ เรากอสรา งส่ิง กศุ ลอยูเ มอื งมนษุ ย เคยมภี รรยา 4 คน บดั นี้มาเกิดอยูรวมกัน 3 คน แลวนางสุชาดา อกี 1 คนไปอยูท ไ่ี หน เม่ือตรวจดู ไปก็ทรงทราบวา นางสุชาดาไปเกิดเปนนกยาง จึงลงมาแนะนาํ ใหรักษาศลี มิใหก ินปลาเปน ใหก ินแตป ลาตาย เม่ือหาปลาตายกินไมไ ด นางนกยางนน้ั กอ็ ด อาหาร และซูบผอมลงแลวกต็ ายไปเกิดเปน ธิดาชางหมอ พระอินทร ก็ลงมาแนะนําให รักษาศีล ครั้นนางสน้ิ ชพี ในชาตินนั้ ก็ไปเกิดเปน ธิดาผูงดงามของทา วเวปจิตติ ราชา แหง อสูร ผเู ปนศตั รูคูแคนกับทาวสักกะ ครน้ั เจรญิ วัยบดิ าก็งานสยุมพรใหพ ระธดิ า เลือกคคู รอง พอดีพระอินทรทรงทราบ จึงแปลงองคเปนอสูรแกม ายืนอยทู า ยสดุ ของที่ ชุมนมุ แลวดว ยบุพเพสนั นิวาส นางกโ็ ยนพวงมาลยั มาใหอ สูรชรา คือทา วสักกะ ท่ี ชุมนุมก็อลเวงพวกอสรู หนุมกห็ าวา นางไปเลือกอสูรแกไมคูควรกัน พระอนิ ทรผเู ปน อสรู แกปลอมก็อมุ นางพาไปขนึ้ เวชยันตร าชรถ ซึง่ มาตลเี ทวบตุ รนาํ มาซมุ รอไว พากนั เหาะหนไี ปยงั สทุ ศั นเทพนคร ซง่ึ เปนมูลเหตุอีกเรือ่ งหน่งึ ท่ีทําใหพ วกอสรู แคนเคอื ง พวกเทวดามาก ต้ังแตน ้ันมา คร้นั ถึงฤดูท่ีตนจิตตปาลี ตนไมประจําพิภพอสูร ผลิดดอกบาน พวกอสรู ก็ รําลึกถงึ ตนปารฉิ ตั รทีเ่ คยเปน ของตน อสูรกย็ กทพั มารบกบั เทวดาพวกของพระอนิ ทร เปน สงครามประจาํ ฤดกู าลและผลัดกันแพ - ชนะ ดวยเหตนุ ี้ทาวสักกะผเู ปนราชาแหง เทวดาทัง้ หลาย จึงตรสั แนะนาํ ใหเ ทวดาทัง้ หลายท่เี ขา สงครามดูยอดธงของพระองค ถา ไมเหน็ กใ็ หดยู อดธงของเทวราช อีก 3 องค ซง่ึ มาในกองทัพคือ

เทวราชผูมพี ระนามวา ปชาบดี เทวราชผูมีนามวา วรณุ และเทวราชผมู ีนามวา อสี าน ซึ่งพระอรรถกถรจารย (พระพทุ ธโฆสฯ) อธิบายวา เทวราชพระนามวา ปชาบดี นั้นมี ผิวพรรณและอายเุ ทากันกับทาวสักกะ และประทับนง่ั มา ณ อาสนะเปน อนั ดบั 2 สว น เทวราช วรุณ และอีสาน ก็อยเู ปนอนั ดับ 3 และ 4 ถัดไป พระพทุ ธเจาไดท รงยกเอาเรอ่ื งสงครามระหวางเทวดากบั อสุร และคําตรัสแนะนาํ ของ ทา วสักกะที่ตรัสแกท วยเทพเปน แนวเปรยี บเทียบ แลวตรัสสอนใหภ ิกษุท้ังหลาย ผู ปฏบิ ตั กิ ัมมฏั ฐาน หรอื สมาทานธุดงต ไปอยตู ามโคนไม หรอื ในอาคารท่สี งดั ใหระลึก ถงึ พระพุทธเจา พระธรรม และพระสงฆ เพ่อื ระงับความกลัว ความครั่นคราม และ ความสยดสยอง เชน ขอ ความในธชัคคปริตร ซง่ึ พระอรรถกถาจารยกลาวไวว า อานุภาพของพระปรติ รบทนแ้ี ผไ ปทั่วอาณาจักรเขตแสนโกฏิจักรวาฬ ผทู รี่ ะลึกพระ ปริตรนแี้ ลวแลว รอดพนจากทกุ ขท ่เี กิดจากภยั มยี ักษและโจร เปนตน นบั ไมถ ว น ผูมี จิตเล่ือมใส ระลึกถงึ พระปริตรน้ี ยอมจะไดหลกั พึง่ พิงได ( คําอธิบายนี้ มาจากหนงั สือสวดมนต ฉบบั อบุ าสก อุบาสิก: วัดเกตุมดีศรีวราราม)

