ในหลวงกับพพิ ธิ ภณั ฑท์ างธรรมชาติ สมาธิ ธรรมศร เมอื่ เอย่ ถงึ ในหลวงรชั กาลท่ี ๙ ผเู้ ขยี นเชอื่ วา่ คนไทยสว่ นใหญค่ งจะนกึ ถงึ ภาพของพระราชาผู้เสด็จพระราชด�ำเนินไปตามท้องถ่ินทุรกันดารพร้อม กับดนิ สอ สมุดบนั ทกึ แผนที่ และกลอ้ งถ่ายรูปส่วนพระองคอ์ ยา่ งไมร่ จู้ กั เหนด็ เหนอ่ื ยยอ่ ทอ้ สำ� หรบั ผเู้ ขยี นซง่ึ เปน็ เยาวชนคนรนุ่ ใหม่ รสู้ กึ เสยี ดายที่ ไมค่ อ่ ยไดม้ โี อกาสเหน็ ในหลวงของเราเสดจ็ พระราชดำ� เนนิ ไปตามทอ้ งถน่ิ ต่างๆ มากนัก สง่ิ ทีค่ นรุ่นใหมอ่ ยา่ งผเู้ ขียนท�ำไดค้ ือติดตามชมภาพบันทึก เกา่ ๆ ของพระองค์ตามสือ่ โทรทศั น์และสง่ิ พิมพต์ ่างๆ - 51 -
เนื่องจากผู้เขียนเคยท�ำงานด้านดาราศาสตร์และวิทยาศาสตร์ พื้นพิภพมาก่อน จึงมักใช้เวลาว่างในการเที่ยวชมฝนดาวตกตามสถานที่ ต่างๆ อยู่บ่อยคร้ัง เม่ือไม่นานมาน้ี ผู้เขียนได้มีโอกาสเดินทางผ่านไป บริเวณรอยต่อของต�ำบลป่าเม่ียงและต�ำบลแม่โป่ง อ�ำเภอดอยสะเก็ด จงั หวดั เชยี งใหม่ สง่ิ ทผ่ี เู้ ขยี นพบคอื ถนนเลก็ ๆ สายหนงึ่ ซงึ่ ทอดยาวเขา้ ไปสู่ “พพิ ธิ ภัณฑท์ างธรรมชาต”ิ ซงึ่ เต็มไปด้วยต้นไม้และแหลง่ นำ�้ อนั สวยงาม พิพิธภัณฑ์ทางธรรมชาติดังกล่าวคือ “ศูนย์ศึกษาการพัฒนา ห้วยฮ่องไคร้อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ” จากการสอบถามเจ้าหน้าท่ี ของศนู ยฯ์ ผเู้ ขยี นไดร้ บั ความรวู้ า่ ในอดตี พน้ื ทแ่ี ถบนเ้ี คยมสี ภาพแวดลอ้ ม ท่ีเส่ือมโทรม ดินไม่เหมาะสมต่อการท�ำเกษตรกรรม ขาดความชุ่มชื้น แห้งแล้ง มีไฟป่า และแหล่งน�้ำตามธรรมชาติมีไม่เพียงพอเน่ืองจากเป็น ปา่ เสอื่ มโทรม จนกระท่ังวนั ที่ ๑๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๒๕ พระองค์ทรง มีพระราชประสงค์ท่ีจะพัฒนาพื้นท่ีดังกล่าวให้เป็นศูนย์การทดลองทาง ธรรมชาติและเกษตรกรรมในพ้นื ทภี่ าคเหนือ รวมถงึ พฒั นาใหก้ ลายเป็น แหล่งการเรียนรู้ท่ีประชาชนสามารถเข้ามาศึกษาหาความรู้และน�ำไป ปฏิบัตเิ ป็นอาชพี ได้ ส�ำหรับผู้เขียนซ่ึงได้รับการศึกษามาทางด้านฟิสิกส์ของพลังงาน และส่ิงแวดล้อม พบวา่ สถานที่แห่งน้ีเปรียบเสมือน “ห้องทดลอง” ทตี่ ั้ง อยทู่ ่ามกลางธรรมชาติ เพราะศูนย์ศกึ ษาการพฒั นาหว้ ยฮอ่ งไครฯ้ แหง่ น้ี มีการศึกษาวิจัยเก่ียวกับธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่ค่อนข้างครบวงจร ยกตัวอย่างเช่น การศึกษาด้านอุตุนิยมวิทยาเร่ืองพฤติกรรมของกลุ่มฝน เนอ่ื งจากฝนเปน็ หยาดนำ้� ฟา้ (precipitation) ชนดิ หนง่ึ ทเี่ กดิ จากกอ้ นเมฆ บนท้องฟ้าแล้วตกลงมาในรูปของของเหลว เมื่อเกิดฝนตกข้ึนท่ีใด ผู้ที่ ศึกษาวิจัยต้องท�ำการบันทึกตัวแปรต่างๆ เช่น ช่วงเวลา (duration) - 52 -
ในนคกัหดิ วถลิทึงยว์ ง ปรมิ าณ (volume) ความถ่ี (frequency) และความเขม้ (intensity) ของ ฝนเพ่ือน�ำมาวิเคราะห์ข้อมูลในข้ันต่อไป ข้อมูลเหล่านี้มีประโยชน์อย่าง มากในการบริหารจัดการน้�ำ โดยต้องอาศัยองค์ความรู้ด้านอุทกวิทยา และธรณวี ทิ ยารว่ มดว้ ย เพอื่ วางแผนพฒั นาลมุ่ นำ้� และแหลง่ นำ้� ขนาดเลก็ ในทอ้ งถน่ิ ตามความเหมาะสม ซง่ึ ในทนี่ คี้ อื การใชโ้ ครงสรา้ งทางวศิ วกรรม อย่างอา่ งเกบ็ น้ำ� ประตรู ะบายน้ำ� และฝายขนาดเล็ก เพือ่ คืนความช่มุ ช้นื และเป็นแหล่งน�้ำใหก้ ับพน้ื ที่ นอกจากนี้ยังมีการศึกษาเพื่อปรับปรุงคุณภาพดินให้ดีข้ึนตาม หลกั การทางปฐพวี ทิ ยา การศกึ ษาชนดิ ของสตั วป์ า่ และพรรณไม้ รวมไปถงึ การอนรุ กั ษห์ นา้ ดนิ และการปอ้ งกนั ไฟปา่ ไมเ่ พยี งเทา่ นนั้ หอ้ งทดลองแหง่ นยี้ งั ประยกุ ตใ์ ชข้ อ้ มลู ทศี่ กึ ษาวจิ ยั เพอื่ “พฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ” ของชาวบา้ น ในพ้ืนที่โดยการพัฒนาอาชีพด้านเกษตรกรรม ปศุสัตว์ และการประมง อีกด้วย หากมองในด้านการศึกษา ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้ฯ ก็ไม่ต่างจากพิพิธภัณฑ์ทางธรรมชาติท่ีมีชีวิต ท่ีเปิดโอกาสให้คนรุ่นใหม่ และผทู้ ส่ี นใจไดเ้ ขา้ ไปศกึ ษาหาความรทู้ างธรรมชาตแิ ละเรยี นรกู้ ารใชช้ วี ติ ของเกษตรกรอกี ด้วย ในฐานะของนักสื่อสารวิทยาศาสตร์คนหน่ึง ผู้เขียนพบว่าการได้ เขา้ ไปเยยี่ มชมศนู ยก์ ารเรียนร้แู ห่งนี้ ผู้เขียนได้รบั ความรูใ้ หม่ๆ ทไี่ มเ่ คยรู้ ได้เห็นการใช้ชีวิตแบบพอเพียงท่ีเรียบง่ายและสงบสุข ได้เห็นธรรมชาติ อนั น่ารนื่ รมย์ และเหนือสิ่งอื่นใดคือการไดเ้ ข้ามาสมั ผสั สถานท่ีทเี่ กดิ จาก สายพระเนตรอันยาวไกลของในหลวงทยี่ งั คงเฝ้าดูแลทุกข์สุขของปวงชน ชาวไทยเร่ือยมา ผ่านโครงการในพระราชด�ำรินับพันโครงการที่ผู้เขียน ไม่อาจเอย่ ชื่อได้หมด - 53 -
เกีย่ วกบั ผ้เู ขียน สมาธิ ธรรมศร ส�ำเร็จการศึกษาด้านฟิสิกส์ของพลังงานและ สิ่งแวดล้อม เคยเป็นนักวิชาการและนักท�ำส่ือการเรียนรู้ด้าน ดาราศาสตร์และวิทยาศาสตร์พ้ืนพิภพ ท่ีท้องฟ้าจ�ำลอง อ�ำเภอ บ้านหมอ จังหวัดสระบุรี ปัจจุบันเป็นนักส่ือสารวิทยาศาสตร์ที่ มีบทความทางด้านวทิ ยาศาสตรใ์ นนิตยสาร Fusion magazine สถาบนั เทคโนโลยนี วิ เคลยี รแ์ หง่ ชาติ และนติ ยสาร Synchrotron magazine สถาบนั วิจัยแสงซินโครตรอน กระทรวงวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี - 54 -
ต้นไมพ้ ยากรณ์ฝน นพพร นนทภา “ไมย้ างนาในประเทศไทย ไดถ้ กู ตดั ฟนั ใชส้ อยและทำ� เปน็ สนิ คา้ กนั เปน็ จำ� นวนมากขน้ึ ทกุ ปี เปน็ ทนี่ า่ วติ กวา่ หากมไิ ดบ้ ำ� รงุ สง่ เสรมิ และดำ� เนนิ การปลูกไม้ยางนาขึน้ แลว้ ปริมาณไมย้ างนาอาจจะลดนอ้ ยลงไปทุกที จึงควรที่จะได้มีการด�ำเนินการวิจัยเกี่ยวกับการปลูกยางนา เพ่ือจะ ได้น�ำความรู้ไปใช้ในทางปฏิบัติ” (พระราชปรารภพระบาทสมเด็จพระ ปรมินทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช เมอ่ื ปี พ.ศ. ๒๕๐๔ จากหนงั สือในส�ำนัก หอสมดุ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์) ผู้เขียนอ่านพระราชปรารภของในหลวงอยู่ตลอด ตั้งแต่สมัยเป็น นสิ ติ คณะวนศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตรจ์ นสำ� เรจ็ การศกึ ษา และ - 55 -
ไปรบั ราชการเปน็ นกั วทิ ยาศาสตรท์ มี่ หาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ ดว้ ยพนื้ ทข่ี อง มหาวิทยาลัยขอนแก่นที่กว้างใหญ่กว่า ๕,๙๐๐ ไร่ และมีป่าดั้งเดิมอยู่ มากกว่า ๔๐ เปอร์เซ็นต์ ในขณะน้ัน และบางส่วนก็มีการปลูกเพ่ิมเติม หนง่ึ ในนั้นก็มียางนา เมือ่ มารบั ราชการใหม่ๆ มหาวทิ ยาลัยยังไมม่ หี อพกั ให้ จงึ ไปสมคั รเปน็ อาจารยท์ ี่ปรึกษาหอพักนกั ศึกษาชายท่ี ๖ หน้าหอพักมีต้นยางนาขนาดสามคนโอบอยู่สองต้น คงจะปลูกไว้ ตั้งแตส่ มัยเริ่มกอ่ ต้งั มหาวิทยาลยั เมอื่ ตน้ ยางนาสองตน้ น้ีออกผล ผเู้ ขยี น กเ็ กบ็ มาเพาะ เพาะแบบเลน่ ๆ และแจกจา่ ยใหก้ บั ผทู้ สี่ นใจนำ� ไปปลกู เพอื่ เปน็ การตอ่ ยอดจากแนวพระราชดำ� ริของในหลวง ต่อมานิสติ ปริญญาโท จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้ประสานงานให้ช่วยเก็บเมล็ดยางนา เพ่ือท�ำการวิจัยด้านไมคอร์ไรซา (mycorrhiza) กับยางนา เมื่อผลงาน วจิ ัยเปน็ ท่ีน่าพอใจ ทางจฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัยจงึ วา่ จา้ งให้ผเู้ ขียนและ ชาวบา้ นชว่ ยเกบ็ เมลด็ ยางนาจำ� นวนมากเพอื่ นำ� ไปเพาะและปลกู ปา่ พนื้ ฟู ทีอ่ �ำเภอเวยี งสา จังหวดั น่าน เม่ือผู้เขียนและชาวบ้านเก็บยางนามากๆ เราก็พบปัญหาหลาย อยา่ ง หนง่ึ ในน้นั คอื การที่ต้องออกไปดยู างนาบ่อยๆ วา่ จะแกต่ อนไหน ร่วงตอนไหน เพราะปกติหากมีลมฝนในช่วงที่ยางนาน่าจะแก่ เราก็พอ จะคาดการณ์ได้วา่ ต้นไหนจะรว่ ง บางคร้งั เราไม่รลู้ ่วงหนา้ ว่าจะมพี ายฝุ น หรือไม่ แต่เราต้องออกไปดู ย่ิงต้นยางนาท่ีอยู่ไกลๆ ก็ท�ำให้ต้องเสียค่า ใช้จา่ ยจ�ำนวนมาก จุดเร่ิมต้นของทางออกของปัญหาเกิดข้ึนเม่ือปี พ.ศ. ๒๕๔๘ เมอ่ื ผูเ้ ขียนสงั เกตเห็นวา่ ในแต่ละปีผลของต้นยางนาหน้าหอพักชายที่ ๖ ท่ีเก็บมาเพาะนั้นร่วงไม่พร้อมกัน บางปีก็ร่วงกลางมีนาคม บางปีก็ร่วง - 56 -
ในนคักหดิ วถลทิ ึงยว์ ง กลางเมษายน ท้ังๆ ท่ีเป็นต้นเดียวกัน และทุกคร้ังท่ีผลยางนาสองต้นนี้ ร่วงหล่นจะมีพายุฤดูร้อนเสมอ “หรือว่าต้นยางนาสองต้นน้ีรู้ว่าวันไหน พายุฝนจะมา” ผู้เขียนสันนิษฐานวา่ อยา่ งนั้น ในปีถัดมา ผู้เขียนจึงเริ่มเก็บข้อมูลอย่างจริงจัง โดยเพิ่มต้นไม้ที่ กระจายพันธุ์ดว้ ยพายฝุ นทง้ั หมดในวงศย์ างนา (Dipterocarpaceae) ที่ พบในมหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ ซงึ่ มี ๙ ชนดิ ไดแ้ ก่ ยางนา (Dipterocarpus alatus) ยางกราด (Dipterocarpus intricatus) พลวง (Dipterocarpus tuberculatus) เหียง (Dipterocarpus obtusifolius) ตะเคียนทอง (Hopea odorata) กระบาก (Anisoptera costata) พะยอม (Shorea roxburghii) เตง็ (Shorea obtusa) รงั (Shorea siamensis) ชนิดละ ๑๐ ตน้ เปน็ เรอื่ งทน่ี า่ ทง่ึ มาก เมอื่ ผลการศกึ ษาบอกวา่ ตน้ ไมใ้ นวงศย์ างนา รู้วันฝนตก โดยสามารถรู้ล่วงหน้าตามระยะเวลาต้ังแต่ดอกร่วงพรูจนถึง วันท่ีผลรว่ ง ทุกชนิดทกุ ตน้ ให้ขอ้ มูลที่แมน่ ยำ� ไมม่ ีผดิ เพย้ี นแม้แตต่ น้ เดียว ด้วยเหตุผลที่ว่า ต้นไม้ในวงศ์ยางนาใช้ลมพายุฝนในการกระจาย พนั ธแ์ุ ละผลของเขากม็ ชี วี ติ ทส่ี น้ั พวกเขาจงึ ตอ้ งแกใ่ หต้ รงกบั ชว่ งทมี่ พี ายุ ฝน จากการศกึ ษาทง้ั ๙ ชนดิ ทำ� ใหท้ ราบหลกั ในการคำ� นวณวนั ฝนตกคอื ใหเ้ ริม่ นับจากวนั ทดี่ อกรว่ งพรู แลว้ ปรบั ช่วงเวลา ±๕ วัน เนอื่ งจากในต้น เดียวกันดอกร่วงไม่พร้อมกัน และก็ได้สูตรในการค�ำนวณวันฝนตกแยก เป็น ๒ กลมุ่ ดังนี้ ๑. กลมุ่ ทใี่ ชเ้ วลานบั จากวนั ทด่ี อกรว่ งพรจู นถงึ วนั ผลรว่ ง ๙๐ วนั คอื สกลุ Dipterocarpus ไดแ้ ก่ ยางนา เหยี ง ยางกราด สตู รจงึ เปน็ ๙๐±๕ วนั ลา่ สดุ ทผี่ เู้ ขยี นคำ� นวณโดยมตี น้ แบบอยใู่ นมหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ คอื เหยี ง ที่บริเวณหมู่บ้านสีฐานเหนือ ตรงกับวันท่ี ๔±๕ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ - 57 -