8. อาฏานาฏยิ ปรติ ร สวดบชู าใหพ นจาก อมนษุ ย เนอ้ื มนตก ลา วถงึ คุณงามความดีของพระพุทธเจา 7 พระองคในอดตี และ การอาราธนาพทุ ธานภุ าพเหลานน้ั มาคมุ ครองใหผ ูส วดรอดพนจาก อันตราย ใหเ กิดความสุข ความสงบ เหลา อมนุษยท ัง้ หลายไมเ บียดเบียน วปิ สสสิ สะ นะมัตถุ จักขุมนั ตสั สะ สิรีมะโต สขิ สิ สะป นะมัตถุ สัพพะภูตานุกัมปโน เวสสะภุสสะ นะมัตถุ นะหาตะกัสสะ ตะปสสิโน นะมัตถุ กะกสุ ันธัสสะ มาระเสนปั ปะมทั ทโิ น โกนาคะมะนัสสะ นะมัตถุ พราหมะณสั สะ วสุ ีมะโต กสั สะปสสะ นะมตั ถ วปิ ปะมตุ ตัสสะ สพั พะธิ อังคีระสัสสะ นะมตั ถุ สักยะปตุ ตัสสะ สริ ีมะโต โย อิมัง ธัมมะมะเทเสสิ สัพพะทกุ ขาปะนูทะนงั เย จาป นพิ พุตา โลเก ยะถาภูตงั วิปสสิสุง เต ชะนา อะปสณุ า มะหนั ตา วตี ะสาระทา หติ ัง เทวะมะนุสสานัง ยงั นะมัสสันติ โคตะมัง วชิ ชาจะระณะสัมปนนัง มะหันตัง วีตะสาระทงั วชิ ชาจะระณะสมั ปนนัง พุทธัง วันทามะ โคตะมันติ

คาํ แปล อาฏานาฏยิ ปริตร : ความนอบนอมของขาพเจา จงมแี ดพ ระวิปสสีพุทธเจา ผมู ีจักษุ ผูมีสิริ ความนอบนอ มของขาพเจา จงมีแดพระสิขพี ทุ ธเจา ผมู ีปกติอนเุ คราะหแกสตั วท้งั ปวง ความนอบนอมของขา พเจา จงมแี ดพ ระเวสสะภูพทุ ธเจา ผมู ีกเิ ลสอันลางแลว ผมู ตี บะ ความนอบนอ มของขาพเจา จงมีแดพระกกุสันธพุทธเจา ผยู ่ํายเี สยี ซงึ่ มารและเสนามาร ความนอบนอมของขา พเจา จงมแี ดพ ระโกนาคมนะพุทธเจา ผูมีบาปอนั ลอยเสยี แลว ผมู พี รหมจรรย อันอยูจบแลว ความนอบนอมของขา พเจา จงมแี ดพระกสั สปพุทธเจา ผพู นแลว จากกเิ ลสทั้งปวง ความนอบนอ มของขา พเจา จงมแี ดพระองั ครี สพทุ ธเจา ผเู ปนโอรสแหงศากยราช ผมู ีสริ ิ พระพทุ ธเจาพระองคใ ด ไดทรงแสดงแลว ซงึ่ ธรรมน้ี เปน เคร่ืองบรรเทาเสยี ซงึ่ ทกุ ขทั้งปวง อนึ่ง พระพทุ ธเจา ทั้งหลายเหลา ใด ท่ดี บั กิเลสแลวในโลก เห็นแจง ธรรมตามเปนจริง พระพุทธเจา ท้งั หลายเหลาน้ัน เปน ผไู มมีความสอ เสียด เปนผใู หญ ผปู ราศจากความคร่ันครามแลว เทพยดาและมนษุ ยท ั้งหลาย ผูนอบนอมอยู ซ่ึงพระพทุ ธเจาพระองคใด ผูเปนโคตมโคตร ผูเปน ประโยชนเกื้อกูลแกเ ทพยดาและมนุษยทั้งหลาย ถึงพรอ มแลวดว ยวิชชาและจรณะ เปนผูใหญ ผูมีความคร่ันครา มปราศจากไปแลว ขาพเจาทั้งหลาย ขอนมัสการพระพุทธเจา พระองคน ั้น ผถู ึงพรอ มแลวดว ยวชิ ชา และจรณะเปนอันดีแลวแล

9. อังคุลีมาลปริตร สวดบูชาใหพ น จากการแทง บุตร ใหคลอดบุตรงา ย เนือ้ มนตกลา วถึงสจั าธษิ ฐานของพระองคลุ ิมาลเถระ ท่ีตัง้ ขน้ึ เพ่ือชวยหญิง มคี รรภคนหนง่ึ ใหคลอดบตุ รไดง า ย นอกเหนือจากการคลอดบุตรงา ยแลว ยังมอี านภุ าพแกไ ขปญหาเฉพาะหนา อยา งปจ จุบนั ทันดวน คลายปญ หาจาก เหตุการณฉ บั พลันสดุ วิสัย ปะรติ ตงั ยมั ภะณันตสั สะ อทุ ะกมั ป วินาเสติ โสตถินา คัพภะวฏุ ฐานัง เถรัสสังคุลิมาลสั สะ กปั ปฏฐายิ มะหาเตชัง นิสินนฏั ฐานะโธวะนัง สัพพะเมวะ ปะริสสะยัง ยญั จะ สาเธติ ตงั ขะเณ โลกะนาเถนะ ภาสติ ัง ปะรติ ตันตัมภะณามะ เห ฯ ยะโตหัง ภะคินิ อะริยายะ ชาติยา ชาโต นาภิชานามิ สัญจิจจะ ปาณัง ชวี ติ า โวโรเปตาฯ เตนะ สจั เจนะ โสตถิ เต โหตุ โสตถิ คพั ภัสสะ คาํ แปล อังคลุ ิมาลปรติ ร : แมน นํ้าที่ใชล างท่นี งั่ ของพระองคุลิมาลเถระ ยังสามารถบันดาลใหภยนั ตรายท้งั ปวงมลายส้ินไปได พระปรติ รบทใดๆ อันพระโลกนาถทรงภาษติ แดพระองคุลมิ าล เถระแลว กย็ อ มบนั ดาลใหก ารคลอดบุตรเกิดสริ ิสวัสด์ิ เกดิ ความปลอดภยั ดกู รนอ งหญิง ตงั้ แตท ่ีอาตมาไดก ําเนิดในชาติอรยิ ะแลว ก็มิไดปลงชพี ของสตั วใดเลย และดวยความสตั ยจริงนั้นเอง กข็ อความสขุ สวัสด์ิจงมแี กเ ธอ และขอความสขุ สวสั ด์จิ งมีแกลูกในครรภของเธอดวยเถดิ

10. โพชฌังคปริตร สวดบชู าใหพนจากโรคราย หายเจบ็ ปว ย สขุ ภาพแข็งแรง เนื้อมนตก ลาวถงึ พระธรรมทีเ่ ปน องคแหง การตรสั รู 7 ประการ ไดแก สติ ธัมมวจิ ยะ วิรยิ ะ ปต ิ ปสสัทธิ สมาธิ และ อุเบกขา มีอานภุ าพรกั ษาอาการ เจ็บปว ยเปนไขใหม ลายสิ้น โพชฌังโค สะติสังขาโต ธมั มานัง วจิ ะโย ตะถา วิรยิ ัมปต ิ ปส สัทธิ โพชฌังคา จะ ตะถาปะเร สะมาธเุ ปกขะโพชฌังคา สัตเตเต สพั พะทัสสนิ า มุนนิ า สัมมะทักขาตา ภาวิตา พะหลุ ีกะตา สงั วัตตันติ อะภิญญายะ นิพพานายะ จะ โพธยิ า เอเตนะ สัจจะวชั เชนะ โสตถิ เต โหนตุ สัพพะทา เอกัสมิง สะมะเย นาโถ โมคคัลลานัญจะ กัสสะปง คลิ าเน ทกุ ขิเต ทิสวา โพชฌังเค สัตตะ เทสะยิ เต จะ ตัง อะภินนั ทิตวา โรคา มจุ จิงสุ ตังขะเณ เอเตนะ สัจจะวชั เชนะ โสตถิ เต โหตุ สัพพะทา เอกะทา ธัมมะราชาป เคลัญเญนาภิปฬิโต จนุ ทตั เถเรนะ ตญั เญวะ ภะณาเปตวานะ สาทะรัง สัมโมทติ วา จะ อาพาธา ตัมหา วุฏฐาสิ ฐานะโส เอเตนะ สัจจะวชั เชนะ โสตถิ เต โหตุ สัพพะทา ปะหนี า เต จะ อาพาธา ติณณันนัมป มะเหสินัง มัคคาหะตะกเิ ลสาวะ ปต ตานุปปตตธิ มั มะตงั เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โสตถิ เต โหตุ สัพพะทา ฯ