และฝนก็ได้ตกต้ังแต่วันท่ี ๑-๕ ตุลาคม และครั้งต่อไปที่ผู้เขียนค�ำนวณ ไวค้ อื ๘±๕ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ และครัง้ ท่รี นุ แรงและยาวท่สี ดุ คอื ชว่ ง ๒๐ มกราคม–๒๐ กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๐ ๒. กลุ่มท่ีใช้เวลานับจากวันท่ีดอกร่วงพรูจนถึงวันผลร่วง ๖๐ วัน คือ สกุล Dipterocarpus บางชนิดได้แก่ พลวง สกุล Hopea ได้แก่ ตะเคียนทอง สกลุ Shorea ได้แก่ เต็ง รัง พะยอม และสกลุ Anisoptera ไดแ้ ก่ กระบาก สตู รจึงเปน็ ๖๐±๕ วนั นบั เปน็ พระมหากรณุ าธคิ ณุ หาทเี่ ปรยี บมไิ ดท้ พ่ี ระองคไ์ ดใ้ หแ้ นวทาง ในการอนุรักษ์ยางนา จนเป็นท่ีมาให้ผู้เขียนน�ำมาต่อยอดและขยายผล จนสามารถแก้ปญั หาต่างๆ ได้ ปัจจุบันผู้เขยี นไปดตู น้ ยางนาและต้นอน่ื ๆ เพียงสองครั้งคือ วันที่ดอกร่วงพรูและวันท่ีไปเก็บผลมาเพาะ ซึ่งไม่ต้อง กงั วลอะไรแลว้ พอถงึ วนั ตามทค่ี ำ� นวณกน็ ำ� ชาวบา้ นไปเกบ็ ไดเ้ ลย นอกจาก นี้การรู้วันฝนตกล่วงหน้าเป็นเวลานานหลายเดือนยังช่วยในการวางแผน ปอ้ งกันวาตภยั และวางแผนการปลูกพชื ไดอ้ กี ด้วย เก่ียวกับผเู้ ขียน นพพร นนทภา ปจั จบุ นั เปน็ นกั วทิ ยาศาสตรช์ ำ� นาญการ สาขาวชิ า เภสชั เวทและพษิ วทิ ยา คณะเภสชั ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ และหวั หน้ากลมุ่ ปลกู ปา่ ภาคประชาชน *ขนุ ดง* (เฟซบกุ๊ ขนุ ดง พนั ธ์ุไมฟ้ รี๒๔ชั่วโมง) - 58 -
ในหลวงกบั การแก้ปัญหาดนิ เค็ม ดร.นิสา เหลก็ สูงเนนิ ภาพท่ีคุ้นชินตาทุกวันในข่าวภาคค�่ำเม่ือสมัยผู้เขียนยังเป็นเด็กและมี โทรทัศน์เพยี ง ๔ ชอ่ ง คอื การเหน็ ในหลวงรชั กาลท่ี ๙ ทรงงานตามท่ี ต่างๆ โดยห้องทรงงานของพระองค์คือพ้ืนที่ท่ีมีปัญหาทั่วทุกภาคของ ประเทศไทย ในทกุ ทท่ี เี่ สดจ็ พระราชดำ� เนนิ ไป จะทรงมแี ผนที่ กลอ้ งถา่ ยรปู และขา้ ราชบริพารทีค่ ุ้นหนา้ คุ้นตาตามเสดจ็ เสมอ - 59 -
ภาพทพี่ ระองคท์ รงมพี ระราชดำ� รสั กบั ราษฎร ทรงซกั ถามถงึ ปญั หา และหาข้อมูล เพื่อหาวิธีแก้ไข เป็นภาพท่ีผู้เขียนเกิดค�ำถามในใจ สงสัย แบบเด็กๆ วา่ ทำ� ไมพระมหากษัตรยิ ์ไมท่ รงประทับอยูใ่ นวงั เฉยๆ ท�ำไม จะต้องเหน็ดเหน่ือยเสด็จพระราชด�ำเนินไปตามที่ต่างๆ หรือท�ำไมไม่ เสด็จพระราชด�ำเนินไปในท่ีที่รถเข้าถึงได้ ท�ำไมจะต้องบุกป่าฝ่าดงไปใน ที่ท่ีล�ำบากด้วย เพราะแม้แต่ตัวเราท่ีเป็นเด็ก มีก�ำลังพอจะเดินไปไหน มาไหน ยังไม่มีความคิดท่ีอยากจะไปในที่ทุรกันดารเช่นท่ีในหลวงเสด็จ พระราชด�ำเนิน แต่เม่ือโตขน้ึ จงึ เขา้ ใจวา่ สง่ิ ที่พระองคท์ รงทำ� นั้น ก็เพอ่ื ความเปน็ อยู่ ท่ีดีของประชาชนทุกหมู่เหล่า ไม่ทรงแบ่งแยกว่าจะพระราชทานความ ชว่ ยเหลอื เฉพาะคนไทยเทา่ นน้ั ผคู้ นทกุ เชอ้ื ชาตทิ อี่ าศยั แผน่ ดนิ ไทยอยนู่ น้ั ทรงให้ความเมตตา ไม่มีการแบ่งแยกชนช้ัน จากการติดตามศึกษา พระราชกรณียกิจของในหลวง ท�ำให้ทราบถึงพระราชปณิธานในการ ทรงงานคือ “ขอให้ประชาชนมีอยู่มีกินอย่างพอเพียง จากนั้นจะพัฒนา อะไรก็จะท�ำได้ง่าย เพราะเมื่อคนเราท้องอิ่มแล้วก็จะมีความคิดในการ ท�ำเร่อื งดๆี เพอ่ื สังคมต่อไป” พระราชกรณียกิจท่ีทรงเน้นย�้ำคือเร่ือง “ดินและน้�ำ” เพราะเป็น เรื่องของการด�ำรงชีวิตของมนุษย์ เน่ืองจากประเทศไทยเป็นประเทศที่ ใช้ชวี ติ อิงอยกู่ ับการเกษตร อีกทั้งยงั เปน็ ประเทศท่ีมีทรพั ยากรธรรมชาติ อย่างอุดมสมบูรณ์ที่สุดอีกประเทศหนึ่งในโลก ดังนั้นถ้าหากยึดอาชีพ ท�ำการเกษตรและการใช้ชีวิตอย่างพอเพียง ก็จะไม่มีวันล�ำบากอย่าง แน่นอน แมท้ รพั ยากรจะมเี พียงพอ แต่หากเราใช้อย่างไม่รูค้ ณุ คา่ และไม่ รักษา แต่กลับลงมือทำ� ลายทรพั ยากรเหลา่ นน้ั เรากอ็ าจจะไม่เหลืออะไร ไวใ้ หใ้ ช้ตอ่ ไปในอนาคต - 60 -
ในนคกัหดิ วถลทิ ึงยว์ ง ยกตัวอยา่ งเช่น ปญั หาดนิ เคม็ ในภาคอีสาน ซึ่งเปน็ ปญั หาทเ่ี กดิ ขึ้น มายาวนานหลายทศวรรษ สาเหตุหลักของปัญหาดินเค็มในภาคอีสาน คือ ช้ันหินที่อยู่ใต้ดินน้ันเป็นหินเกลือท่ีเกิดจากทะเลในอดีตหลายล้านปี มาแล้ว และมกี ารยกตวั ขึ้นเปน็ ภูเขาอยา่ งท่เี ห็นในปจั จุบัน จึงท�ำใหด้ นิ ที่ สลายตวั มาจากหนิ เกลอื นน้ั มคี วามเคม็ แตใ่ นอดตี พน้ื ทเี่ หลา่ นถี้ กู ปกคลมุ ไปด้วยไม้ป่าท่ีมีรากหย่ังลึก ท�ำให้เกลือยังสะสมอยู่ใต้ดิน แต่เมื่อมีการ เปลย่ี นพนื้ ทป่ี า่ เปน็ พน้ื ทเ่ี กษตรกรรม ซง่ึ พชื ทปี่ ลกู นน้ั มรี ะบบรากทตี่ นื้ กวา่ ไมป้ า่ ท�ำให้เกลือขึ้นมาอย่ทู ี่ผวิ หนา้ ดนิ จนในท่ีสดุ ไมม่ ีพชื ใดสามารถทน ความเคม็ ได้ จงึ ไมส่ ามารถใชใ้ นการเพาะปลูกได้อกี ตอ่ ไป พ้ืนที่จงึ กลาย เป็นที่รกร้างว่างเปล่า สาเหตุหลกั อีกอย่างหนึ่งที่ส่งผลให้พื้นทีด่ นิ เคม็ ในภาคอสี าน ขยาย ออกไปอยา่ งกวา้ งขวางและรวดเรว็ กค็ อื การทำ� นาเกลอื โดยการอดั นำ้� ลง ไปในช้ันหินและสูบน�้ำเค็มข้ึนมาต้ม หรือตากไว้เพ่ือให้ได้เกลือ แม้ว่าใน ปจั จบุ นั จะมกี ฎหมายใหย้ กเลกิ การทำ� นาเกลอื ในภาคอสี านแลว้ แตค่ วาม เสียหายทีเ่ กดิ ขึน้ ได้แพร่ขยายไปเกินกว่าจะควบคุมได้ ส่งผลให้ดินเค็มใน ภาคอสี านขณะนมี้ พี นื้ ทม่ี ากกวา่ ๑๗ ลา้ นไร่ กอ่ ใหเ้ กดิ ปญั หาทขี่ าดแคลน ท่ดี นิ ทำ� กินและเกษตรกรขาดรายได้ อย่างไรก็ตามปัญหานี้ก็ไม่ได้รอดพ้นไปจากสายพระเนตรของ ในหลวงท่ีทรงมีพระราชด�ำริให้จัดตั้งโครงการสาธิตการปลูกพืชในพ้ืนท่ี ดนิ เคม็ ตำ� บลตาจน่ั อำ� เภอคง จงั หวดั นครราชสมี า ในปี พ.ศ. ๒๕๔๓ โดย มีราษฎรน้อมเกล้าฯ ถวายที่ดินจ�ำนวนประมาณ ๒๔ ไร่ จนถึงปัจจุบัน พ้ืนท่ีนี้ได้รับการพัฒนามาอย่างต่อเน่ือง มีกิจกรรมทดลองปลูกพืชและ เลย้ี งสัตว์อย่างครบวงจร ไดแ้ ก่ การปลกู ขา้ วพันธุข์ าวดอกมะลิ ๑๐๕ ซ่งึ ทนเค็มและทนแล้ง การปลกู มะพรา้ วน้ำ� หอม กล้วย ฝรั่ง ออ้ ย การขดุ บอ่ - 61 -
เล้ียงปลานิล และการเลี้ยงสุกร วัว เป็ดเทศ และไก่พันธุ์พ้ืนบ้าน ซึ่ง สามารถสร้างรายได้เป็นที่น่าพอใจ นอกจากนี้ทางโครงการยังเปิดพื้นท่ี ใหป้ ระชาชน นกั เรยี น นกั ศกึ ษา และผสู้ นใจ ไดเ้ ขา้ มาเยยี่ มชมเพอ่ื เรยี นรู้ เกี่ยวกบั การด�ำเนนิ การภายในโครงการ ผู้เขยี นไดม้ ีโอกาสเดนิ ทางไปศึกษาโครงการนดี้ ว้ ยตวั เอง นอกจาก จะได้รบั ความรกู้ ลับมา ยงั ไดร้ บั พันธุฝ์ ร่ังทนเค็มกลับมาปลกู ท่ีบ้าน และ ไดร้ บั ผลฝรงั่ ไรเ้ มลด็ เปน็ ของฝากอกี ดว้ ย แตน่ อกเหนอื จากความรแู้ ละของ ฝากทไี่ ดร้ บั แลว้ ผเู้ ขยี นไดร้ บั ความอมิ่ ใจ อนุ่ ใจทไี่ ดเ้ กดิ มาใตร้ ม่ พระบารมี ได้อาศัยในประเทศท่ีมีในหลวงที่ทรงห่วงใยประชาชนอย่างแท้จริง และ พรอ้ มทจี่ ะชว่ ยแกป้ ญั หาตา่ งๆ หากใครมพี นื้ ทท่ี ม่ี ปี ญั หาดนิ เคม็ จะนอ้ มนำ� แนวทางของโครงการนไ้ี ปปรบั ใชใ้ นพ้นื ท่ขี องตน ก็จะเป็นประโยชน์มาก ทีเดียว แม้ว่าปัญหาดินเค็มในภาคอีสานจะยังไม่สามารถแก้ไขให้หมดได้ ในปัจจบุ ัน แต่ดว้ ยโครงการท่มี อี ยู่ รวมไปถึงมีผทู้ ก่ี ำ� ลังศกึ ษาค้นควา้ วิจัย เพื่อแก้ปัญหาดินเค็ม ในอนาคตพื้นท่ีดินเค็มในภาคอีสานอาจจะลดลง หรือหมดไป ด้วยความพยายามของทกุ ภาคสว่ นทรี่ ่วมแรงร่วมใจกัน เพือ่ สานตอ่ เจตนารมณข์ องในหลวงทท่ี รงมพี ระราชประสงคใ์ หป้ ระชาชนของ พระองคอ์ ยู่ดี กนิ ดี มีความพอเพียง สามารถพึง่ พาตนเองได้ ผู้เขียนในฐานะอาจารย์ ผู้ท�ำงานสอนและวิจัยเก่ียวเนื่องกับการ เจริญเติบโตของไม้ป่าภายใต้สภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสมเช่นดินเค็ม ขอต้ังปณิธานสานต่องานทางด้านการปรับปรุงฟื้นฟูพ้ืนที่ดินเค็มน้ี ตอ่ ไป เพอ่ื ชว่ ยแกป้ ญั หาใหก้ บั ประชาชน เพราะเชอื่ วา่ พระองคก์ ำ� ลงั ทอด พระเนตรการทำ� งานของเราอย่จู ากที่ใดทห่ี นง่ึ และพระราชทานกำ� ลังใจ - 62 -
ในนคักหิดวถลิทงึ ยว์ ง มาให้คณะผู้ท�ำงาน เพ่ือให้งานทั้งหลายน้ันประสบผลส�ำเร็จดังที่ต้ังใจไว้ อยา่ งแนน่ อน เก่ียวกบั ผู้เขยี น ดร.นิสา เหล็กสูงเนิน ปัจจุบันเป็นอาจารย์ประจ�ำภาควิชา ชีววิทยาป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ท�ำงานสอนและวิจัยเก่ียวกับการเจริญเติบโตของไม้ป่าภายใต้ สภาพแวดล้อมท่ีไม่เหมาะสม เช่น ดินเค็ม สภาพแห้งแล้ง น้�ำท่วม หรือภายใต้สภาพร่มเงา ส�ำเร็จการศึกษาจาก คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ในระดับปริญญา ตรีและโท และได้รับพระราชทานทุนมูลนิธิอานันทมหิดล แผนกเกษตรศาสตร์ ปี พ.ศ. ๒๕๔๙ ใหไ้ ปศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาเอก ท่ีสหรัฐอเมรกิ า - 63 -