คาํ แปล โพชฌงั คปรติ ร : โพชฌงค 7 ประการ คือ สติสัมโพชฌงค ธรรมะวิจะยะสมั โพชฌงควริ ิยะสัม โพชฌงค ปติสัมโพชฌงค ปสสัทธสิ มั โพชฌงคส มาธิ อุเบกขาสมั โพชฌงค เหลา นี้ อนั พระมุนีเจา ผูทรงเหน็ ธรรมท้งั ปวง ตรัสไวช อบแลว อนั บุคคลมาเจรญิ และทําให มากแลวยอมเปนไปเพื่อความรยู ่ิง เพือ่ ความตรัสรูแ ละเพ่ือพระนิพพานดวยการ กลา วคาํ สัจนี้ ขอความสวัสดี จงมแี กท า นทุกเมอ่ื ในสมยั หน่ึง พระโลกนาถเจา ทอดพระเนตรพระโมคคลั ลานะ และพระกัสสปะเปน ไขไ ดรับความลําบากถงึ ทกุ ขเวทนาแลว ทรงแสดงโพชฌงค 7 ประการใหทานท้งั สองฟง ทานทั้งสองกเ็ พลดิ เพลนิ พระธรรมเทศนานัน้ หายโรคในบัดดล ดวยการ กลา วคาํ สัจนี้ ขอความสวัสดี จงมแี กท านทุกเมื่อครง้ั หนึ่งแมพระธรรมราชาเอง ทรงประชวรเปน ไขร ับสั่งใหพ ระจุนทเถระ แสดงโพชฌงคนั้นถวายโดยความ เคารพ กท็ รงบันเทงิ พระหฤทยั หายจากพระประชวรนั้นโดยพลนั ดวยการกลา ว คําสัจนี้ ขอความสวัสดี จงมแี กท า นทกุ เมื่อ กอ็ าพาธท้ังหลายนนั้ อนั พระมหาฤๅษี ทัง้ 3 องค หายแลว ไมก ลับเปนอีก ดุจดังกเิ ลสอนั มรรคกําจัดแลว ถงึ ซ่ึงความไม เกิดอีก เปนธรรมดาฉะนั้นดว ยการกลา วคาํ สัตยนี้ ขอความสวสั ดี จงมีแกท า นทกุ เม่อื เทอญ

11. อภัยปรติ ร สวดบูชาใหพ นจากภยั พิบตั ิทงั้ ปวง เนื้อมนตม ีอานภุ าพเพ่ือแกลางรา ย เหตุราย ฝนราย ทาํ ลายส่งิ อปั มงคลทง้ั ปวงใหมลายสนิ้ ยนั ทุนนิมิตตงั อะวะมังคะลัญจะ โย จามะนาโป สะกุณัสสะ สทั โท ปาปคคะโห ทสุ สุปนัง อะกันตัง พทุ ธานุภาเวนะ วินาสะเมนตุ ฯ ยันทุนนิมิตตัง อะวะมังคะลัญจะ โย จามะนาโป สะกุณัสสะ สัทโท ปาปคคะโห ทสุ สุปนงั อะกันตัง ธมั มานุภาเวนะ วินาสะเมนตุ ฯ ยนั ทนุ นิมติ ตัง อะวะมงั คะลัญจะ โย จามะนาโป สะกณุ ัสสะ สทั โท ปาปคคะโห ทุสสุปนงั อะกันตัง สังฆานุภาเวนะ วนิ าสะเมนตุ ฯ คําแปล อภัยปรติ ร : นิมิตอันเปนลางชวั่ รา ยอนั ใด ส่งิ อวมงคลอนั ใด เสียงนกท่ไี มชอบใจอันใด สิ่งทน่ี า ตกใจอันใด บาปรา ย เคราะหรายอนั ใด ฝน รา ยอนั ใด สิ่งไมพึงปรารถนาอันใด ที่มีอยู ขอส่ิงเหลา นน้ั จงถึงความพินาศไป ดว ยอานุภาพแหง พระพทุ ธเจา ฯ นมิ ิตอันเปนลางช่วั รายอนั ใด ส่งิ อวมงคลอนั ใด เสียงนกทไี่ มชอบใจอนั ใด ส่ิงท่ีนา ตกใจอันใด บาปรา ย เคราะหรา ยอนั ใด ฝน รายอนั ใด สิ่งไมพึงปรารถนาอนั ใด ที่มีอยู ขอส่ิงเหลา นัน้ จงถึงความพินาศไป ดว ยอานภุ าพแหง พระธรรมเจา ฯ นิมิตอันเปน ลางชัว่ รายอันใด สิ่งอวมงคลอนั ใด เสยี งนกท่ไี มช อบใจอันใด ส่ิงทน่ี าตกใจอนั ใด บาปราย เคราะหร ายอนั ใด ฝน รา ยอันใด สิ่งไมพึงปรารถนาอันใด ทม่ี อี ยู ขอส่ิงเหลา นั้นจงถึงความพินาศไป ดว ยอานภุ าพแหง พระสังฆเจา ฯ

12. ชัยปริตร สวดบูชาใหพ นจาก ความพายแพ เน้ือมนตกลา วถึงอานุภาพของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจา มงคลแหง ชีวิต สวดเปน ประจาํ เพื่อขอชัยชนะจากส่งิ เลวราย ใหเกดิ ความสุขความเจริญ มะหาการุณโิ ก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง ปเู รตวา ปาระมี สัพพา ปตโต สัมโพธมิ ุตตะมัง เอเตนะ สัจจะวชั เชนะ โหตุ เม ชะยะมงั คะลัง ฯ ชะยันโตโพธิยา มเู ล สักยานงั นนั ทิ วัฑฒะโน เอวัง อะหัง วิชะโย โหมิ ชะยัสสุ ชะยะมงั คะเล อะปะราชิตะ ปล ลังเก สเี ส ปะฐะวิโปกขะเร อะภเิ สเก สัพพะพทุ ธานัง อัคคปั ปตโต ปะโมทะติ ฯ สุนกั ขัตตัง สมุ ังคะลงั สุปะภาตัง สุหุฏ ฐิตัง สุขะโณ สุมุหุตโต จะ สยุ ิฏฐงั พรัหมะ จารสิ ุ ปะทกั ขณิ ัง กายะกัมมัง วาจากมั มัง ปะทกั ขิณัง ปะทกั ขณิ ัง มะโนกมั มัง ปะณิธีเต ปะทักขิณา ปะทกั ขิณานิ กัตวานะ ละภันตัตเถ ปะทักขิเณ ฯ ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะ เทวะตา สัพพะพุทธานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวัน ตุ เม ฯ ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รกั ขันตุ สัพพะ เทวะตา สัพพะธมั มานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวนั ตุ เม ฯ ภะวะตุ สพั พะมังคะลัง รกั ขันตุ สัพพะ เทวะตา สพั พะสังฆานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวนั ตุ เม ฯ