ตน้ หญา้ ของพระราชา สมาธิ ธรรมศร ช่วงเดือนเมษายนถึงพฤษภาคมของทุกปี เป็นช่วงที่ประเทศไทยได้รับ อิทธิพลจากพายุฤดูร้อน และมีลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้พัดผ่าน เป็น สัญญาณบ่งบอกว่าฤดูฝนก�ำลังย่างก้าวเข้ามา สิ่งที่เกิดขึ้นในช่วงฤดูฝน ของทุกปีมักจะเป็นปัญหาน้�ำท่วมและดินถล่มซ่ึงสร้างความเดือดร้อนให้ กบั พนี่ อ้ งชาวไทยในหลายๆ จังหวัด ชว่ งปลายปี พ.ศ. ๒๕๕๙ ผเู้ ขียนได้มีโอกาสลงพื้นที่ส�ำรวจปัญหา น�ำ้ ท่วมและดนิ ถล่มบรเิ วณลมุ่ น้�ำปา่ สัก ต�ำบลบา้ นครวั อ�ำเภอบ้านหมอ - 64 -
จังหวัดสระบุรี ซึ่งเป็นหนึ่งในพ้ืนที่รับ น้�ำที่ได้รับความเสียหายอย่างรุนแรง เม่ือปีมหาอุทกภัย พ.ศ. ๒๕๕๔ สิ่งที่ ผู้เขียนพบคือ แม่น�้ำล�ำคลองบางส่วน ถูกกดั เซาะจากกระแสน้ำ� ท�ำใหด้ ินริม ตลงิ่ บางสว่ นพงั ทลายลงมา และสง่ ผล กระทบต่อที่อยู่อาศัยของชาวบ้านริม ฝั่งคลอง ดินถล่ม (land slide) เป็น ปรากฏการณ์หรือภัยธรรมชาติอย่าง หน่ึงซึ่งเกิดจากมวลดินเกิดการเคล่ือน ตัวจากที่สูงลงสู่ท่ีต่�ำภายใต้อิทธิพล ของแรงโน้มถ่วง ประเทศไทยของเรา มกั เกดิ ดนิ ถลม่ ในชว่ งฤดฝู น โดยเฉพาะ บริเวณพ้ืนที่ท่ีมีความลาดชันมากกว่า ๓๐ องศา ซง่ึ สว่ นใหญเ่ ปน็ เชงิ เขา นอกจากนบ้ี รเิ วณแมน่ ำ้� ทมี่ คี วามคดโคง้ (meandering river) ดินริมตล่ิงสามารถถูกน�้ำกัดเซาะให้พังถล่มลงมา ได้เชน่ กนั การแก้ปัญหาดินถล่มทางวิศวกรรมมีหลากหลายรูปแบบ เช่น ท�ำการถมดินแล้วบดอัดดินให้แน่นเพ่ือปรับความลาดชันให้เหมาะสม ใช้ก�ำแพงกันดินป้องกันดินไหล หรือสร้างเข่ือนริมตลิ่ง วิศวกรจะต้อง คำ� นงึ ถงึ คา่ ปจั จยั ความปลอดภยั (factor of safety) ซงึ่ หาไดจ้ ากสดั สว่ น ระหวา่ งแรงตา้ นทานการเคลื่อนตวั ของดนิ กับแรงกระท�ำท่ที �ำใหด้ ินเกดิ - 65 -
การเคลอื่ นตวั อยา่ งไรกต็ าม การแกป้ ญั หาดนิ ถลม่ ในทางปฏบิ ตั ติ อ้ งใชเ้ งนิ จ�ำนวนมากพอสมควร ระหว่างท่ีผู้เขียนก�ำลังพิจารณาหาทางแก้ปัญหา ด้วยงบประมาณอันจ�ำกัดอยู่นั้นเอง ผู้เขียนก็นึกย้อนไปถึงโครงการใน พระราชด�ำรขิ องในหลวงรัชกาลท่ี ๙ ทีม่ ชี ่ือว่า “โครงการหญ้าแฝก” ซึง่ ครขู องผเู้ ขยี นเคยเล่าใหฟ้ ังต้ังแต่สมยั ผู้เขยี นเปน็ นกั เรยี น หญ้าแฝก หรือ vetiver grass เป็นพืชใบเล้ียงเด่ียวในตระกูล หญ้า พบได้ท่ัวทุกภูมิภาคของประเทศไทย ในหลวงรัชกาลที่ ๙ ทรงมี พระราชด�ำริให้น�ำหญ้าแฝกเหล่านี้มาใช้บรรเทาปัญหาการกัดเซาะ และพังทลายของหน้าดิน เนื่องจากหญ้าแฝกมีลักษณะเด่นคือ มีใบ เรียวเล็กยาว ข้ึนเป็นกอหนา มีระบบรากในแนวดิ่ง (vertical root) ทแี่ ขง็ แรง สามารถหย่งั ลกึ ลงดินได้ ๑-๓ เมตร เมือ่ มนี ้ำ� ไหลผ่านบรเิ วณ ท่ีปลูกหญ้าแฝก ความเร็วของน้�ำจะลดลง เพราะเสียดสีกับกอใบและ รากท่ยี ึดหนา้ ดนิ ไว้ จะทำ� ใหห้ นา้ ดนิ แขง็ แรงไม่ถกู กัดเซาะ หรือพงั ทลาย ไดง้ า่ ยน่นั เอง ผู้เขยี นได้นอ้ มนำ� โครงการหญา้ แฝกของในหลวงรัชกาลที่ ๙ มาใช้ แก้ปัญหาดินถล่มในพื้นท่ีฯ ด้วยการใช้ดินซีแล็คหรือดินดานซ่ึงมีราคา ถกู มคี ุณสมบตั ใิ นการบดอัด (compaction) มเี น้อื ดนิ แห้ง และปะปน ไปดว้ ยกรวดหนิ เพอื่ ใชเ้ ปน็ ฐานทมี่ คี วามมนั่ คงแขง็ แรง ดา้ นบนถมทบั ดว้ ย ดนิ ดำ� ซง่ึ อดุ มไปดว้ ยแรธ่ าตอุ าหารสงู เหมาะสมตอ่ การเจรญิ เตบิ โตของพชื ทำ� การปรบั ความชนั ของดนิ ใหม้ คี า่ ไมเ่ กนิ ๓๐ องศา พรอ้ มกบั ไลร่ ะดบั เปน็ ข้ันบันไดเพื่อให้ง่ายต่อการเดินข้ึนและลง จากน้ันจึงปลูกหญ้าแฝกเรียง เป็นแถวตามขั้นบันได โดยแต่ละต้นปลูกห่างกันไม่เกิน ๑๐ เซนติเมตร วิธีการน้ีช่วยเพ่ิมความแข็งแรงให้กับหน้าดิน และเพ่ิมความชุ่มช้ืนให้กับ ดนิ ไดใ้ นเวลาเดยี วกนั - 66 -
ในนคักหิดวถลิทงึ ยว์ ง หญา้ แฝกไมไ่ ดม้ ปี ระโยชนใ์ นการอนรุ กั ษห์ นา้ ดนิ เทา่ นน้ั ใบของหญา้ แฝกท่ีโตและสงู ขึ้น สามารถนำ� มาใช้มุงหลงั คา ทำ� กระดาษ ท�ำเชือก ทำ� เสื่อ ทำ� ปุ๋ย ใช้เปน็ วสั ดุคลมุ ดิน เพาะเห็ด และอาหารสตั ว์ นอกจากนีร้ าก ของหญา้ แฝกบางสายพนั ธย์ุ งั มกี ลน่ิ หอม นำ� ไปทำ� นำ้� มนั หอมระเหย สรา้ ง รายไดเ้ สรมิ ใหก้ ับผู้ปลูกไดอ้ ีกด้วย เห็นไดช้ ัดว่าในหลวงรชั กาลท่ี ๙ ทรง เลอื กใชว้ ธิ ที างธรรมชาตใิ นการแกป้ ญั หาดนิ ทางวศิ วกรรม หรอื ทเ่ี รยี กวา่ ชีววศิ วกรรมปฐพี (soil bioengineering) ได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพสูงสดุ แสดงใหเ้ หน็ ถงึ พระอจั ฉรยิ ภาพดา้ นวศิ วกรรมและความเขา้ ใจในธรรมชาติ ของพระองค์ไดเ้ ปน็ อย่างดี เก่ยี วกบั ผ้เู ขยี น สมาธิ ธรรมศร ส�ำเร็จการศึกษาด้านฟิสิกส์ของพลังงานและ สิ่งแวดล้อม เคยเป็นนักวิชาการและนักท�ำส่ือการเรียนรู้ด้าน ดาราศาสตร์และวิทยาศาสตร์พื้นพิภพ ที่ท้องฟ้าจ�ำลอง อ�ำเภอ บ้านหมอ จังหวัดสระบุรี ปัจจุบันเป็นนักส่ือสารวิทยาศาสตร์ท่ี มีบทความทางด้านวิทยาศาสตรใ์ นนติ ยสาร Fusion magazine สถาบนั เทคโนโลยนี วิ เคลยี รแ์ หง่ ชาติ และนติ ยสาร Synchrotron magazine สถาบนั วิจยั แสงซินโครตรอน กระทรวงวทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี - 67 -
ธ ทรงเป็น “ในหลวง” ของเรา ดร.สกุ ัญญา ยงเกียรตติ ระกลู ย้อนไปในอดีต ช่วงต้นรัชสมัยของในหลวงรัชกาลที่ ๙ ในช่วงเวลาน้ัน การสาธารณสุขของบ้านเรายังล้าหลังและขาดประสิทธิภาพ ในขณะ ที่ประชาชนส่วนใหญ่ก็ยังยากจนและขาดความรู้ความเข้าใจในการ ดูแลรักษาสขุ ภาพ ทำ� ใหเ้ กดิ โรคตดิ เช้อื และโรคระบาดในชมุ ชนที่อยตู่ าม พน้ื ทตี่ า่ งๆ มากมาย ยงิ่ ในตา่ งจงั หวดั ทหี่ า่ งไกลความเจรญิ ดว้ ยแลว้ โอกาส ที่ประชาชนจะเข้าถงึ การรักษากน็ อ้ ยมาก หรอื แทบไมม่ เี ลย ทำ� ใหผ้ ปู้ ว่ ย ตอ้ งเสียชีวติ จากโรคติดเช้ือตา่ งๆ ไดอ้ ย่างง่ายดาย ทวา่ ไม่ใชเ่ พียงแคโ่ รค - 68 -
ในนคักหดิ วถลิทงึ ยว์ ง ติดเชื้อท่วั ไปเท่านั้น แต่ยงั มีโรคตดิ ต่อเรื้อรงั อนั เป็นทรี่ ังเกยี จของผคู้ นใน สงั คม และหนึง่ ในโรครา้ ยนน้ั ก็คอื โรคเรือ้ น เม่ือหวนนึกถึงตอนผู้เขียนยังเป็นเด็ก ในชุมชนละแวกท่ีอาศัยอยู่ มีหญิงชราคนหน่ึงท่ีเคยเป็นโรคเรื้อน แม้ว่าจะหายจากโรคแล้วแต่ก็มี รอยโรคปรากฏอยู่ ผู้เขียนได้ยินค�ำพูดและได้เห็นท่าทีของผู้คนที่ปฏิบัติ ต่อหญิงชราคนนั้นแล้ว ในบางครั้งก็รู้สึกสงสารและเห็นใจหญิงชราเป็น อยา่ งยงิ่ แตต่ ามประสาเด็กกก็ ลัวท่จี ะเข้าใกลห้ รือพดู คุยดว้ ย แตแ่ ม่ของ ผเู้ ขยี นกลบั พดู คยุ กบั เขาอยา่ งเปน็ กนั เอง และยงั เขา้ ไปในบา้ นของเขาซง่ึ มี ลกู สาวเป็นช่างทำ� ผม .... ครง้ั หน่ึงผเู้ ขียนเคยบอกแมว่ า่ อยากให้แม่ไปท�ำ ผมรา้ นอนื่ เพราะกลวั วา่ แมจ่ ะตดิ โรคได้ แตแ่ มก่ ลบั ตอบวา่ ไมต่ ดิ โรคจาก เขาหรอก เพราะเขาหายจากโรคแล้ว และนัน่ ก็พลอยทำ� ใหใ้ นเวลาตอ่ มา ผ้เู ขยี นจงึ กล้าที่จะว่งิ เขา้ ออกบา้ นของหญิงชราคนดงั กลา่ ว กระทงั่ ผเู้ ขยี นเตบิ โตขน้ึ มา จนมาวนั หนง่ึ ทไี่ ดร้ บั รวู้ า่ มบี คุ คลอกี ทา่ น หนงึ่ ทไี่ มเ่ พยี งไมร่ งั เกยี จผปู้ ว่ ยโรคเรอ้ื น แตย่ งั หว่ งใย ดแู ล และหาวธิ เี ยยี วยา รกั ษาผปู้ ว่ ยโรคเรอื้ นทง้ั ทางดา้ นรา่ งกายและจติ ใจมาโดยตลอด และทา่ นผู้ น้นั ก็ไม่ใช่ใครอ่นื หากแต่เปน็ ในหลวงของเรา ในหลวงรชั กาลท่ี ๙ ทรงใหค้ วามสนพระทยั ในโครงการควบคมุ และ บำ� บดั โรคเรอ้ื นของกระทรวงสาธารณสขุ และไดท้ รงรบั ไวเ้ ปน็ โครงการใน พระราชด�ำริ ทรงมีพระราชด�ำริให้กระทรวงสาธารณสุขเร่งปราบปราม โรคเรื้อนให้หมดไปจากสังคมไทย พระองค์ได้พระราชทุนทรัพย์ของ มูลนิธิอานันทมหิดลจ�ำนวนหน่ึงเพ่ือเป็นทุนเร่ิมแรกแก่กระทรวง สาธารณสุข เพ่ือพัฒนาความรู้ทางวิชาการให้แก่บุคลากรและให้มีการ ศกึ ษาวจิ ยั โรคเร้ือนอยา่ งจริงจงั นอกจากนพ้ี ระองค์ยังทรงมพี ระราชดำ� ริ - 69 -
ให้ช่วยเหลือครอบครัวของผปู้ ่วย พร้อมทงั้ สนับสนนุ ใหส้ ่งเสริมอาชีพแก่ ผู้ป่วย เพื่อให้ผู้ป่วยท่ีหายจากโรคสามารถกลับเข้าสู่สังคม และสามารถ ท�ำมาหากินเลี้ยงตนเองและครอบครัวต่อไปได้ นับได้ว่าทรงเอาพระทัย ใส่ในเรื่องการรักษาพยาบาล และให้การดูแลผู้ป่วยโรคเร้ือนอย่างครบ วงจรและเป็นรูปธรรมอย่างยงิ่ ความรสู้ กึ แรกทเี่ กดิ ขน้ึ เมอ่ื ไดร้ บั รเู้ รอ่ื งราวเหลา่ นี้ คอื รสู้ กึ ประหลาด ใจและต้ืนตันใจ เพราะไม่เคยนึกมาก่อนว่าจะมีเรื่องแบบน้ีเกิดขึ้น โรค ร้ายอันเป็นที่น่ารังเกียจของคนท่ัวไป แต่ในหลวงทรงมีพระเมตตารับมา ดแู ลอยา่ งจรงิ จงั อกี ทง้ั ความทรงจำ� จากภาพขา่ วทเี่ คยเหน็ ในหลวงทรงมี พระราชปฏสิ นั ถารกบั ผปู้ ว่ ยโรคเรอ้ื นอยา่ งใกลช้ ดิ โดยไมท่ รงถอื พระองค์ เลยแม้แต่น้อย ยิ่งท�ำให้ผู้เขียนรู้สึกซาบซ้ึงในพระมหากรุณาธิคุณที่ พระองค์ทรงมีให้แก่ประชาชนทุกหมู่เหล่าโดยแท้จริง ถ้าหากในวันน้ัน พระองค์ไม่ได้ทรงเอาพระทัยใส่แก่ผู้ป่วยโรคเร้ือนแล้ว ก็ไม่รู้ว่าจะมีใคร ทเี่ หลยี วแลผู้ป่วยกลุ่มนี้ แลว้ ผปู้ ่วยโรคเรอ้ื นจะมชี วี ิตอยู่เชน่ ไร นอกจาก ทุกข์ทางกายแล้วผู้ป่วยเหล่าน้ีจะต้องเกิดทุกข์ทางใจอีกมากสักเพียงใด และจะมีประชาชนอีกมากมายแคไ่ หนที่ป่วยดว้ ยโรคนี้ * อันท่ีจริงแล้ว นอกจากพระมหากรุณาธิคุณที่ทรงมีแก่ผู้ป่วย โรคเร้ือนดังท่ีได้กล่าวมาข้างต้น ในช่วงต้นรัชสมัยของในหลวงรัชกาล ที่ ๙ พระองค์ได้ทรงประกอบพระราชกรณยี กิจทีเ่ น้นทางด้านการแพทย์ และสาธารณสขุ ไวอ้ ย่างมากมาย เน่ืองดว้ ยทรงเลง็ เหน็ วา่ ประชาชนเปน็ ทรัพยากรที่ส�ำคัญอย่างยิ่งในการพัฒนาชาติบ้านเมือง หากประชาชนมี สขุ ภาพเสอ่ื มโทรมกไ็ มอ่ าจทำ� กจิ การงานใดๆ ใหก้ า้ วหนา้ ได้ ประเทศชาติ ก็ไม่สามารถเจริญรุ่งเรือง พระองค์จึงทรงเอาพระทัยใส่ในเรื่องการดูแล - 70 -
ในนคกัหิดวถลทิ งึ ยว์ ง รกั ษาสขุ ภาพ และการใหค้ วามรดู้ า้ นสขุ อนามยั แกป่ ระชาชนอยา่ งจรงิ จงั จะเห็นได้จากในยามที่เสด็จพระราชด�ำเนินแปรพระราชฐานไปยังสถาน ท่ีใดก็ตาม ก็จะทรงโปรดให้มีคณะแพทย์ติดตามเสด็จไปด้วย เพื่อช่วย ตรวจรักษาประชาชนท่ีเจ็บไข้ได้ป่วย นอกจากนี้พระองค์ยังได้ทรงมี พระราชด�ำริแก่หน่วยงานด้านการแพทย์และสาธารณสุขไว้มากมาย ตัวอย่างเช่น ทรงมีพระราชด�ำริให้ผลิตน้�ำเกลือข้ึนใช้เองภายในประเทศ ใหน้ ำ� วคั ซนี มาใชเ้ พอ่ื ปอ้ งกนั โรค ใหม้ กี ารจดั หายาฆา่ เชอ้ื ทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพ จากต่างประเทศเข้ามาใช้ จากการท่ีพระองค์ทรงเอาพระทัยใส่ในการ ดูแลรักษาสุขภาพของประชาชนอย่างจริงจังและต่อเนื่อง จึงท�ำให้โรค ตดิ เชอ้ื สำ� คญั ๆ ทเี่ คยครา่ ชวี ติ ผคู้ น อยา่ งเชน่ โปลโิ อ คอตบี ไอกรน วณั โรค ค่อยๆ ลดน้อยลง จากท่เี คยเป็นโรครา้ ยรุนแรงท่หี มดทางรกั ษา กลายมา เป็นโรคท่ีสามารถป้องกันได้ รักษาหายได้ และหายไปจากสังคมไทยได้ ในทีส่ ุด เม่ือได้ยินค�ำว่า “ราชประชาสมาสัย” ผู้เขียนจะค�ำนึงถึงพระราช กรณียกิจทางด้านสาธารณสุขดังท่ีเขียนไว้ข้างต้น – จะมีที่ใดบนโลกใบ น้ีที่พระราชาและประชาชนพ่ึงพาอาศัยกัน หลอมรวมเป็นหนึ่งเดียวกัน ได้เช่นนี้ – เมือ่ นกึ ขึน้ มาเช่นนท้ี ไี ร ผ้เู ขียนกจ็ ะรู้สึกภาคภูมใิ จที่ได้เกิดเปน็ คนไทยบนแผ่นดินในรัชสมัยของพระองค์ และจะต้องพูดกับตัวเอง เสมอวา่ นคี่ ือ “ในหลวงของเรา” ไม่ใชเ่ พียงแค่ “ในหลวง” แตท่ รงเป็น “ในหลวงของเรา” ในหลวงในชวี ติ จรงิ ของเรา ผซู้ งึ่ ทรงเปน็ แบบอยา่ งแหง่ ความรักความเมตตาอันบรสิ ุทธ์โิ ดยแท้ - 71 -
*ปจั จบุ นั น้ี สถานการณโ์ รคเรอ้ื นมแี นวโนม้ ลดลงอยา่ งมาก และไมไ่ ด้ เป็นปัญหาสาธารณสุขท่ีรุนแรงดังเช่นแต่ก่อน บุคลากรมีความรู้ความ เขา้ ใจในดา้ นการรกั ษาพยาบาลมากขนึ้ ทำ� ใหก้ ารรกั ษาพยาบาลและดแู ล ผู้ป่วยมีประสทิ ธิภาพมากยง่ิ ขึน้ เกีย่ วกบั ผเู้ ขียน ดร.สุกญั ญา ยงเกยี รตติ ระกลู สำ� เรจ็ การศกึ ษาในระดบั ปรญิ ญา เอกด้านชีวเคมจี าก The Ohio State University สหรฐั อเมริกา ดว้ ยทนุ รัฐบาลไทย และไดก้ ลบั มารับใช้ประเทศในฐานะนกั วิจยั ของศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ หรือ ไบโอเทค ปัจจุบันท�ำงานวิจัยด้านโรคติดเช้ือ โดยมุ่งเน้นการ ศึกษาเร่ืองกลไกการด้ือยาและการก่อโรคของเช้ือจุลินทรีย์ ตลอดจนงานวิจัยด้านการพัฒนาและประยุกต์ใช้เคร่ืองมือ วิเคราะหเ์ พือ่ เพิม่ ประสิทธภิ าพในการตรวจวนิ จิ ฉัยโรค - 72 -
พระมหากษัตรยิ น์ กั วิทยาศาสตร์ ดร.บัญชา ธนบุญสมบตั ิ ความช่างสังเกตเป็นนิสัยพ้ืนฐานของนักวิทยาศาสตร์ โครงการตาม พระราชด�ำริต่างๆ มักมีที่มาจากพระราชจริยวัตรช่างสังเกตนี้ เช่น โครงการฝนหลวง เกิดจากการที่ในหลวงเสด็จพระราชด�ำเนินไปเย่ียม ราษฎรทางภาคอีสานในปี พ.ศ. ๒๔๙๘ และทรงเหน็ วา่ แม้บนทอ้ งฟา้ มี - 73 -
เมฆจ�ำนวนมาก แต่เมฆเหล่านั้นก็ไม่ตกลงมาเป็นฝน จึงมีพระราชด�ำริ เร่ืองวิธีแก้ไขความแห้งแล้งน้ี โดยจัดต้ังเป็น “โครงการค้นคว้าทดลอง การท�ำฝนเทียม” มี ม.ร.ว.เทพฤทธิ์ เทวกุล เปน็ ผรู้ ับสนองพระราชดำ� ริ ในการคน้ คว้าทดลอง โครงการแกม้ ลงิ เปน็ การบรหิ ารจดั การนำ�้ ในฤดนู ำ้� หลาก เพอื่ ปอ้ งกนั และบรรเทาปญั หาน�้ำทว่ มซำ้� ซากในเขตใกล้ชายฝัง่ ทะเล โดยการระบาย น้�ำที่ไหลบ่ามาในปริมาณมากไปเก็บในพื้นที่พักน้�ำ รอจนระดับน�้ำทะเล ลดลง แล้วจึงค่อยระบายนำ�้ จากทพ่ี ักน�้ำลงไปในทะเล แนวพระราชดำ� ริ เร่อื งโครงการแกม้ ลงิ นี้ ในหลวงได้ทรงอธบิ ายไว้ว่า “….ลงิ โดยทว่ั ไป ถา้ เราสง่ กลว้ ยให้ ลงิ กจ็ ะรบี ปอกเปลอื กเอาเขา้ ปาก เค้ยี วๆ แล้วเอาไปเกบ็ ทแ่ี ก้ม จะกนิ กล้วยเขา้ ไปไวท้ ่กี ระพ้งุ แกม้ ไดเ้ กือบ ทงั้ หวี แลว้ นำ� ออกมาเคย้ี วและกลนื กนิ เขา้ ไปภายหลงั การนำ� เอากลว้ ยหรอื อาหารมาสะสมไวท้ กี่ ระพงุ้ แกม้ กอ่ นการกลนื นี้ เป็นพฤติกรรมตัวอยา่ งที่ จะน�ำมาใช้ในการระบายน�้ำท่วมออกจากพ้ืนท่ีน�้ำท่วมขังบริเวณทิศ ตะวันออกและตะวนั ตกของเจ้าพระยา….” จะเหน็ วา่ โครงการแกม้ ลงิ สะทอ้ นพระราชจรยิ วตั รชา่ งสงั เกต ซงึ่ นำ� มาประยุกต์ในบรบิ ทอ่ืนไดอ้ ย่างน่าท่งึ ในหลวงทรงสนพระราชหฤทัยในความรู้หลายแขนง ทรงเป็น นักคิดนักค้นคว้า พระราชจริยวัตรนี้ส่วนหนึ่งมาจากการเลี้ยงดูของ สมเด็จพระราชชนนี ในหนังสือ ดุจดวงตะวัน พระราชนิพนธ์ในสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดา ฯ ระบุว่า “ประการต่อไปท่ีจะกล่าวคือเรื่อง สารานุกรมส�ำหรับเยาวชน อันนี้ก็เป็นเร่ืองโฆษณา เร่ืองน้ีว่ากันจริงๆ แล้วท่ีมาบรรยายในวันนี้สืบเน่ืองมาจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว - 74 -
ในนคกัหดิ วถลทิ ึงยว์ ง เล่าพระราชทานเก่ียวกับสมเด็จย่า ท่านสอนให้รู้จักการค้นคว้า และ ท่านเองก็ค้นคว้าด้วย สมเด็จย่าเล่าว่าเม่ือลูกอยากรู้อะไร ก็พยายามท่ี จะปอ้ นให้ได้ จึงไปซื้อสารานกุ รมมา ได้คน้ คว้ากนั ทงั้ ครอบครัว พอมาใน ตอนหลงั พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั มพี ระราชดำ� รทิ จี่ ะมสี ารานกุ รมใน ลกั ษณะน้ันใหค้ นไทย…” (หน้า ๖๕ และ ๖๗) ส่ิงต่างๆ จะเกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรมได้จ�ำเป็นต้องน�ำความคิด ไปลงมอื ปฏบิ ตั ิ ในหลวงทรงเปน็ นกั ปฏบิ ตั ิ ลงมอื ท�ำจรงิ ดว้ ยพระองคเ์ อง ตัวอยา่ งมใี หเ้ ห็นมากมาย เช่น การท่ที รงใชพ้ ืน้ ที่สว่ นหนงึ่ ในพระต�ำหนัก จิตรลดารโหฐานเป็นท่ีต้ังของโครงการส่วนพระองค์ เพ่ือจ�ำลองความ เปน็ อยแู่ ละการประกอบอาชพี ของเกษตรกรมาไวใ้ นบรเิ วณทป่ี ระทบั และ ทรงทดลองวิธีแกป้ ัญหาตา่ งๆ ในหนังสือ ตามรอยพ่อ ก-ฮ หัวข้อ “ช่าง” หน้า ๑๐๘ ระบุว่า “ในหลวงโปรดงานช่างมาต้ังแต่ยังทรงพระเยาว์ เม่ือพระชนมพรรษา เพยี ง ๑๐ พรรษา ทรงต่อวทิ ยุฟงั เอง ทรงแก้จักรเย็บผา้ ที่เสียให้กลบั มา ใช้งานไดใ้ หม่ ทรงทดลองใชเ้ ส้นลวดทองแดงเปน็ สายไฟเส้นเดียวตอ่ เขา้ รถไฟฟา้ ของเลน่ ต่อมากท็ รงต่อเรอื รบและเรือจำ� ลองด้วยไม”้ ในหนงั สอื เลม่ ดงั กลา่ วหนา้ ๑๐๙ระบวุ า่ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ ทรงกล่าวในบทพระราชทานสมั ภาษณ์ทางสถานีวิทยจุ ฬุ าฯ วา่ “ทา่ นตอ้ งการใหท้ ำ� ด้วยตวั เอง ไมใ่ ช่มีบุญ พอทำ� อะไรมคี นมาชว่ ย ตลอดเวลา เพราะท่านเอง ทา่ นทำ� ทกุ อยา่ งด้วยมอื ท่านบอกว่า คนเปน็ ช่าง ช่างหมายถึงงานท�ำด้วยมือท้ังหลายแหล่ ซ่ึงการท�ำอะไรด้วยมือได้ ไม่ใช่หมายความว่า มือท�ำเอง มันมาจากสมอง สมองสั่งให้มือท�ำจึงจะ ทำ� ได้ งานชา่ งคอื งานทผ่ี นวกกนั ระหวา่ งสมองกบั มอื เพราะฉะนนั้ ตอ้ งทำ� - 75 -
เองขดี เอง ลูบคลำ� มนั ไป แล้วมันจะได้จากมือที่ลบู คลำ� จากตาทด่ี ู ยอ้ น กลบั มา” ในหลวงทรงเป็นครูท่ีดี ในหนงั สอื ดุจดวงตะวนั สมเดจ็ พระเทพ รตั นราชสดุ า ฯ ทรงเล่าพระราชทานไว้ว่า “ตัวอย่างความเป็นครูของท่านท่ีเป็นประสบการณ์ คือ ในการ เสดจ็ พระราชด�ำเนนิ แปรพระราชฐานโดยทางรถยนต์ เม่ือขา้ พเจ้ามอี ายุ ไดป้ ระมาณ ๗-๘ ปี และไดโ้ ดยเสด็จในรถดว้ ย กม็ ักจะทรงสอนขา้ พเจา้ และพี่ๆ ให้รู้จักวิธีการค�ำนวณเวลาจากระยะทางและความเร็ว สภาพ ภมู ปิ ระเทศทเี่ หน็ ถา้ เปน็ เวลากลางคนื กจ็ ะทรงสอนใหร้ จู้ กั ดาวตา่ งๆ ใน ท้องฟ้า “วนั หนงึ่ เมอื่ ขา้ พเจา้ แกลง้ ถามคนทอี่ ยดู่ ว้ ยวา่ ขา้ วในกระสอบหนง่ึ มกี เี่ มด็ ไมม่ ใี ครตอบ ความทราบถงึ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั กโ็ ปรด เกล้าฯ ให้ไปเอาข้าวสารมาลิตรหน่ึง ทรงให้ข้าพเจ้าตกลงใจยอมรับว่า ค่าท่ีได้จะเป็นค่าโดยประมาณ และให้เอาถ้วยตะไลเล็กๆ ตักข้าวตวงดู ว่า ขา้ วลิตรหน่งึ เป็นกี่ถ้วยตะไล แล้วนบั เม็ดขา้ วในถ้วยตะไลนัน้ ไดแ้ ลว้ เอาจำ� นวนเม็ดคณู จำ� นวณถ้วยไดเ้ ป็นจ�ำนวนเม็ดขา้ วในลิตร แลว้ คูณขน้ึ ไปก็เป็นจ�ำนวนลิตรในถัง จ�ำนวนถังในกระสอบ ก็จะได้จ�ำนวนเม็ดข้าว ในกระสอบ ครง้ั นเ้ี ปน็ ครง้ั แรกทขี่ า้ พเจา้ รจู้ กั จำ� นวนโดยประมาณ” (หนา้ ๔๕-๔๘) นอกจากนี้ “เมอ่ื เรยี นภมู ศิ าสตร์ แทนการทอ่ งหนงั สอื อยา่ งเดยี ว ก็ ทรงสง่ เสริมให้ดสู ภาพต่างๆ จากของจริงเทยี บกับแผนที่ แมแ้ ต่เมฆกไ็ ม่ ได้ให้ท่องแต่เพียงช่ือในหนังสือเท่าน้ัน ทรงสอนให้ดูเมฆจริงๆ ทีเดียว” (หนา้ ๕๓) - 76 -
ในนคักหดิ วถลทิ ึงยว์ ง มีข้อสังเกตว่าพระองค์ยังมักจะทรงใช้ค�ำศัพท์ง่ายๆ เช่น “ทฤษฎี ใหม่” “แก้มลิง” “แกล้งดิน” ตลอดจนการเล่นค�ำที่แฝงอารมณ์ขัน เช่น (โครงการ) “ชั่งหัวมัน” เป็นต้น ส�ำหรับผู้เขียนแล้ว รู้สึกประทับ ใจเป็นพิเศษกับค�ำว่า “เมฆอุ่น” และ “เมฆเย็น” ในโครงการฝนหลวง เน่ืองจากสะท้อนความลุ่มลึกในความรู้ความเข้าใจเร่ืองน้�ำในเมฆของ พระองค์เปน็ อย่างดี (“เมฆอุ่น” คอื เมฆซ่ึงประกอบดว้ ยหยดนำ้� ธรรมดา ซึ่งมีอุณหภูมิสูงกว่าศูนย์องศาเซลเซียส ส่วน “เมฆเย็น” คือเมฆซ่ึง ประกอบด้วยหยดน�้ำเยน็ ยิง่ ยวด หรือ supercooled water droplets ซ่ึงเป็นหยดน�้ำที่แม้ว่ามีอุณหภูมิต่�ำกว่าศูนย์องศาเซลเซียส แต่ยังคง สถานะเป็นของเหลว) สง่ิ สำ� คญั อกี ประการหนงึ่ คอื การรบั ฟงั ความคดิ เหน็ ของผอู้ นื่ โดย เฉพาะอยา่ งยงิ่ ความคดิ เหน็ ทแ่ี ตกตา่ ง ประเดน็ นเ้ี หน็ ไดอ้ ยา่ งแจม่ ชดั จาก เรอื่ ง “ช่วยกนั เขียนด”ู ในหนงั สอื ร้อยเรอ่ื งในรอยจำ� หน้า ๑๒๓-๑๒๔ สรปุ ไดด้ ังน้ี นายโชดก วีรธรรม อดตี ผวู้ า่ ราชการจังหวัดน่าน เล่าไวว้ า่ ครั้งหนึ่ง ในหลวงทรงมีพระราชประสงค์จะส่งน้�ำจากภูเขาท่ีอ�ำเภอปัวมาท่ีศูนย์ อพยพบ้านป่ากลาง ฝ่ายเจ้าหน้าท่ีแหล่งน้�ำได้ท�ำพิมพ์เขียวถวาย เป็น โครงการทใ่ี ชเ้ งนิ ประมาณ ๘๐ ลา้ นบาท รวม ๒ จดุ เมอ่ื รบั สงั่ ถามนายโชดก ว่าอย่างนี้เหมาะสมไหม นายโชดกได้พิจารณาแล้วกราบบังคมทูลว่า “ถ้าหากฝนฟ้าไม่ตกบนภูเขาแล้ว ฝายเพื่อส่งน�้ำท่ีจะใช้ไฟฟ้าน้ันก็คง ท�ำงานไม่ได้” และถวายความเห็นแย้งว่า “ขอเดชะ ข้าพระพุทธเจ้าไม่ เหน็ ดว้ ยเกล้าฯ” - 77 -
เมอื่ ในหลวงรบั สง่ั ถามวา่ ทำ� ไม นายโชดกจงึ กราบบงั คมทลู วา่ “อาจ จะสิน้ เปลอื งเกนิ ไป ๓๐ บวก ๕๐ ลา้ น รวมเป็น ๘๐ ล้าน ขา้ พระพุทธเจา้ คิดว่าน่าจะท�ำฝายเต้ียๆ พอให้มีน�้ำขังอยู่ แล้วก็ท�ำท่อต่อท่อเหล็กข้าม ภเู ขา แม้วา่ จะยาวต้งั ๑๐ กโิ ลเมตร ขา้ พระพุทธเจ้าคดิ ว่าน้ำ� นคี่ งจะมา ถงึ หม่บู า้ นปา่ กลางได”้ ในหลวงทรงมรี ับส่งั ถามวา่ “ผู้ว่าฯ เรยี นจบวิศวะหรอื ผ้วู า่ ฯ รเู้ รือ่ ง เกย่ี วกบั การสง่ นำ�้ หรอื ” นายโชดกจงึ ถวายความเหน็ วา่ “ขา้ พระพทุ ธเจา้ ไมเ่ คยเรยี นวศิ วะ แตข่ า้ พระพทุ ธเจา้ เคยเหน็ พวกชาวเขาหรอื ชาวบา้ นตอ่ นำ้� จากนำ้� ตก จากลำ� ธาร จากภเู ขายาว ๗-๘ กโิ ลเมตร ดว้ ยไมไ้ ผผ่ า่ ซกี นำ้� มากม็ าบา้ ง หกเรยี่ ราดตลอดทาง แตย่ งั ถงึ หมบู่ า้ น เขาเปน็ ชาวเขา เขายงั ทำ� ได้ แตเ่ รามเี งนิ มขี อง มคี วามคดิ การทเ่ี ราจะเปลยี่ นจากโครงการใหญ่ ๘๐ ลา้ น มาสง่ นำ�้ ดว้ ยทอ่ เหลก็ เหลอื เพยี ง ๑๐ ลา้ น ขา้ พระพทุ ธเจา้ คดิ วา่ คงจะแก้ปญั หาได”้ ที่เหนือความคาดคิดของนายโชดกก็คือ หลังจากท่ีได้ถวายความ คดิ แยง้ ออกไปแล้ว ในหลวงทรงเก็บพิมพเ์ ขยี วเหลา่ นัน้ ปดิ กระเปา๋ แลว้ รับสัง่ ว่า “มาช่วยกันเขยี นดูวา่ จะท�ำไดไ้ หม” สุดท้าย ส่ิงส�ำคัญอย่างยิ่งท่ีในหลวงทรงเน้นย้�ำและปฏิบัติอย่าง สม่�ำเสมอคือ ความเพียร ดังปรากฏเด่นชัดในพระราชนิพนธ์เร่ือง พระมหาชนก ในทีน่ ี้ ขออัญเชญิ พระบรมราโชวาทเม่อื วนั ท่ี ๒๗ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๑๖ มาฝากคุณผู้อ่านดังนี้ “…สงิ่ ทด่ี งี ามนนั้ ทำ� มนั นา่ เบอื่ บางทเี หมอื นวา่ ไมไ่ ดผ้ ล ไมด่ งั คอื มนั ดูครึ แตข่ อรบั รองวา่ การทำ� ให้ดี ไม่ครึ ตอ้ งมีความอดทน เวลาขา้ งหนา้ จะเหน็ ผลแนน่ อน ในความอดทนของตน ในความเพยี รของตน ตอ้ งถอื วา่ - 78 -
ในนคกัหดิ วถลิทึงยว์ ง วนั นีเ้ ราท�ำยังไม่ไดผ้ ล อยา่ ไปทอ้ บอกว่าวันน้ีเราทำ� แลว้ ก็ไมไ่ ด้ผล พร่งุ น้ี เราจะตอ้ งทำ� อกี วนั นเี้ ราทำ� พรงุ่ นเี้ รากท็ ำ� อาทติ ยห์ นา้ เรากท็ ำ� เดอื นหนา้ เราก็ทำ� ผลอาจได้ปหี นา้ หรืออกี สองปหี รือสามปขี ้างหนา้ ….” เกีย่ วกบั ผู้เขยี น ดร.บญั ชา ธนบญุ สมบตั ิ สำ� เรจ็ การศกึ ษาปรญิ ญาตรี สาขาฟสิ กิ ส์ คณะวิทยาศาสตร์จากจฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั ปรญิ ญาโทและ เอก จาก School of Materials Science & Engineering, Georgia Institute of Technology สหรัฐอเมริกา นอกจากภาระงาน ด้านการส่ือสารวิทยาศาสตร์แล้ว ยังเป็นครูสอนโอริงามิ (Origami) ผู้ก่อตั้งชมรมคนรักมวลเมฆ และนักสร้างความสุข ดว้ ยความรู้ - 79 -
จากอักษรเทวนาครีถงึ พระไตรปิฎกฉบับคอมพวิ เตอร์ พรพิมล ผลนิ กูล เทคโนโลยีด้านคอมพิวเตอร์นับเป็นหน่ึงในหลายเทคโนโลยีที่พระบาท สมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงตระหนักถึงคุณค่าและ ความส�ำคัญ ความสนพระทยั ในการเรยี นร้แู ละใชง้ านคอมพวิ เตอรเ์ ปน็ ที่ ประจกั ษใ์ นชว่ งปี พ.ศ. ๒๕๒๙ เมอื่ ม.ล.อศั นี ปราโมช ทลู เกลา้ ฯ ถวายเครอื่ ง คอมพิวเตอร์แมคอินทอชพลัสซึ่งทันสมัยท่ีสุดในเวลาน้ัน เพื่อน�ำไปใช้ ทรงงานดนตรี เช่น การจัดเก็บและพิมพ์โน้ตเพลง การสร้างโน้ตและ เน้ือร้อง พระองค์ทรงเป็นผู้จุดประกายความสนใจในการน�ำเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์เข้ามาพัฒนางานต่างๆ ในประเทศไทย ทรงมีพระราชด�ำริ ให้หน่วยงานที่เก่ียวข้องท�ำการศึกษาวิจัยและพัฒนามาอย่างต่อเน่ือง โดยในปี พ.ศ. ๒๕๓๐ ได้เสด็จประพาสโรงงานคอมพิวเตอร์ขนาด ใหญ่ที่ซิลิคอนวัลเลย์ รัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา ซ่ึงในขณะนั้น - 80 -
ในนคกัหิดวถลทิ ึงยว์ ง ประเทศไทยยังไม่มีบุคคลหรือหน่วยงานใดติดตั้งเครื่องคอมพิวเตอร์ ใชง้ านเหมอื นอยา่ งในปจั จบุ นั จากนนั้ ความสนพระทยั กวา้ งขวางขนึ้ เมอื่ ทรงมโี อกาสทดลองใชโ้ ปรแกรมชอ่ื “Fontastic” ซง่ึ เปน็ โปรแกรมสำ� หรบั ประดิษฐ์ตวั อักษรหรือฟอนต์ ทรงสามารถใชโ้ ปรแกรมดังกลา่ วประดิษฐ์ อักษรไทยออกมาหลายรูปแบบ ตัง้ แตข่ นาดเลก็ ทส่ี ดุ จนถึงใหญ่ท่สี ุด พระราชอัจฉริยภาพยังทรงขยายไปอย่างต่อเนื่อง สู่การประดิษฐ์ อักษรในภาษาอ่ืนๆ เช่น ภาษาญี่ปุ่น แต่เน่ืองจากตัวอักษรของภาษา เหล่านั้นต้องใช้เวลาในการออกแบบและประดิษฐ์นานมาก จึงเร่ิมต้น จากการประดิษฐ์ตัวอักษรของภาษาที่สนพระทัยอย่างมากก่อน น่ันคือ “อักษรเทวนาครี” เน่ืองจากทรงมีพระราชด�ำริว่าเป็นอักษรที่เกี่ยวข้อง กับการศึกษาและท�ำความเข้าใจในหัวข้อธรรมะทางพุทธศาสนา การ ศกึ ษาคน้ ควา้ ขอ้ มลู เกยี่ วกบั การสรา้ งตวั อกั ษรเทวนาครอี ยา่ งลกึ ซงึ้ จะชว่ ย ใหเ้ ขา้ ใจภาษาบาลีสนั สกฤต (พระองคท์ รงเรยี กวา่ ภาษาแขก) ไดอ้ ยา่ ง กระจ่างชัดมากยิ่งข้ึนทรงมีพระราชอุตสาหะเป็นอย่างมากในการเรียนรู้ และประดษิ ฐต์ วั อกั ษรเทวนาครี เพอื่ แสดงอกั ษรนบี้ นจอภาพคอมพวิ เตอร์ ให้ส�ำเร็จ นับว่าพระองค์เป็นคนแรกของประเทศไทยที่สร้างโปรแกรม คอมพวิ เตอรส์ ำ� หรบั พมิ พต์ วั อกั ษรดงั กลา่ วขนึ้ ใชง้ านในระบบคอมพวิ เตอร์ ทรงเร่ิมศึกษาและทดลองสร้างอักษรเทวนาครีบนจอภาพเมื่อเดือน พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๓๐ โดยเรมิ่ จากการศกึ ษาในพจนานกุ รม ตำ� ราภาษา สันสกฤต และสอบถามขอ้ มลู ต่างๆ จากผเู้ ชย่ี วชาญด้านภาษาสันสกฤต โดยเฉพาะสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี และ ม.ล.จิรายุ นพวงศ์ องคมนตรี คอยท�ำหน้าที่ตรวจสอบตัวอักษรเทวนาครี ทที่ รงประดษิ ฐข์ น้ึ จากนน้ั ทรงนำ� โปรแกรมทส่ี รา้ งตวั อกั ษรเทวนาครอี อก แสดงตอ่ สาธารณชนเป็นครง้ั แรกเมือ่ วนั ที่ ๒๓ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๓๐ - 81 -
นอกจากการประดิษฐ์ตัวอักษรเทวนาครีแล้ว พระองค์ยังทรง แสวงหาความรู้ ศึกษาวิจัยและพัฒนางานทางด้านคอมพิวเตอร์ด้วย พระองค์เอง โดยเฉพาะอย่างย่ิงทรงสนพระทัยการท�ำงานของเคร่ือง คอมพิวเตอร์เป็นอย่างมาก บางคร้ังจะทรงเปิดดูระบบและโครงสร้าง ภายในของเคร่ืองคอมพิวเตอร์ด้วยพระองค์เอง บางคร้ังทรงปรับปรุง ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมต่างๆ ท่ีทรงสนพระทัย อาทิ ทรงปรับปรุง ซอฟต์แวร์ CU writer เพื่อใช้งานตามพระราชประสงค์ ทรงโปรดใช้ งานคอมพิวเตอรจ์ ดั เกบ็ ขอ้ มูลตา่ งๆ หรอื ในงานทรงพระอักษร หรอื วาด ภาพประกอบงานพระราชนิพนธ์ เชน่ นายอนิ ทรผ์ ปู้ ดิ ทองหลังพระและ พระมหาชนก ทรงเปลยี่ นมาพมิ พ์ ส.ค.ส. พระราชทานหรอื บตั รอวยพร ปีใหม่ด้วยคอมพิวเตอร์ จากเดิมท่ีทรงพระราชทานผ่านเคร่ืองเทเล็กซ์ บางครั้งก็ทรงใช้คอมพิวเตอร์ในงานออกแบบและวาดภาพโลโก้หรือตรา ประจำ� องค์กร เชน่ มูลนธิ ชิ ัยพัฒนา ปี พ.ศ. ๒๕๓๐ ทรงมีพระราชด�ำริให้มหาวิทยาลัยมหิดลจัดท�ำ พระไตรปิฎกและอรรถกถาฉบับคอมพิวเตอร์ เพ่ือช่วยในการศึกษา พระไตรปิฎกให้ถูกต้อง กว้างขวาง สะดวก และรวดเร็วกว่าการศึกษา จากฉบับหนังสือ ทรงมีพระบรมราชวินิจฉัยและพระราชวิจารณ์ในการ ออกแบบโปรแกรมสืบคน้ พระไตรปิฎกชอ่ื BUDSIR (มาจาก Buddhist Scriptures Information Retrieval) เวอรช์ นั ๑-๔ ท่สี ามารถสืบคน้ คำ� หรือวลีท่ีปรากฏในพุทธวัจนะของพระไตรปิฎกได้อย่างรวดเร็ว ถูกต้อง และแม่นย�ำ ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๕๓๔ พระราชทานพระราชทรัพย์ส่วน พระองค์สนบั สนุนการพฒั นาโครงการพฒั นาระบบคอมพิวเตอร์เพอื่ การ ศกึ ษาพระไตรปิฎกและอรรถกถาแกม่ หาวทิ ยาลยั มหิดล ซึ่งต่อเนอ่ื งจาก โครงการแรกทมี่ หาวทิ ยาลยั พฒั นาสำ� เรจ็ พระไตรปฎิ กฉบบั คอมพวิ เตอร์ - 82 -
ในนคักหดิ วถลิทึงยว์ ง นี้ถอื วา่ เปน็ ฉบบั สมบรู ณท์ ี่สดุ ฉบับหน่ึงในโลก และได้รบั รางวัลตา่ งๆ ท้ัง จากองค์กรในประเทศและต่างประเทศหลายรางวลั พระอัจฉริยภาพและพระปรีชาสามารถหลากหลายด้านนับเป็น ต้นแบบและรากฐานทางการศึกษา ทดลองและแสวงหาความรู้ในสิ่ง ต่างๆ อย่างเป็นระบบ เป็นเหตุเป็นผล และท่ีส�ำคัญต้องมีความอดทน และความเพียรพยายามควบคู่กันจึงจะสามารถพัฒนาก้าวหน้าต่อไปได้ อย่างไม่หยุดน่ิง ในฐานะประชาชนคนไทยคนหนึ่งท่ีเกิดและเติบโตมา ในแผ่นดินของในหลวงรัชกาลท่ี ๙ ขอ้ มลู สำ� คญั เกี่ยวกบั พระอจั ฉรยิ ภาพ ด้านเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ข้างต้นท่ีผู้เขียนได้รวบรวมมา เป็นเพียงข้อ สรุปอันน้อยนิดจากพระอัจฉริยภาพท้ังมวลของพระองค์ แม้ว่าพระองค์ จะเสด็จสู่สวรรคาลัยไปแล้ว แต่เชื่อว่าพสกนิกรไทยยังคงส�ำนึกใน พระมหากรณุ าธคิ ณุ อนั ยง่ิ ใหญน่ านปั การ และพระองคย์ งั คงสถติ ในดวงใจ ไทยทุกดวงตราบนิรันดร์ เก่ยี วกับผู้เขียน พรพมิ ล ผลินกูล เชีย่ วชาญดา้ นภาษาศาสตร์ การท�ำพจนานุกรม การสรา้ งคลงั ขอ้ มลู สำ� หรบั ระบบสบื คน้ ขอ้ มลู และการประมวลผล ภาษาธรรมชาติ มผี ลงานตพี มิ พห์ นงั สอื ดา้ นนแี้ ลว้ หลายเลม่ อาทิ “คลังข้อมูลอเิ ล็กทรอนิกส์ภาษาไทย ๒๕๔๔” “พจนานกุ รมยุค ดจิ ทิ ลั ๒๕๕๕” “รภู้ าษาเขา้ ใจอารมณ์ ๒๕๕๘” และ “Handbook of Thai Electronic Corpus, 2016” ปัจจุบันเป็นผู้ช่วยวิจัย อาวโุ ส อยทู่ หี่ นว่ ยวจิ ยั วทิ ยาการสอื่ สารของมนษุ ยแ์ ละคอมพวิ เตอร์ เนคเทค - 83 -
ข้อมูลเพมิ่ เติมเก่ยี วกับอักษรเทวนาครี อักษรเทวนาครีเป็นตัวอักษรท่ีพัฒนามาจากอักษรพราหมี (Brāhmī) และใช้งานในภาษาต่างๆ จ�ำนวนมากถึง ๑๒๐ ภาษา เช่น ภาษาบาลี ภาษาสันสกฤต ภาษาฮินดี ภาษามราฐี และภาษาอื่นๆ ในประเทศ อินเดีย เนปาล ทิเบตและกลุ่มภาษาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ค�ำว่า “เทวนาคร”ี แปลทบั ศัพท์ภาษาไทยมาจาก Devanagari ซึ่งเปน็ ค�ำผสม ระหว่าง deva (แปลว่า เทพเจ้า เทวดาหรือพระเจ้า) ผสมกับ nigari (แปลว่า เกี่ยวกับเมือง) ความหมายรวมๆ ของเทวนาครีจึงสื่อความ ชัดเจนว่าตัวอักษรน้ีต้องเก่ียวข้องกับเร่ืองของศาสนา หรือเรื่องท่ี ละเอียดอ่อน ซับซ้อน และลึกซึ้ง ตัวอักษรเทวนาครีเป็นอักษรที่นิยม ใช้ในการเขียนภาษาสันสกฤต โดยตัวอักษรมีท้ังหมด ๔๗ ตัวอักษร แบ่งออกเปน็ ตัวอกั ษรท่แี ทนสระ ๑๔ ตัวและพยญั ชนะ ๓๓ ตวั แม้ว่าอักษรเทวนาครีจะมีความคล้ายคลึงกับอักษรไทยคือ มีพยัญชนะและสระ แต่ก็ไม่มีตัวอักษรแทนเสียงวรรณยุกต์หรือ เครื่องหมายวรรณยุกต์ ส่วนสระจะมี ๒ ประเภทคือ สระจมและสระ ลอย สระจมเป็นสระที่ประสมกับพยัญชนะ ส่วนสระลอยเป็นสระท่ี ไม่ประสมกับพยัญชนะ ระบบการเขียนแบบเทวนาครีเป็นลักษณะ ผสมระหว่างตัวเขียนแบบสัญลักษณ์ (syllabary) และตัวเขียนท่ี เป็นตัวอักษร (alphabet) และเป็นระบบการเขียนที่ไม่ใช้สัทอักษร (เคร่ืองหมายแสดงการออกเสียง) ลักษณะการเขียนตัวอักษรเร่ิมจาก ซ้ายไปขวา และจากด้านบนลงล่าง ซึ่งลักษณะเฉพาะที่ส�ำคัญของ อักษรเทวนาครีคือ จะต้องมีเส้นตรงขีดท่ีด้านบนของตัวอักษรทุกตัว ส่วนวิธีการสร้างค�ำน้ันคนท่ีเรียนการอ่านและเขียนอักษรเทวนาครี จะต้องฝกึ อา่ นเขียนพยญั ชนะใหค้ ลอ่ งแคลว่ ก่อน แล้วจงึ คอ่ ยหัดประสม - 84 -
ในนคักหดิ วถลทิ งึ ยว์ ง สระไปทลี ะนอ้ ย ความยากของการเขยี นดว้ ยอกั ษรนค้ี อื มรี ปู แบบการเขยี น ที่ไม่คงท่ี ถ้าน�ำส่วนหน่ึงของตัวอักษรไปต่อรวมกับส่วนหน่ึงของอีกตัว อักษรจะเกิดเป็นตัวอักษรใหม่ขึ้น ดังน้ันการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ จัดท�ำตัวอักษรนี้แสดงบนจอภาพจะมีความยากกว่าการแสดงตัวอักษร ไทยอยา่ งมาก ขอ้ มลู อ้างองิ ๑. หนังสือ “พระราชอัจฉริยภาพของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ” ส�ำหรับงาน “ไอทีเฉลิมพระเกียรติ ๑-๔ มิถุนายน ๒๕๓๘ ศูนย์ประชุมสหประชาชาติ, จัดพิมพ์โดยส�ำนักงาน เลขานกุ ารคณะกรรมการเทคโนโลยสี ารสนเทศแหง่ ชาติ, ๒๕๓๘ ๒. หนงั สือเทดิ พระเกียรติพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อย่หู ัว “พระบดิ าแห่ง เทคโนโลยีของไทย” ฉบับกันยายน ๒๕๔๕, จัดพิมพ์โดย กรมส่งเสริม คุณภาพส่ิงแวดล้อม กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิง่ แวดลอ้ ม ๓. หนงั สือ “พระมหากษตั ริย์นกั วิทยาศาสตร์” จัดพมิ พ์โดยสภาสมาคม วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีแหง่ ประเทศไทย, ๒๕๔๓ ๔. [๗ กนั ยายน ๒๕๖๐] เขา้ ถงึ ไดท้ ่ี : https://www.britannica.com/ topic/Devanagari ๕. [๗ กันยายน ๒๕๖๐] เขา้ ถึงไดท้ ่ี : https://en.wikipedia.org/wiki/ ๖. [๗ กันยายน ๒๕๖๐] เข้าถึงได้ที่ : http://www.ancientscripts. com/devanagari.html ๗. [๗ กนั ยายน ๒๕๖๐] เขา้ ถึงได้ท่ี : https://www.youtube.com/ watch?v=irO0DltX_lA - 85 -
ตน้ แบบของนักวจิ ัยไทย รศ. ดร.เดชา ววิ ฒั น์วทิ ยา ผู้เขียนเริ่มท�ำงานเป็นอาจารย์ที่ภาควิชาชีววิทยาป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ ตั้งแตป่ ี พ.ศ. ๒๕๓๕ นอกจากสอนนสิ ติ แล้ว ผู้เขียนก็ค้นหาตัวเองไปด้วย เร่ิมแรกก็ศึกษาผีเส้ือไปเรื่อยๆ แต่ต่อมา ก็เปล่ียนมาท�ำเรื่องมด และอดทนท�ำต่อมาเร่ือยๆ จนเกิดดอกออกผล เปน็ “พิพธิ ภัณฑม์ ด” ยอ้ นนกึ กลับในตอนน้ัน หากมีคนมาถามวา่ มีใคร เปน็ ไอดอลในการทำ� งาน ผเู้ ขียนคงตอบว่า อาจารย์บางทา่ นท่อี ย่ใู กลต้ วั ไม่เคยนึกถึงพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชเลย - 86 -
ในนคกัหดิ วถลิทึงยว์ ง นน่ั เปน็ เพราะพระองคท์ รงอยเู่ หนอื จากเราเกนิ ไป แต่ ณ ปจั จบุ นั เมอื่ มาคดิ วเิ คราะหด์ ูโครงการ ดพู ระราชกรณยี กิจตา่ งๆ ผู้เขียนพบวา่ พระองคเ์ ปน็ ย่งิ กว่าไอดอล ทุกเรื่องทีท่ รงทำ� ล้วนแล้วแต่เป็น “ตน้ แบบ” ท่ดี ีของการ เป็นนกั วิจัย มีเป้าหมายชัดเจน ในหลวงรัชกาลที่ ๙ ทรงมีเป้าหมายในการทรงงานแต่ละอย่างที่ชัดเจน คอื เพอ่ื คนไทย ดงั นน้ั เราจะเหน็ วา่ โครงการของในหลวงหลายพนั โครงการ ไม่เคยซ�้ำกันเลย นั่นเป็นเพราะพระองค์ทรงเลือกโจทย์ของสังคมที่มี ปัญหาแตกต่างกันไปในแต่ละพื้นที่ ถ้านักวิจัยมองที่เป้าหมายหลักคือ ประเทศชาติ แลว้ ทมุ่ เท ตั้งใจทำ� แบบทพ่ี ระองค์ทรงกระทำ� คุณภาพชีวติ ของคนไทยต้องดขี น้ึ ในฐานะอาจารย์ ก่อนทน่ี สิ ิตจะเลอื กหวั ข้อวจิ ยั น้นั เขาต้องตอบได้ว่า หัวข้อท่ีเลือกมาน้ันท�ำไปเพ่ือใคร เพื่ออะไร เพราะ ผู้เขียนต้องการเห็นงานวิจัยที่ทำ� เพื่อสนองโจทย์ของสังคม มากกว่าของ ตัวเอง เราต้องปรับความคิดว่าสิ่งท่ีเราท�ำน้ันสังคมจะได้ประโยชน์อะไร ไม่ใช่เลือกเพราะเป็นเรื่องใหม่ ยังไม่เคยมีใครท�ำ ถ้าเป้าหมายคือตัวเอง เรากจ็ ะมองอะไรไดแ้ คบ แต่ถา้ เรามีเปา้ หมายเพอ่ื สงั คม จะท�ำใหเ้ รามอง อะไรไดก้ ว้างกว่ารู้จกั เชอ่ื มโยงส่งิ ต่างๆ งานวิจยั ท่สี �ำเรจ็ ออกมากจ็ ะเป็น งานที่มปี ระโยชน์ต่อแผ่นดิน มุ่งมัน่ ตง้ั ใจทำ� ให้เชี่ยวชาญ โครงการพระราชด�ำริหลายโครงการของพระองค์เก่ียวข้องกับฟื้นฟูป่า ในฐานะที่ผเู้ ขยี นอย่ใู นแวดวงวชิ าการดา้ นปา่ ไม้ ยงั รู้สกึ ว่าเร่อื งของป่าไม้ เปน็ เรอ่ื งซบั ซอ้ น พระองคไ์ มไ่ ดเ้ ปน็ นกั นเิ วศ นกั ปา่ ไม้ แตท่ รงเขา้ ใจระบบ นเิ วศ เขา้ ใจระบบทจ่ี ะฟน้ื ฟปู า่ อยา่ งลกึ ซง้ึ แสดงวา่ ตอ้ งทรงเรยี นรทู้ กุ อยา่ ง และตอ้ งมคี วามมงุ่ ม่นั ต้งั ใจ ให้รู้ลกึ ร้จู ริงด้วย ซึง่ การเรียนรู้ใหถ้ ่องแท้นนั้ - 87 -
ต้องใชเ้ วลาและท�ำอยา่ งต่อเนื่อง สำ� หรบั ผ้เู ขยี นนัน้ ความเชยี่ วชาญไมไ่ ด้ เกิดภายในปีสองปี ไม่ใช่ท�ำได้แล้วเลิก ถ้าเราดูผลสัมฤทธิ์จากโครงการ ในพระราชด�ำริก็จะเห็นว่า ที่พระองค์ทรงช่วยแก้ปัญหาได้น้ัน เป็น เพราะพระองค์ทรงรู้จริง และทรงท�ำอย่างต่อเน่ือง แต่ละปีก็จะเสด็จ พระราชด�ำเนินไปทรงเย่ียมและทอดพระเนตรติดตามความก้าวหน้า โครงการในพระราชด�ำรติ า่ งๆ จึงพัฒนาขึน้ ไปเร่อื ยๆ ไมม่ องขา้ มส่งิ เล็กๆ นอ้ ยๆ โดยธรรมชาตขิ องคน เรามกั มองขา้ มสง่ิ เลก็ ๆ นอ้ ยๆ แตใ่ หค้ วามสำ� คญั กบั เร่ืองใหญ่ๆ นกั วจิ ัยเองก็เช่นกัน ยกตวั อย่างให้เห็นภาพวา่ ถ้ามีโครงการ ช้างกับโครงการมดที่เขาใหญ่ โครงการไหนมีโอกาสได้รับความสนใจ มากกว่า แต่ส�ำหรับผู้เขียนเองกล้าพูดเลยว่า ถ้าไม่มีช้าง ป่าเขาใหญ่ก็ ยังอยู่ได้ แต่ถ้าไม่มีมด ป่าเขาใหญ่น่าจะมีอยู่ยาก เพราะว่ามดเป็นสัตว์ ท่ีปรับตัวเก่ง อยู่ได้เกือบทุกสภาพแวดล้อม บางทีเรามองแต่เร่ืองใหญ่ จนมองขา้ มเรอ่ื งเลก็ ตา่ งจากในหลวงรชั กาลที่ ๙ โครงการในพระราชดำ� ริ หลายโครงการเกดิ ขน้ึ จากความใสใ่ จในทกุ สง่ิ ของพระองค์ ทรงไมเ่ คยมอง ข้ามสิ่งที่อยู่รอบตัว ใกล้ตัว หรือสิ่งเล็กๆ และที่ส�ำคัญคือ พระองค์ทรง จับประเด็นเชื่อมโยงส่ิงต่างๆ ได้เก่งมาก อย่างเช่นโครงการช่ังหัวมัน ท่ี เร่ิมจากทรงเห็นว่า มันเทศที่วางทิ้งบนตาชั่งยังมีใบงอกออกมา ถ้าปลูก ในพ้ืนท่แี ห้งแลง้ ก็ตอ้ งเจรญิ เตบิ โตได้ มองให้ครบ เช่ือมโยงอย่างเป็นระบบ ในหลวงทรงเป็นต้นแบบของคนที่มีความคิดเชื่อมโยงส่ิงต่างๆ เก่งมาก ตวั อยา่ งคอื พระราชดำ� รเิ รอื่ ง การปลกู ปา่ ๓ อยา่ ง ประโยชน์ ๔ อยา่ ง ซงึ่ เปน็ การผสมผสานศาสตร์ทั้งด้านเกษตร วนศาสตร์ เศรษฐกิจ และสังคม - 88 -
ในนคกัหิดวถลิทงึ ยว์ ง ชว่ ยท�ำใหเ้ กดิ สมดลุ ธรรมชาติ หรอื balance of nature ผ้เู ขียนมองว่า คือการเดินสายกลาง พออยู่ พอกิน ท�ำแล้วเราไม่เดือดร้อน สังคม ไมเ่ ดือดรอ้ น ธรรมชาตไิ ม่เดือดร้อน มีความยงั่ ยนื มองกลบั มาท่พี วกเรา ปัญหาใหญ่ของประเทศไทยและของเด็กปัจจุบันคือ คิดเชื่อมโยงไม่เป็น แม้แต่ผู้เขียนเองช่วงแรกของการท�ำงาน ก็คิดแค่แมลง แมลง แมลง ไม่ไปยุ่งกับสาขาอ่ืนเลย แต่หลังจากท่ีมีคนจากหลากหลายสาขาทั้ง วิศวะ นิเทศ คหกรรม เกษตร สังคมมาปรึกษาเร่ืองมด เร่ืองแมลง ผู้เขียนจึงเข้าใจว่าศาสตร์เรื่องแมลงของเรามันเก่ียวข้องเชื่อมโยงได้ กับทุกเรื่อง ทุกวันนี้เวลาสอนหนังสือผู้เขียนก็จะเน้นให้นิสิตรู้จัก คิดเช่ือมโยงใหเ้ ป็น อย่างนอ้ ยกต็ ้องคดิ ใหไ้ ด้ว่า แมลงปา่ ไม้ เกี่ยวขอ้ งกบั ทฤษฎเี ศรษฐกิจพอเพียงอย่างไร รู้แลว้ ไม่เก็บไว้ สง่ ความรตู้ อ่ ไปใหก้ ว้าง เราต้องยอมรับความจริงที่ว่า นักวิจัย/นักวิชาการบางคนไม่ได้เห็นเร่ือง การถา่ ยทอดความรเู้ ปน็ เรอื่ งสำ� คญั ทำ� เสรจ็ แลว้ เกบ็ ไวก้ บั ตวั ทำ� เสรจ็ แลว้ ก็ เนน้ การตพี มิ พท์ างวชิ าการ บางครง้ั กม็ กี ารปดิ บงั ขอ้ มลู ซง่ึ แนน่ อนวา่ ไมไ่ ด้ เกิดประโยชนใ์ นวงกว้าง ในทางตรงกนั ขา้ ม ผู้เขียนเหน็ บางส่ิงที่ในหลวง ทรงทำ� มาตลอดคอื การถา่ ยทอดความรไู้ ปยงั ประชาชนของพระองคด์ ว้ ย ภาษาง่ายๆ ที่เราทุกคนฟังแล้วเข้าใจ ผ่านพระราชด�ำรัสในวาระส�ำคัญ ตา่ งๆ ผา่ นตวั อยา่ งทมี่ องเหน็ ไดค้ อื ความสำ� เรจ็ ของโครงการในพระราชดำ� ริ ต่างๆ ผเู้ ขียนมองวา่ ถา้ เราปลูกจติ สำ� นึกใหน้ กั วิจยั รุ่นใหม่ใจกวา้ ง ตวั เอง เกง่ แล้ว ตอ้ งช่วยให้คนอืน่ เก่งดว้ ย ชว่ ยกันเผยแพร่ความรู้ ทกุ คนในชาติ ก็จะไดป้ ระโยชน์ - 89 -
ไม่แกท้ ่ีปัญหา แต่ให้ไปเรมิ่ ที่สาเหตุ เม่ือวิเคราะห์โครงการในพระราชด�ำริต่างๆ พระองค์ไม่ทรงแก้ท่ีปัญหา แตจ่ ะไปหาตน้ เหตุ หาสาเหตขุ องการเกดิ ปญั หาวา่ มาจากอะไร อยา่ งเชน่ ปัญหาของการปลูกฝิ่น ต้นเหตุของปัญหาที่แท้จริงคือความยากจน พระองค์ทรงแนะน�ำให้เลิกปลูกฝิ่น แล้วปลูกพืชอย่างอื่นทดแทน ซ่ึง นอกจากจะกำ� จดั ฝน่ิ ไดแ้ ลว้ ยงั สรา้ งรายไดใ้ หก้ บั ชาวบา้ นไดเ้ ทา่ กบั ทป่ี ลกู ฝิน่ ได้ การคดิ โครงงานวิจัยต่างๆ ท่ีทำ� ขึน้ เพ่ือแก้ไขปัญหาต่างๆ ก็เชน่ กัน เราควรคิดวิเคราะห์ย้อนไปถึงต้นเหตุของปัญหา แล้วแก้ไขตั้งแต่ต้นเหตุ ไม่ใช่เร่ิมที่ปลายทาง ก็จะช่วยให้ปัญหาท่ีเกิดขึ้นน้ันได้รับการแก้ไขถูกที่ และตอบโจทย์ความต้องการของทุกฝา่ ย สร้างศรัทธา... ไมย่ ึดมัน่ ถอื ม่นั ในหัวโขน เหตผุ ลหนง่ึ ทผี่ ลงานวจิ ยั ไมไ่ ดน้ ำ� ไปใชจ้ รงิ นนั้ เปน็ เพราะนกั วจิ ยั เขา้ ไมถ่ งึ ใจชาวบา้ น เขา้ ถึงใจชาวบ้านคืออะไร ผูเ้ ขยี นนกึ ถงึ ในหลวงรชั กาลท่ี ๙ ตงั้ แตเ่ ดก็ เมอ่ื ดขู า่ วพระราชกรณยี กจิ เหน็ พระองคเ์ สดจ็ พระราชดำ� เนนิ ไป ทวั่ ทง้ั แผน่ ดนิ ไทย ในปา่ ในถน่ิ ทรุ กนั ดาร ในพน้ื ทเ่ี กดิ ภยั พบิ ตั ิ เหน็ ไดช้ ดั เจน วา่ พระองคไ์ มไ่ ด้ยดึ มนั่ ถือมน่ั ในความเป็นกษตั ริย์ เสด็จพระราชดำ� เนิน ไปถึงทุกที่ด้วยความต้ังใจอย่างเดียวว่าจะท�ำอย่างไรให้คนไทยอยู่ดีกินดี ส่ิงที่พระองค์ท�ำให้พวกเราเห็นมาอย่างต่อเน่ืองยาวนานน้ี คือสิ่งที่ท�ำให้ คนไทยเกดิ “ศรัทธา” หากข้าราชการทุกคนคิดแบบพระองค์ ไมย่ ึดมน่ั ถือม่ันในหัวโขนของตัวเอง เข้าให้ถึงประชาชน ไม่ใช่เข้าไปเพราะ หนา้ ท่ี แต่ตอ้ งเข้าให้ถงึ ใจประชาชน ประชาชนคงอยู่ดีมสี ขุ นกั วชิ าการ นักวิจัยเองก็เช่นกัน การน�ำงานวิจัยไปช่วยชาวบ้าน ไม่ใช่เอาไปแต่ ทฤษฎี เราต้องรับฟังชาวบ้านเอาประสบการณ์ของเขามาบวกกับ ทฤษฎีของเรา แล้วก็ต้องท�ำให้เขาเห็นอย่างจริงจัง ด้วยความอดทน - 90 -
ในนคักหดิ วถลิทงึ ยว์ ง ไม่ฉาบฉวย เมือ่ เขาเหน็ เราตงั้ ใจจรงิ ทำ� ได้จรงิ กจ็ ะเชื่อมั่น เกิดศรทั ธา และยอมรบั ท้ังงานและตัวเรา ส�ำหรับนักวิจัยไทยแล้ว เราไม่ต้องไปมองหาต้นแบบการท�ำงาน วจิ ยั จากทไ่ี หนเลย พระองคท์ รงเปน็ ยงิ่ กวา่ “ไอดอล” ทเ่ี ราสามารถเรยี น ร้แู นวทางเพ่อื มาปรับใช้ในการทำ� งานของเราได้ เก่ียวกับผู้เขยี น รศ. ดร.เดชา ววิ ฒั นว์ ทิ ยา เปน็ ทรี่ จู้ กั กนั ในชอ่ื “พอ่ มดเมอื งไทย” หรือ “ผู้สร้างพิพิธภัณฑ์มดแห่งแรกของไทย” ส�ำเร็จการศึกษา ปรญิ ญาตรแี ละโทจากคณะวนศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ และปริญญาเอกจากมหาวิทยาลัยเกียวโต ประเทศญ่ีปุ่น ปัจจบุ นั เปน็ อาจารย์อยทู่ ี่ภาควิชาชวี วิทยาปา่ ไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ นอกจากงานวจิ ยั ทท่ี ำ� มาอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง เกือบ ๓๐ ปี ดร.เดชายงั มีความรกั ความใส่ใจ และมงุ่ มน่ั ในการ อบรมสั่งสอนลูกศิษย์ให้เติบโตขึ้นเป็นก�ำลังส�ำคัญในการพัฒนา ประเทศไทย - 91 -
วรรณศลิ ปข์ อง ร. ๙ ดร.นำ� ชัย ชีวววิ รรธน์ พระอัจฉริยภ าพของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ในดา้ นต่างๆ เปน็ ทป่ี ระจักษ์ชัด ตวั ผู้เขยี นเองในฐานะทีน่ อกจากจะเปน็ นกั วทิ ยาศาสตรแ์ ลว้ ยงั มปี ระสบการณใ์ นดา้ นการเขยี นและแปลหนงั สอื วชิ าการตา่ งๆ อยบู่ า้ ง จงึ มคี วามสนใจในพระอจั ฉรยิ ภาพดา้ นวรรณศลิ ป์ ของพระองคเ์ ปน็ พเิ ศษ เม่อื ค้นขอ้ มลู ก็พบเรอื่ งนา่ ท่ึงตา่ งๆ จำ� นวนมาก - 92 -
ในนคักหิดวถลิทงึ ยว์ ง ถ้อยค�ำที่คุ้นหูในสารคดีและบททความเฉลิมพระเกียรติที่ว่า “...ไดย้ นิ เสยี งใครคนหนง่ึ รอ้ งขนึ้ มาดงั ๆวา่ “อยา่ ละทงิ้ ประชาชน”อยาก จะรอ้ งบอกเขาลงไปวา่ ถา้ ประชาชนไม่ “ทง้ิ ” ขา้ พเจา้ แลว้ ขา้ พเจา้ จะ “ละทงิ้ ” อยา่ งไรได”้ มาจากเหตกุ ารณใ์ นวนั ท่ี ๑๙ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๔๘๙ ขณะเสด็จพระร าชด�ำเนินออกจากประเทศไทย โดยประทับรถยนต์ พระท่ีน่ังแล่นออกจากวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ซึ่งต่อมาได้รวมไว้ใน บทพระราชนิพน ธ์เร่อื ง “เมือ่ ข้าพเจา้ จากสยามมาสูส่ วทิ เซอรแ์ ลนด์” ทพ่ี ระราชทานแกห่ นงั สอื “วงวรรณคด”ี เมอื่ เดอื นสงิ หาคมพ.ศ.๒๔๙๐ทรง พรรณนาความคดิ คำ� นงึ ของพระองคบ์ นเครอื่ งบนิ ไวอ้ ยา่ ง “เหน็ ภาพ” วา่ “...แปลกดีเหมอื นกันที่ใจหวนคดิ ไปวา่ เพยี งชั่วโมงเดยี วทผ่ี ่าน มาตะกี้นี้เอง เรายงั ห้อมลอ้ มไปดว้ ยประชาชนชาวไทย แตเ่ ดย๋ี วนเ้ี ล่า เรากำ� ลงั เหาะอยเู่ หนอื ทอ้ งทะลอนั กวา้ งใหญไ่ พศาล แมจ้ ะมเี สยี งเครอื่ ง ยนตร์ (สะกดตามตน้ ฉบบั เดมิ ) กด็ จู ะเหมอื นเงยี บและนง่ิ อยกู่ บั ที่ ! เพราะ เสยี งทกุ เสยี งจากสิ่งมชี ีวติ ไดจ้ างหายไปหมดแล้ว ... เดีย๋ วน้ีเรากำ� ลงั บิน จากประเทศนัน้ จากประชาชนพลเมืองเหล่านัน้ ไปแล้ว...” พระราชนิพนธ์ อีกประเภทหน่ึงที่เป็นงานแปล ก็มีทั้งที่เป็นบท วเิ คราะหเ์ ศรษฐกจิ และสงั คม ซงึ่ มมี ากถงึ ๑๑ เรอื่ ง อาทิ เศรษฐศาสตรต์ าม นยั ของพระพุทธศาสนา บทท่ี ๔ เล็กดรี สโต จาก Small is Beautiful โดย E. F. Schumacher หน้า ๕๖-๖๓ ซง่ึ จะรบั ทราบได้ถึงพระราช อารมณข์ นั จากการต้ังชอื่ เรือ่ งเปน็ ภาษาไทยดงั กลา่ ว ในระยะหลังยั งมีพระราชนิพนธ์แปลเก่ียวกับประวัติบุคคลส�ำคัญ คือ นายอินทร์ ผปู้ ดิ ทองหลังพระ ทที่ รงแปลจากเร่ือง A Man Called Intrepid เขียนโดย William Stevenson และเร่ือง ติโต ท่ีทรงแปลจาก - 93 -
เรอื่ ง Tito เขยี นโดย Phyllis Auty ทงั้ สองเรอื่ งแสดงถงึ ตวั เอกในเรอื่ งทมี่ ี ความจงรักภกั ดตี อ่ ชาติ มีความกล้าหาญเด็ดเด่ียว และมีความอตุ สาหะ อนั เปน็ แบบอยา่ งอนั ดี จะเหน็ ไดถ้ งึ พระอจั ฉรยิ ภาพในทางดา้ นวรรณศลิ ป์ ทม่ี อี ย่างหลากหลายดา้ น ในบทพระราชนิพนธ์เรอื่ ง พระมหาชนก ท่ที รงพระราชนิพนธ์ขน้ึ จาก มหาชนกชาดกในพระไตรปฎิ ก โดยเป็นชาดกล�ำดับท่ี ๒ ในทศชาติ ซง่ึ บารมสี ำ� คญั ของพระโพธสิ ตั วก์ ค็ อื วริ ยิ ะบารมี ทน่ี า่ สนใจเปน็ พเิ ศษใน ฐานะนกั วิทยาศาสตร์ก็คอื นอกเหนือจากเน้อื หาจากชาดกแล้ว ทรงเพิม่ เตมิ เนื้อหาวิชาการเก่ียวกบั วชิ าการฟ้นื ฟตู น้ มะมว่ งทีถ่ ูกหักโคน่ ลง โดยมี มากถงึ ๙ วธิ ี ครอบคลมุ ทงั้ วธิ ที เี่ ปน็ ภมู ปิ ญั ญาดงั้ เดมิ และทเ่ี ปน็ วทิ ยาการ สมัยใหม่ ตัวอย่างวธิ กี ารดั้งเดิม เชน่ การเพาะเมล็ด การปกั ช�ำกง่ิ และทาบ ก่ิง ส่วนตัวอย่างวิธีการที่อาศัยวิทยาการสมัยใหม่คือ การท�ำ “ชีวาณู สงเคราะห์” ซึง่ นา่ จะมาจาก ชีวะ (ชวี ติ ) + อณู (เลก็ , น้อย, ละเอยี ด) + สงเคราะห์ และเมอ่ื ดจู ากภาษาองั กฤษในเลม่ กจ็ ะทราบวา่ ทรงบญั ญตั คิ ำ� ไทยข้นึ ใหมจ่ ากค�ำในภาษาองั กฤษวา่ tissue culture หรอื ท่มี ักใชท้ บั ศพั ท์กันในสมยั น้ีว่า “การเพาะเล้ียงเนือ้ เยื่อ” หรือการนำ� เนื้อเยอื่ (กล่มุ เซลล์) มาเล้ียงภายใต้สภาวะจ�ำเพาะให้เกิดเป็นต้นใหม่ในหลอดทดลอง หรือจานเลี้ยง ศัพท์อีกค�ำหน่ึงในหนังสือพระราชนิพนธ์เล่มดังกล่าวคือ ค�ำว่า “ยันตกลเก็บเกี่ยว” ท่ีอ�ำมาตย์ในเรื่องใช้เก็บผลมะม่วงจนท�ำให้ต้น มะม่วงลม้ ซึ่งในภาษาอังกฤษใช้ว่า automatic fruit harvester หรือ “เครื่อง (จกั รกล) เกบ็ เกย่ี วผลไม้แบบอตั โนมตั ิ” น่นั เอง - 94 -
ในนคกัหดิ วถลิทึงยว์ ง ในเร่ืองพระมหาชนกยงั มีภาพประกอบท่ีเปน็ แผนทฝี่ พี ระหตั ถร์ วม ๔ ภาพ ท่ีทรงใช้คอมพิวเตอร์ในการสร้างสรรค์ภาพแผนท่ีดังกล่าวขึ้น โดยในแผนทด่ี งั กลา่ วแสดงการคำ� นวณทางอตุ นุ ยิ มวทิ ยา อทุ กศาสตร์ และ ภมู ิศาสตร์ เพราะแสดงถึงสภาพอากาศ คล่ืน ลม และเสน้ ทางเดินเรือ ไว้อย่างครบถว้ น นบั วา่ ทรงพระปรชี าสามารถดา้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยสี มยั ใหม่ จนแสดงออกอยา่ งเด่นชัดในหนังสือพระราชนิพนธ์เลม่ ดังกลา่ ว ในหนงั สือพระราชนพิ นธ์เล่มตา่ งๆ ท่กี ลา่ วมา แสดงใหเ้ หน็ ถึงคติท่ี ทรงตอ้ งการถา่ ยทอดแกป่ ระชาชนของพระองคค์ อื ความวริ ยิ ะหมนั่ เพยี ร ไมย่ อ่ ท้อต่อปญั หาใดๆ และความจงรกั ภกั ดตี อ่ ชาตอิ ย่างสุดจติ สุดใจ ดงั สะทอ้ นใหเ้ หน็ ไดจ้ ากพระราชกรณยี กจิ ตลอด ๗๐ ปขี องการทรงงานของ พระองคเ์ อง หนงั สอื พระราชนพิ นธอ์ กี เลม่ หนงึ่ คอื เรอื่ งทองแดง เปน็ เรอื่ งราวของ สุนขั ทรงเลยี้ ง ทีน่ อกจากจะมกี ริ ยิ ามารยาทเรียบรอ้ ย เฉลยี วฉลาดแสนรู้ ฟงั ภาษาไดร้ เู้ รอ่ื ง และยงั แสดงกตญั ญกู ตเวทอี ยา่ งยง่ิ ตอ่ พระองค์ ทองแดง เป็นสุนัขที่รู้จักที่ต่�ำที่สูงอย่างยิ่ง เช่น จะนั่งต่�ำกว่าพระองค์อยู่เสมอ แม้จะทรงดงึ ตวั ข้ึนมากอด ทองแดงก็จะทรุดตัวหมอบกับพื้น และทำ� หลู ู่ อยา่ งนอบนอ้ ม ในพระราชนิพนธ์เล่มดังกล่าวน้ีแสดงถึงพระราชอารมณ์ขันหลาย แหง่ เช่น กล่าวว่าคณุ ทองแดงเป็นหมาเทศ แตไ่ มใ่ ช่หมานอกมาจากต่าง ประเทศ แตเ่ ปน็ “หมาเทศบาล” ลกู ของคณุ ทองแดงกบั คณุ ทองแท้ สนุ ขั พนั ธบ์ุ าเซนจิมที งั้ หมดรวม๙สนุ ขั ไดพ้ ระราชทานชอื่ ให้โดยเปน็ “ชอ่ื ขนม” ที่มีค�ำว่าทองอยู่ด้วย และพระราชทานนามสกุลว่า “สุวรรณชาด - 95 -
(แปลตรงตัวว่า ทองแดง)” ดังน้ี ทองชมพูนุท ทองนพคุณ ทองเอก ทองม้วน ทองอฐั ทองพลุ ทองหยิบ ทองหยอด และทองทตั ในจ�ำนวนนี้มี ทองชมพูนุทและทองนพคุณ ท่ีใช้เป็นชื่อเรียก ประเภทของ “ทองคำ� ” จริงๆ ได้อีกด้วย ! ท้ังหมดท่ีเล่ามาก็คงท�ำให้เห็นถึงพระปรีชาสามารถและพระราช อารมณ์ขันได้อย่างชัดเจน เกี่ยวกับผู้เขียน ดร.นำ� ชยั ชวี ววิ รรธน์ ผอู้ ำ� นวยการฝา่ ยเผยแพรว่ ทิ ยาศาสตร์ สวทช. ท�ำงานด้านการเผยแพร่ความรู้ผ่านส่ือในรูปแบบต่างๆ ทั้งการ เขยี นการแปลการทำ� อนิ โฟกราฟกิ เปน็ บรรณาธกิ ารวทิ ยากรและ พิธีกรรายการโทรทัศน์ ส�ำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีจาก จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ปรญิ ญาโทจากมหาวทิ ยาลยั มหดิ ล และ ปรญิ ญาเอกจาก Kumamoto University ประเทศญีป่ นุ่ - 96 -
ส�ำนกึ ในพระมหากรุณาธิคณุ ด้านการศึกษา ดร.อดุ มชยั เตชะวภิ ู สมัยเมื่อผู้เขียนยังเป็นเด็ก พ่ีๆ มักจะชวนกันไปรับเสด็จพระราชด�ำเนิน ที่ริมถนนหน้าบ้านซ่ึงเป็นตึกแถวอยู่บริเวณแยกถนนพิษณุโลกกับถนน นครสวรรค์ บริเวณดังกลา่ วเปน็ หวั โคง้ ทางแยกจึงทำ� ใหร้ ถยนตพ์ ระทนี่ ่ัง แลน่ ผา่ นชา้ ลง และทำ� ใหพ้ วกเราไดม้ โี อกาสชน่ื ชมพระบารมขี องพระองค์ ไดน้ านขึ้น - 97 -
เม่ือประมาณปี พ.ศ. ๒๕๒๒ โรงเรียนแห่งหนึ่งถูกสร้างขึ้นท่ีฝั่ง ตรงข้ามบ้านซึ่งเป็นที่ต้ังของราชตฤณมัยสมาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (สนามม้านางเล้ิง) โรงเรียนน้ีถือก�ำเนิดขึ้นด้วย พระมหากรณุ าธคิ ณุ ในพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช พระองค์พระราชทานที่ดินทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ในการจัด สร้างขึ้น ท่ีดินนี้เดิมเป็นท่ีตั้งของกรมอัศวราชในสมัยรัชกาลท่ี ๖ และ พระราชทานนามโรงเรยี นวา่ “ราชวนิ ติ มธั ยม” ซงึ่ หมายถงึ สถานทอ่ี บรม กุลบตุ ร กุลธิดา ในระดบั มัธยมให้เปน็ คนดี แห่งพระบารมปี กเกล้า [๑] พ่ีๆ และผู้เขียนก็ได้เข้าศึกษาที่โรงเรียนแห่งน้ี ที่นี่มีความพิเศษ อยู่อย่างหนึ่งคือ นักเรียนท่ีมีความประพฤติดี และมีผลการศึกษา ดีเย่ียม ท�ำกิจกรรมดีเด่น หรือแม้แต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ จะได้รับ พระราชทานทนุ การศกึ ษา เชน่ เดยี วกบั โรงเรยี นในพระองคแ์ ละโรงเรยี น ในพระบรมราชปู ถัมภอ์ ื่นๆ เชน่ โรงเรยี นจิตรลดา โรงเรียนวงั ไกลกังวล โรงเรียนราชวนิ ติ (ประถม) และโรงเรียนราชประชาสมาสัย [๒] ในสมัยก่อนพระองค์จะเสด็จพระราชด�ำเนินมาพระราชทานทุน เหล่านี้ด้วยพระองค์เอง สิ่งนี้ท�ำให้พ่ีๆ และผู้เขียนตั้งใจศึกษาอย่างเต็ม ความสามารถผู้เขยี นได้รับพระราชทานทุนนต้ี ลอดทงั้ ๕ ปี (ผ้เู ขียนไม่ได้ ศกึ ษาชนั้ ม. ๖ เน่อื งจากสอบเทยี บได้) แตเ่ นอื่ งด้วยพระองคม์ พี ระราช กรณียกจิ มากมายจงึ ทรงโปรดเกล้าฯ ให้ สมเดจ็ พระบรมโอรสาธริ าช ฯ สยามมกุฎราชกุมาร (ในขณะน้ัน) และสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชด�ำเนินแทนพระองค์ในการ พระราชทานทนุ ในครง้ั นน้ั ๆ ผเู้ ขยี นไดแ้ อบตง้ั ความหวงั ไวว้ า่ จะไดม้ โี อกาส เข้ารับพระราชทานทุนจากพระหัตถ์ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภมู พิ ลอดุลยเดชสกั ครง้ั หน่ึง - 98 -
ในนคกัหดิ วถลทิ ึงยว์ ง หลังจากน้ัน ผู้เขียนได้เข้าศึกษาต่อที่คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ เมอ่ื ปี พ.ศ. ๒๕๓๓ มหาวทิ ยาลยั แหง่ นเ้ี ปน็ หนง่ึ ในมหาวทิ ยาลยั ทพี่ ระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั รชั กาลที่ ๙ ทรงพระกรณุ า โปรดเกล้าฯ เสด็จพระราชด�ำเนินพระราชทานปริญญาบัตรแก่ผู้ส�ำเร็จ การศึกษา ผู้เขียนต้ังใจที่จะส�ำเร็จการศึกษาเพื่อให้ได้รับพระราชทาน ปริญญาบัตรจากพระหัตถ์ของพระองค์ อย่างไรก็ตามผู้เขียนทราบว่า ในบางปีพระองค์จะไม่ได้เสด็จพระราชด�ำเนินมาด้วยพระองค์เอง เน่ืองจากพระอาการประชวร และมีข่าวลือกันว่าพระองค์จะทรงยุติ พระราชกจิ ในการน้ีลง ในปี พ.ศ. ๒๕๓๗ ซึ่งเป็นปีที่ผู้เขียนส�ำเร็จการศึกษา ทางสภา มหาวทิ ยาลยั ประกาศวา่ พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช จะเสด็จพระราชด�ำเนินมาพระราชทานปริญญาบัตรด้วยพระองค์เอง สิ่งนี้ท�ำให้ผู้เขียนปลาบปล้ืมเป็นอย่างย่ิง ในขณะที่เดินต่อแถวเพ่ือเข้า รับพระราชทานปริญญาบัตรน้ัน แม้ผู้เขียนได้มีโอกาสชื่นชมพระบารมี แค่ช่วงเวลาส้ันๆ แต่สิ่งนี้สร้างความปลาบปล้ืมให้แก่ผู้เขียนเป็นที่สุด (ในภายหลังผู้เขียนได้ทราบว่าในปีต่อมา พระองค์ทรงโปรดเกล้าฯ ให้ สมเดจ็ พระนางเจา้ พระบรมราชนิ นี าถเสดจ็ พระราชดำ� เนนิ แทนพระองค์ และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ เสด็จพระราชด�ำเนินพระราชทาน ปรญิ ญาบตั ร ทมี่ หาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตรด์ ว้ ยพระองคเ์ องอกี เพยี งสามปี ถดั มา [๓] ผเู้ ขยี นยงั อดคดิ ไมไ่ ดว้ า่ ถา้ ผเู้ ขยี นไมไ่ ดส้ อบเทยี บ ผเู้ ขยี นคงไมม่ ี โอกาสไดร้ บั พระราชทานปริญญาบัตรจากพระองค์) ในปี พ.ศ. ๒๕๔๐ ผเู้ ขยี นไดร้ บั พระราชทานทนุ มลู นธิ อิ านนั ทมหดิ ล ไปศกึ ษาในระดบั ปรญิ ญาโทและเอกทปี่ ระเทศสหรฐั อเมรกิ า ซงึ่ สรา้ งความ ภาคภมู ใิ จใหก้ บั ผเู้ ขยี นและครอบครวั เปน็ ทสี่ ดุ ผเู้ ขยี นไดม้ โี อกาสเขา้ เฝา้ ฯ - 99 -
สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ เพอ่ื กราบบงั คมทลู ลาไปศกึ ษาตอ่ และได้ มโี อกาสเขา้ เฝา้ อกี ครงั้ เพอ่ื กราบบงั คมทลู ถวายรายงานหลงั จากสำ� เรจ็ การศกึ ษา เกี่ยวกับมูลนิธิอานันทมหิดลน้ี พระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานพระราช ทรพั ยส์ ว่ นพระองคก์ อ่ ตง้ั ขน้ึ เพอื่ สนบั สนนุ นกั เรยี นไทยผมู้ คี วามสามารถ ทางวิชาการอยา่ งยอดเย่ียม มคี ณุ ธรรมสงู ไดม้ โี อกาสไปศึกษาวิทยาการ จนถึงข้ันสูงสุดในต่างประเทศ เพื่อน�ำความรู้กลับมาท�ำคุณประโยชน์ พฒั นาบา้ นเมอื งใหก้ ้าวหนา้ ตอ่ ไป [๔] ผู้เขียนได้สืบค้นพระราชกรณียกิจด้านการศึกษา และได้พบข้อมูล มากมาย [๕] โดยมีตัวอยา่ งดังนี้ พระราชกรณยี กจิ ดา้ นการศกึ ษาในระบบโรงเรยี น นอกจากโรงเรยี น จิตรลดา โรงเรียนวังไกลกงั วล โรงเรยี นราชวนิ ิต โรงเรียนราชวนิ ติ มธั ยม และโรงเรียนราชประชาสมาสัย ท่ีได้กล่าวมาแล้วข้างต้น ยังมีโรงเรียน อ่ืนๆ ท่ีได้รบั พระราชทานทรพั ย์ส่วนพระองค์ให้จัดตงั้ ข้ึน เชน่ โรงเรียน เจ้าพ่อหลวงอุปถัมภ์ ซึ่งเป็นโรงเรียนต�ำรวจตระเวนชายแดนเพื่อ สอนหนังสือให้แก่ชาวเขาและประชาชนไกลคมนาคม โรงเรียนร่มเกล้า ซ่ึงเป็นโรงเรียนในพ้ืนท่ีห่างไกลทุรกันดารและในพื้นที่ปฏิบัติการของ ผู้มีอุดมการณ์ท่ีแตกต่างทางการเมือง เพ่ือให้การศึกษาและป้องกันมิให้ เดก็ ถกู ชกั จงู เขา้ ปา่ หรอื โรงเรยี นสงเคราะหเ์ ดก็ ยากจน เชน่ โรงเรยี นมธั ยม วัดศรีจันทรป์ ระดิษฐ์ (สมทุ รปราการ) โรงเรียนนนทบุรีวิทยา (นา่ น) และ โรงเรียนวัดบึงเหล็ก (นครพนม) โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ซึ่งเป็น โรงเรียนในพื้นที่ที่ราษฎรประสบภัยและต้องการความช่วยเหลืออย่าง เร่งดว่ น มีทง้ั สน้ิ ๓๐ แห่งท่ัวประเทศ และ โรงเรียนราชประชาสมาสัย - 100 -
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116