คําแปล ชัยปรติ ร : พระพทุ ธเจา เปนผเู ปนทพ่ี ง่ึ ของสัตว ทรงประกอบแลวดว ยพระมหากรุณา บําเพญ็ บารมีทั้งหลายทงั้ ปวงใหเต็ม เพอื่ ประโยชนเ ก้ือกลู แกสรรพสัตวท้งั หลาย เปนผถู ึง ความตรัสรูช อบอนั สูงสดุ ดวยการกลา วคําสัตยจริงนี้ ขอชยั มงคลจงมแี กทานเถิด ขอทา นจงมีชัยชนะในมงคลพธิ ี เหมอื นพระจอมมนุ ีทรงชนะมารทโี่ คนตนโพธิ์ แลวถึงความเปน ผูเลศิ ในสรรพพุทธาภิเษก ทรงบนั เทิงพระทยั อยูบนบลั ลังกทมี่ าร ไมอาจจะผจญได เปนจอมมหาปฐพี ทรงเพิ่มพูนความดี แกเ หลาประยูรญาติศาก ยวงศฉะน้นั เทอญ เวลาที่บุคคลและสตั วป ระพฤติดีประพฤตชิ อบ ช่อื วาฤกษดี มงคลดี สวางดี รุงแจง ดี และขณะดี ครยู ามดี ชอื่ วา บูชาดแี ลวในผปู ระพฤตอิ ยางประเสริฐทัง้ หลาย กายกรรมอันเปน มงคลสูงสุด วจีกรรมอนั เปนมงคลสูงสุด มโนกรรมอันเปน มงคล สงู สุด ความปรารถนาอันตง้ั ไวเพ่ือสิ่งอันเปนมงคลสูงสุด บุคคลและสตั วท้ังหลาย ทํากรรมอันเปนมงคลสูงสุด ยอ มไดประโยชนท ง้ั หลายอัน เปนมงคลสูงสุดแล ฯ ขอใหท กุ ส่ิงอันเปนมงคลทง้ั ปวง จงมีแกท า น ขอเทวดาทัง้ หลายท้ังปวง จงปกปก รกั ษาทา นดวยอานภุ าพแหงพระพุทธเจา ขอความสวสั ดจี งมแี กทาน ตลอดกาลทุกเมื่อเถดิ ฯ ขอใหทกุ ส่ิงอันเปนมงคลทง้ั ปวง จงมีแกทาน ขอเทวดาทัง้ หลายท้ังปวง จงปกปก รักษาทานดวยอานุภาพแหงพระธรรมเจา ขอความสวัสดีจงมีแกทา น ตลอดกาลทุกเมื่อเถดิ ฯ ขอใหทุกสิ่งอันเปน มงคลทั้งปวง จงมแี กทา น ขอเทวดาทั้งหลายทั้งปวง จงปกปก รกั ษาทานดว ยอานุภาพแหงพระสังฆเจา ขอความสวัสดจี งมีแกท า น ตลอดกาลทกุ เม่อื เถดิ ฯ

คาถาแผเมตตาใหสรรพสัตวทัง้ หลาย สัพเพ สตั ตา อะเวรา โหนตุ อพั พะยาปช ฌา โหนตุ อะนฆี า โหนตุ สขุ ี อัตตานัง ปะริหะรันตุ สัตวทั้งหลายท้งั ปวง ท่เี ปนเพื่อนทุกข เกิด แก เจ็บ ตาย ดวยกันทงั้ สิ้น จงเปน สขุ เปนสขุ เถิด อยา ไดม เี วรแกก ันและกันเลย จงเปนสุขเปน สุขเถิด อยาไดเบยี ดเบยี นซงึ่ กนั และกันเลย จงเปนสขุ เปน สุขเถิด อยาไดม ีความทุกขกายทกุ ขใ จเลย จงมีความสขุ กาย สขุ ใจ รักษาตนใหพ นจากทุกขภยั ทั้งสิ้นเทอญ คาถาแผเ มตตาแกตนเอง อะหัง สุขิโต โหมิ อะหัง นทิ ทกุ โข โหมิ อะหัง อะเวโร โหมิ อะหัง อพั ยาปช โฌ โห มิ สุขี อัตตานัง ปะรหิ ะรามิ ขอใหขาพเจา มีความสขุ ขอใหข า พเจาปราศจากความทุกข ขอใหขาพเจา ปราศจากเวร ขอใหข า พเจาปราศจากอุปสรรคอันตรายทงั้ ปวง ขอใหข า พเจาจงมี ความสุขกายสุขใจ รกั ษากายวาจาใจใหพ นั จากความทุกขภยั ทงั้ ปวงเถิด

คาถาแผเ มตตาพรหมวิหารสี่ บทเมตตา สัพเพ สตั ตา สตั วท ้ังหลายท่ีเปน เพ่ือนทกุ ข เกิด แก เจบ็ ตาย ดวยกันท้ังสิ้น อะเวรา โหนตุ จงเปนผูไมม ีเวรแกกนั และกันเถดิ อพั ยาปช ฌา โหนตุ จงเปนผูไมเบียดเบยี นซ่ึงกันและกัน อะนีฆา โหนตุ จงเปน ผูไมมที กุ ขกาย ทกุ ขใจเถดิ สขุ ี อัตตานงั ปะริหะรนั ตุ จงเปน ผูมีสุข พนจากทกุ ขภ ัยทั้งส้ินเถิด บทกรุณา สัพเพ สัตตา สตั วท ง้ั หลายท่เี ปน เพื่อนทกุ ข เกิด แก เจบ็ ตาย ดว ยกันทั้งส้ิน สพั พะทกุ ขา ปะมุจจันตุ จงพนจากทุกขเถิด บทมทุ ิตา สพั เพ สตั ตา สตั วทัง้ หลายทเ่ี ปนเพื่อนทุกข เกิด แก เจบ็ ตาย ดวยกันทง้ั สิ้น มา ลัทธะสัมปต ติโต วิมุจจันตุ จงอยาไปปราศจากสมบตั ิอนั ตนไดแลว เถิด บทอเุ บกขา สัพเพ สตั ตา สตั วทง้ั หลายที่เปน เพื่อนทกุ ข เกิด แก เจบ็ ตาย ท้งั ส้ิน กมั มัสสะกา เปนผมู ีกรรมเปนของของตน กมั มะทายาทา เปน ผูร ับผลของกรรม กัมมะโยนิ เปน ผมู ีกรรมเปนกาํ เนดิ กัมมะพันธุ เปนผมู ีกรรมเปนเผา พนั ธุ กัมมะปะฏิสะระณา เปน ผมู ีกรรมเปนทพ่ี ึ่งอาศยั ยงั กัมมัง กะริสสันติ กระทาํ กรรมอนั ใดไว กัลยาณัง วา ปาปะกัง วา ดีหรือช่ัว ตสั สะ ทายาทา ภะวสิ สนั ติ จักเปน ผูรบั ผลของกรรมน้นั

คาถาแผส ว นกศุ ล อทิ ัง เม มาตาปต ูนัง โหตุ สุขิตา โหนตุ มาตาปตะโร ขอสว นบุญน้ีจงสําเร็จแกม ารดา บดิ าของขา พเจา ขอใหม ารดา บดิ าของขา พเจา มคี วามสขุ อทิ งั เม ญาตีนัง โหตุ สุขิตา โหนตุ ญาตะโย ขอสว นบุญน้ีจงสาํ เรจ็ แกญาติทัง้ หลายของขาพเจา ขอใหญาติทงั้ หลายของขา พเจามีความสุข อิทัง เม ครุ ูปช ฌายาจริยานงั โหตุ สขุ ติ า โหนตุ คุรูปช ฌายาจริยา ขอสวนบุญน้ีจงสาํ เร็จแกค รูอปุ ชฌายอาจารยข องขา พเจา ขอใหครอู ปุ ชฌายอาจารยของขาพเจามคี วามสขุ อทิ ัง สัพพะเทวะตานัง โหตุ สุขติ า โหนตุ สัพเพเทวา ขอสวนบุญนี้จงสําเรจ็ แกเ ทวดาทงั้ หลายทั้งปวง ขอใหเทวดาท้งั หลายทง้ั ปวงมีความสขุ อิทงั สัพพะเปตานงั โหตุ สุขิตา โหนตุ สพั เพ เปตา ขอสวนบุญนี้จงสาํ เรจ็ แกเ ปรตทง้ั หลายทั้งปวง ขอใหเ ปรตท้ังหลายทั้งปวงมีความสขุ อิทงั สพั พะเวรนี ัง โหตุ สุขิตา โหนตุ สพั เพเวรี ขอสวนบุญน้ีจงสาํ เร็จแกเจากรรมนายเวรท้ังหลายทงั้ ปวง ขอใหเ จากรรมนายเวรท้งั หลายทง้ั ปวงมีความสขุ อิทงั สพั พะสตั ตานัง โหตุ สุขติ า โหนตุ สัพเพ สัตตา ขอสว นบุญน้ีจงสําเรจ็ แกสัตวท ั้งหลายทงั้ ปวง ขอใหสตั วท ้งั หลายท้ังปวงมีความสขุ ทว่ั หนากันเทอญ

www.SiamGanesh.com สยามคเณศ ดอทคอม เวบ็ ไซตขอ มูลความรูเรื่ององคเ ทพ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook