Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore the_end_ncds_ebaahwaan_-_reduce

the_end_ncds_ebaahwaan_-_reduce

Published by morakot panpichit, 2020-05-26 10:16:56

Description: the_end_ncds_ebaahwaan_-_reduce

Search

Read the Text Version

ปท่ี 1 ฉบบั ท่ี 1 มกราคม 2557 - มีนาคม 2557 TNHECENDD s “เบาหวาน” âä NCDs ¤×Í? ¡Òôá٠żÙé»èÇÂâäàÃÍé× Ã§Ñ ( CHRONIC CARE MODEL) á¡ÊÅÁÑÍЧÀÃÒ·Ñ¡É¹Ø É³§Ò켺¹»éÙ º¾èÇ.Ã¡Â¡Ô ÔµâÃҵä¤Ô ໺ÇúÒÁˤѵÇÒØÁ¶¹»¼áÅéÍŧС¤Ñ¹ÇÒÁ´Ñ¹âÅËµÔ ÊÙ§

สารบญั กองบรรณาธกิ าร 3เขียนโดย นพ.ทักษพล ธรรมรังสี คอลัมน NCDs ยอ งเงยี บ 4-5โรค NCDs คือ? เขียนโดย นพ.วชิ ช เกษมทรพั ย 6-7 คอลัมนก าวทันโรค รทู นั NCDs ขบวนการตานเบาหวาน \" ศ.นพ.เทพ หิมะทองคำ 8-9 คอลมั นส บายกาย หางไกล NCDs การดูแลผูปวยโรคเร้อื รัง ( CHRONIC CARE MODEL ) เขยี นโดย นพ.สมเกยี รติ โพธสิ ัตย 10-11 คอลัมนเครอื ขายNCDs กองทนุ งบบรกิ ารควบคุมปองกนั และรักษาผูปว ยโรคเบาหวานและความดนั โลหติ สูง สมั ภาษณ นพ.กติ ติ ปรมัตถผล 12-13คอลัมนร อบรัว้ รอบโรค NCDs เขยี นโดย MidNight SoLar คอลัมนต ระเวนทอ งโลกงานวจิ ยั NCDs 14-15 เขม็ ทิศงานวิจยั NCDs เขียนโดย Wooya ผจู ดั ทำ แผนงานเครอื ขา ยควบคมุ โรคไมตดิ ตอ (NCD Net) บรรณาธิการ : นพ.ทักษพล ธรรมรงั สี ทป่ี รกึ ษา : นพ.วชิ ช เกษมทรัพย กองบรรณาธกิ าร : น.ส สกุ ฤตา พมุ ดวง sweets ภญ.วรรณสดุ า งามอรุณ นายพุฒิปญ ญา เรืองสม น.ส นงลภัส ศศวิ จั นไพสฐิ นายวิชชกุ ร สรุ ิยะวงศไพศาล ออกแบบปกและรูปเลม: จิรายตุ ยมาภยั 2

กองบรรณาธิการ เขยี นโดย นพ.ทกั ษพล ธรรมรงั สี สวสั ดคี รบั พบกับจดหมายขา ว “THE END NCDs” ฉบบั นี้เปน ฉบับปฐมฤกษนะครบั กอนอน่ื กค็ งตอ งขอแนะนำตวั สำนักงานเครอื ขายโรคไมต ดิ ตอ หรือ Thai NCD Network หรืออีกชื่อที่เรียกงายกวาอยางไมเปนทางการวา NCD Net ครับ ตัวแผนงาน NCD Net เปนนวัตกรรมใหม ที่เกิดจากแนวคิดของผูบริหารสูงสุดของสี่องคกรในวงการสุขภาพของไทย อันไดแก กระทรวงสาธารณสุข สำนักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ (สปสช.) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ (สสส.) สำนกั งานคณะกรรมการสขุ ภาพแหง ชาติ (สช.) และ ผแู ทนขององคก ารอนามยั โลกประจำประเทศไทย ซง่ึ ลว นเลง็ เหน็ วา โรค NCDs นับวันเขาขั้นวิกฤตที่ทวีความรุนแรงเพิ่มขึ้นในสังคมไทยทุกเมื่อเชื่อวัน หากปลอยไวไมทำอะไร ภายภาคหนา คงเปนภาระทแ่ี นนอก ยกไมอ อก นอกจากน้นั ยงั เลง็ เห็นวา การจัดการวกิ ฤต NCDs น้ันตอ งมีการตดั ตอน ตั้งแตปจจัยเสี่ยง โดยเฉพาะดานพฤติกรรม หากมัวมานั่งรักษา ฟนฟูอยางเดียวนั้นเห็นทีประเทศไทยจะผลิตหมอ ผลติ พยาบาล สรา งโรงพยาบาล เทาไหรก ็ไมพ อเปน แน ถงึ เวลแคาทรเ่ีอรคาตัดอกงรลอกุงขรน้ึ อมรากั จษัดากาครงโไรมคฟ เบนาเสหียวาแนลทว ่ตี น ตอหหแนจลถลแกัะาทึงะเลเๆยพกปดกพ่ีทะแโฤวร็นินบรีท่ไลกัาตมงทกวยะปษพิกสาาัน3อนรารเยางยะสพาไรไมาลขปเตปี่มคยีบาดานื่าเทงเนรานน็รสยขรถี่ลอ่ืชคี่ยกตอมคคคยูโนงนัายตววรออมลไบบองไยยแปาะทตผคคาๆกตเ่ีปูงมุุม5ขมตรทไวภ6ายไามีนี่นยดห.ยาาค7าแวยแทยอตตะคคทคิบพ่ียอนกนลร่ีคยจรรใำ้ูตนิ้ันกอะนะจตัวิคมขมบเคากดเคีน้ึจบแลืบอาียวะมลสใรปาาวพนาะสุขหมรกเัฒเำภอวะลพห็คราานยชอืวยีวอืพนาาาดงัจงจมกงโรสเแไรมานอารมูงลคกื่อเกนยี้อคปะเสปลล้ีไบนอตนปัดะุมยาาอ5ผดหจคนโก22ูปาดะวตี7้าจหวยมบารจ.ำยล1นเอีพอะนฉเะนบกฒัทเพวโวหาวรานีส่นัานคคาลหาะมาตชือวจมใเเาเรนื่อาศนอาทกานเปรระบาบมถหษไรไไาคีามรคหะนฐงๆนควรทชกราไบรูตาใิจ่ีมหทเหับกคหแัวคีวยมรมุลมาลทไไชนะภอืนิมมมามี่สๆนาิคตไายภีังวดแทเทอแคาบะครด่มีงวตมนาับรแพะีนกอห้ำอกทนูดอต้ำยวเาวน้ำตผาถาารลตลางนผลึงบาใาลใูปปกทหทนลรใรวรกุนญิกใเ่ีเะยะบลวนเาหทหลชนัอืาเรลลบอืหนาแดอืวกดวลาไงดดเารสวกนสทงู .า.ูงี่ม. ี 3

NCDs ยอ งเงยี บ NCDs? เขยี นโดย นพ.วชิ ช เกษมทรพั ย โรคไมต ดิ ตอ (non-communicable diseases) ดว ยชือ่ ที่แปลตรงตวั มาจากภาษาตางประเทศ ท่ีดจู ะจำกดั วงของการเกดิ โรคคือมันไมตดิ ตอ ประชาชนทั่วไปอาจเขาใจผิดวา กลุมโรคไมตดิ ตอนัน้ เปน โรคไมรายแรง แตถ าพูดช่อื โรคออกไปจะทำใหเ ขาใจไดทันทวี า กลุมโรคน้ใี กลต ัวเรานิดเดียว เชน คงมปี ระชาชนนอ ยคนมากทไี่ มเ คยรูจ กั กับคนไขทเ่ี ปน มะเรง็ หรือ มญี าติพน่ี อ งของเราบางคนตองเปนเบาหวาน หรอื โรคหวั ใจขาดเลอื ด เปนตน 4

กลุมโรคไมติดตอที่ประกอบดวยโรคหัวใจและ ดวยกระแสบรโิ ภคนิยม โลกาภิวฒั นท ่ีระบาด หลอดเลอื ด โรคเบาหวาน โรคมะเรง็ และโรคปอดเรอ้ื รงั ไปทั่วไมเวนแตประเทศกำลังพัฒนาที่วิถีชีวิตของ เปนโรคที่ไดรับความสนใจมากที่สุดในโลกในปจจุบัน ประชาชนกำลังเปล่ยี นไป มีการเคลอื่ นยา ยมาทำงาน เพราะมขี อ มูลท่ีช้ใี หเ ห็นวา อัตราตายของโรคเหลานี้ ทม่ี กี จิ กรรมทางกายนอ ยในเมอื งจากเดมิ ทท่ี ำเกษตรกรรม เพิ่มขึ้นมากในชวงหลายสิบปที่ผานมา และ เพิ่มจน ในชนบท หรือ การพักผอนหยอนใจของประชาชน จำนวนผูท ีต่ ายจากโรคไมตดิ ตอ น้ีเพ่ิมมากกวาจำนวน ก็เปลี่ยนไปจากที่จะไปเลนกีฬา ไปดูหนัง ฟงเพลง ผูปว ยทตี่ ายจากโรคติดตอ คือมีคนตายจากกลุมโรคนี้ ตามงานวดั หรอื นอกบา นทีต่ องมกี ารขยบั กายไมม ากก็ กวาปละ 36 ลา นคนทั่วโลก นอย กเ็ ปลี่ยนไปเปน แสวงหาความสขุ ไดจ ากหนาจอ ทีวี คอมพิวเตอรหรือโทรศัพทมือถือ ภายในบาน ดว ยปจ จัยเสย่ี งของโรคนมี้ าพรอ มกับ ทำใหกิจกรรมทางกายของประชาชนมีจำกัด และ การบรโิ ภคท่ีไมเหมาะสม เชน บรโิ ภคอาหารเกินไมว า การตลาดเร่ืองการกระจายบุหร่ี สุรา ทท่ี ำใหหาซ้ือ จะเปน ของหวาน ของมนั และ ของเคม็ การบรโิ ภคสรุ า สง่ิ เหลานีไ้ ดงายเพ่ิมปจจัยเสีย่ งตอ โรคไมติดตอ อยา ง ยาสูบ และการมีกิจกรรมทางกายที่จำกัด ซึ่งเปน มากการส่ือสารที่จะทำใหผคู นรถู งึ ภัยของกลมุ โรคน้ี วิถชี ีวติ แบบตะวันตกทำใหมคี วามเชอื่ ของประชาชน อาจจะตองไดรับการทบทวน เริ่มจากเราจะเรียน ท่ัวไปวา โรคน้ีเปน โรคของประเทศท่ีพัฒนาแลวอาหาร กลุมโรคนีว้ า อะไร เปน โรคจากวิถีชีวติ โรคสะสมจาก การกินเพียงพอเพราะโรคเหลานี้เปนโรคของคนอยูดี การกินการอยู โรคเรื้อรัง จึงเปนสิ่งที่หลายคนชวน กินดี มีกิจกรรมทางกายนอยประเทศที่กำลังพัฒนา กันคดิ จนมขี อ สรปุ บางอยา งวา เรยี กทบั ศพั ทว า NCDs คงไมมีปญหาจากกลมุ โรคนมี้ ากนัก ซง่ึ เปน ความเขา ใจ ก็นาจะดีจะไดทำใหผูคนอยากคนหา และ สื่อสารกับ ทผ่ี ดิ เพราะจากสถติ พิ บวา จำนวนผปู ว ยดว ยโรคไมต ดิ ตอ สากลตรงกัน วารสารนี้จึงมีชื่อที่แปลกออกไปวา กวารอ ยละ 80 อาศยั อยูในประเทศทีก่ ำลงั พฒั นา “THE END NCDs” หรอื อวสานของโรคไมต ดิ ตอ คดิ วา จะเปนสื่อสรางความเขาใจเพื่อจุดหมายที่จะหยุดยัง โรคกลมุ นใ้ี นอนาคต THE END NCDs 5

กาวทันโรค รูทนั NCDs ขบวนการตานเบาหวาน Diabetes โดย ศ.นพ.เทพ หมิ ะทองคำ เบาหวาน เบาหวานเปนโรคทร่ี จู กั กันมากวา 3,000 ปแ ลว การตดั ขามากทส่ี ุด เปน ตวั กอ กำเนดิ ภาวะหลอดเลือด แตในชวง 25 ปท ผ่ี า นมาความรเู กีย่ วกนั โรคนเ้ี ตบิ โตอยาง อักเสบและตีบตนั ทั่วรางกายซง่ึ นำไปสูก ารเสียชีวิตใน รวดเร็ว ทำใหแนวคิดในการดูแลโรคนี้เปลี่ยนแปลงไป ท่สี ดุ จากโรคท่ีเพยี งรักษาเยียวยาอาการท่เี กดิ ข้นึ เปน โรคทีต่ อง สรางขบวนการตอตาน เพราะความรูใหมพสิ จู นช ดั เจนวา การปองกันโรคเบาหวานตองทำงานเปน ทีม เบาหวานนั้นปองกันได และเราไมจำเปนตองเสียเวลา การดแู ลเบาหวานไมใ ชงานท่ีแพทยทำเองคนเดียวได เสียทรพั ยากร เสยี คณุ ภาพชวี ิตไปกับโรคน้ี แพทยจ ำเปน ตองมีทมี งานสหสาขาวิชาชีพเพื่อชวยใน กระบวนการทั้งหมด เริม่ ตัน้ แตการคัดกรองหากลุมผูท่ี การปอ งกนั โรคเบาหวานไมไดส งผลดีเฉพาะกับ มคี วามเสย่ี งไปถงึ การสรา งกจิ กรรมและความตระหนกั โรคเบาหวานเทา นน้ั แตยังมีผลดีตอการเกดิ โรคหัวใจและ เพ่ือใหกลมุ เสีย่ งไดร ตู ัวและสามารถปรับวถิ ีการดำเนนิ หลอดเลือดอีกดวย ทั้งหลอดเลือดขนาดเล็กและหลอด ชวี ิต ท้ังเรื่องอาหาร การเคลอื่ นไหวรา งกาย และการ เลือดขนาดใหญ ซึ่งทั้งคูนำไปสูการเสียชีวิตและความ รักษาจิตใจใหเบิกบาน และถึงแมเปนกลุมผูเปน พิการมากมาย เกิดเปนภาระของประเทศในปจจุบัน เบาหวานแลว แพทยก ย็ งั ตอ งการทมี งานเพอ่ื ชว ยผลกั ดนั และหากไมทำการยับย้งั ภาระจะทวีคูณยงิ่ ขึน้ ในอนาคต การรักษาและการปรับพฤตกิ รรมเพื่อควบคุมโรคและ เบาหวานเปนโรคทท่ี ำใหเ กดิ ตาบอดมากเปนอนั ดับตน ๆ ปอ งกนั โรคแทรกซอนเชนกนั ทำใหเกิดไตวาย และยังเปนสาเหตุของแผลเรื้อรังและ 6

การปรับวิถีการดำเนนิ ชวี ติ ของประชาชน ใหเ กษตรกรหันมาปลูกพืชผกั ทดี่ ีตอสขุ ภาพมากขนึ้ ยงั เปน เรอ่ื งทท่ี า ทายอยา งยง่ิ แมใ นขณะนเ้ี พราะเปน เรอ่ื ง กระทรวงอตุ สาหกรรมตอ งเขา ดแู ลกำกบั ใหอ ตุ สาหกรรม ที่ตองอาศัยสังคมและส่งิ แวดลอมเปนองคประกอบ อาหารแปรรูปคำนึงถงึ คุณคา ทางอาหารเพม่ิ ข้นึ จำกัด สภาพสงั คม ความนิยม การอบรมบม นิสยั มาแตเดก็ ปรมิ าณน้ำตาล เกลือ และไขมัน ในอาหารตางๆ ลว นเปน ปจจัยสำคญั อยางยิ่งท่ีจะทำใหเกิดพฤตกิ รรมที่ กระทรวงพาณชิ ยต อ งมสี ว นรว มในการกำกบั การโฆษณา ชว ยใหเ ดก็ หา งไกลโรคเบาหวานเมื่อโตข้นึ ชวนเชอื่ ซึง่ สรา งนิสัยการบริโภคท่ีไมถ กู ตอ งในสงั คม กระทรวงมหาดไทยตอ งผลกั ดันใหท องถ่ินวางแผนปรับ ดงั นั้นการปรับเปลีย่ นวถิ ชี ีวติ เพอ่ื ปองกัน ปรุงสิง่ แวดลอมเพื่อสุขภาพของประชาชนในพนื้ ท่ี เชน โรคเบาหวานนี้ไมใ ชเรอื่ งของกลุมบุคลากรสาธารณสุข การสรา งสถานทีส่ าธารณะสำหรับการออกกำลังกาย เทานัน้ แตเปนเรื่องใหญระดับท่ีตองเปนนโยบายของ และทา ยสุดนนั้ กระทรวงการคลงั ตองพรอมทจี่ ะจัด ชาตจิ งึ จะมโี อกาสประสบความสำเรจ็ ไดผ บู รหิ ารประเทศ งบประมาณสำหรับการทำงานของกระทรวงตางๆ ในดา นตางๆตอ งทำความเขาใจและใหความสำคญั กบั ดังกลา วขา งตน บทบาทท่ตี นเองตอ งรับไป เชน กระทรวงศกึ ษาธิการตอง เรงรัดควบคมุ คุณภาพอาหารในโรงเรียนใหม คี ณุ คาทาง จะเห็นไดวางานปองกนั เบาหวาน ไมใ ชง าน โภชนาการเหมาะสม ตอ งสรา งหลักสูตรที่ชวยปลูกฝง ของแพทย ไมใ ชง านของบุคลากรการแพทย ไมใชงาน นิสยั รักการออกกำลงั กายใหแ กเ ด็ก ตอ งมกี ิจกรรม ของกระทรวงสาธารณสุขเทา นั้น แตเปน งานระดับชาติ สง เสรมิ การสรา งสมาธแิ ละการดแู ลจติ ใจใหส งบตง้ั แตเ ลก็ ระดบั ที่ตองสรา งเปน ขบวนการตานเบาหวานกนั เลย การเร่ิมตน สง่ิ เหลา น้ีในโรงเรียนจะชว ยพฤติกรรมทมี่ ผี ลดี ทีเดยี ว ตอสขุ ภาพของเขาในเวลาตอ มาตดิ ตัวไปตลอดชีวติ กระทรวงเกษตรและสหกรณต อ งรับนโยบายสนับสนุน 7

สบายกาย หา งไกล NCDs หลกั การดเู เลผปู วยโรคเร้อื รัง เเบบบูรณาการ (Integrated Chronic Care Model) นพ.สมเกยี รติ โพธสิ ตั ย สำนกั ทป่ี รกึ ษา กรมการแพทย โครงสรา งประชากรไทยในปจ จบุ นั เปลย่ี นเปน สงั คมผสู งู อายุ ประชาชนมอี ายยุ นื ยาวขน้ึ ทำใหโ รคเรอ้ื รงั ซง่ึ เปน ผลจากการเสอ่ื มของสภาพรา งกายกลายเปน ปญ หา สขุ ภาพทส่ี ำคญั อยา งมาก ทง้ั น้ี อาจเนอ่ื งจากหลายสาเหตทุ ง้ั จำนวนผปู ว ยทเ่ี พม่ิ ขน้ึ บคุ ลากร ทางการแพทยเ ขา ไมถ งึ องคค วามรใู หมๆ หรอื เขา ถงึ แตไ มส ามารถนำไปประยกุ ตใ ชใ นการใหบ รกิ าร ระบบบรกิ ารสขุ ภาพ เปน บทบาทของบคุ ลากรทางการแพทยแ ละสาธารณสขุ เพยี งฝา ยเดยี ว และเปน เชงิ ตง้ั รบั เพอ่ื การดแู ลรกั ษาเมอ่ื มปี ญ หา สขุ ภาพเปน ครง้ั ๆ ขาดความตอ เนอ่ื ง และขาดการมสี ว นรว มในการดแู ลตนเองของผปู ว ย ครอบครวั และชมุ ชน ดงั นน้ั การดแู ลผปู ว ยโรคเรอ้ื รงั ใหไ ดผ ลดี ควรจะตอ งประกอบดว ยระบบการดแู ลสขุ ภาพทม่ี กี ารจดั องคก ร และระบบบรกิ ารทด่ี ี ประสานเชอ่ื มโยงกบั ชมุ ชน บรู ณาการกบั การปอ งกนั ควบคมุ โรค ใหเ กดิ การเปลย่ี นแปลงแบบ แผนการปฏบิ ตั ใิ หม เปน กรอบแนวคดิ รปู แบบการดแู ลผปู ว ยโรคเรอ้ื รงั เเบบบรู ณาการ ควรมอี งคป ระกอบทจ่ี ำเปน ดงั น้ี 1. ปรบั ทศิ และเปา องคก รสขุ ภาพ (Health Care Organization) 2. ปรบั ระบบบรกิ าร (Delivery System Design) 3. ระบบสนบั สนนุ การตดั สนิ ใจ (Decision Support System) 4. ระบบสารสนเทศทางคลนิ กิ (Clinical Information System) 5. ระบบสนบั สนนุ การจดั การตนเอง (Self- Management Support) 6. การเชอ่ื มโยงกบั ชมุ ชน (Community Linkage) 8

กรอบแนวคิด รูปแบบการดูแลผูปว ยโรคเร้อื รงั้ แบบบรู ณาการ นอกจากน้ี สง่ิ สำคญั ในการดแู ลผปู ว ยโรคเรอ้ื รงั จะตอ งมที มี สหสาขาวชิ าชพี (Chronic Care Model Team) ซง่ึ ประกอบดว ยบคุ ลากรทางการแพทย สาขาวชิ าชพี ตา งๆทเ่ี กย่ี วขอ ง ทไ่ี ดร บั การเตรยี มความพรอ ม สามารถรว มวางแผน เพอ่ื การดแู ลรกั ษาผปู ว ยโรคเรอ้ื รงั แบบบรู ณาการอยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ ทง้ั ดา นสขุ ภาพทางกาย จติ และสงั คม รวมทง้ั ผปู ว ยและครอบครวั จะตอ งไดร บั ขอ มลู ขา วสาร องคค วามรทู เ่ี กย่ี วขอ งทเ่ี ปน ปจ จบุ นั มคี วามรู ความเขา ใจและมน่ั ใจในขอ มลู ขา วสารอยา งเพยี งพอทจ่ี ะมปี ฏสิ มั พนั ธก บั คณะผดู แู ลรกั ษา เพอ่ื ใหไ ดท างเลอื กทเ่ี หมาะสมและเกดิ ประโยชนส งู สดุ ในการดแู ลตนเองครอบครวั และชมุ ชน 9

เครอื ขาย NCDs การดูแลผูปว ยโรคเบาหวาน และ ความดนั โลหติ สูง ในเมืองไทย กาวไกลท่ยี ังตอ งกาวตอ กองทุนงบบรกิ ารควบคมุ ปอ งกนั และรักษาผปู ว ยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสงู วนั นข้ี อเลาสูก นั ฟงเร่อื ง การสนับสนนุ การดแู ลผูป ว ยเบาหวาน และ ความดนั โลหิตสูง ในประเทศไทย โดยได รบั เกยี รติจากนายแพทยกติ ติ ปรมตั ถผล ผอ.แผนงานสนับสนุนระบบบรกิ ารโรคเรอื้ รังและโรคเฉพาะไดเ ลาถึงกองทนุ งบบริการควบคุมปอ งกนั และรักษาผูป ว ยโรคเบาหวานและความดนั โลหิตสูง ซง่ึ เปน โรคที่มผี ูป วยรวมกันกวา 10 ลานคน เพอ่ื จะไดเหน็ วามกี ารลงทุนเพอ่ื ท่จี ะพัฒนางานดแู ลโรคเรอ้ื รงั อยางจริงจังในประเทศไทย ซ่งึ ทำใหบ คุ ลากรทางการ แพทยส งั กดั กระทรวงสาธารณสขุ รบั รไู ดถ งึ ภาระของการใหบ รกิ ารทเ่ี พม่ิ มากขน้ึ อยา งมากในรอบ 10 ปท ผ่ี า นมา เพราะนอก จากกระทรวงสาธารณสขุ ในฐานะผูดำเนินการหลักผานโครงการสำคญั เชน โครงการสนองนำ้ พระราชหฤทัยในหลวง ทรงหว งใยสขุ ภาพประชาชน ซึ่งทำใหเกดิ การดำเนนิ การคนหาและดูแลผูป วยอยางครบวงจร แลว ในรอบหลายปที่ผา นมา ยังมกี ารสงั่ การใหม ีการตรวจคดั กรองและแบงผูปวยเปน กลุมๆเพ่อื การดูแลทีต่ อ เนื่องอีกดว ย สถานการณก ารดูแลผูป วย โรคเรือ้ รังในบทบาทของสปสช.คือสนบั สนุนนโยบายสุขภาพดีวิถีไทยของ โรคเร้ือรังในประเทศไทย รัฐบาล คณะรฐั มนตรีเหน็ ชอบตามแผน โดยทางสปสช.เนนหนกั 2 เร่อื งคอื เปน ยงั ไงบาง 1. การเงิน การสนับสนุนดานการเงินการคลงั 2. การชว ยการพัฒนาระบบคุณภาพการใหบริการสนับสนุนการพฒั นา 10 ระบบการใหบ รกิ ารของโรคเรอ้ื รงั และ NCDs คลนิ กิ ซง่ึ สอดคลอ งกับนโยบายรวมกับพนั ธมิตรท่สี ำคัญ 4- 5 กลมุ กลุม 1.งานดานวิชาการตางๆ กลุม 2. งานดานกระทรวงสาธารณสุข กลุมที่ 3 งานสรา งเสริมสขุ ภาพและพฤตกิ รรมเสยี่ ง กลุม ที่ 4 สมัชชาสุขภาพ และกลมุ สดุ ทา ย องคก รปกครองสว นปกครองทอ งถ่นิ ซง่ึ สถานการณการดแู ลโรคเรื้อรังในรอบ 3-4 ป ที่ผานมาพบวา การเขา ถึงบริการทัง้ ความดันโลหติ สูง เบาหวาน 2 โรคใหญข องโรค เรื้อรังเพิ่มขึ้น สำหรับเบาหวานเพิ่มขึ้นจากรอยละ 23 (UC) เปนเกือบรอยละ 90 เมื่อเปรียบเทียบตามอัตราความชุก สวนนโยบาย ยุทธศาสตรสุขภาพดีวิถีชีวิตไทยกระทรวงสาธารณสุขเปนหนวยงานหลัก ในการขับเคลื่อนคือการคัดกรอง คนหาผูปวยถาปวยแลวมาคัดกรอง ความเสี่ยงที่จะเกิดภาวะแทรกซอนถาพบความเสี่ยงจึงรักษาและปองกัน ทั้งปองกันโรคและความพิการและไมใหเสียชีวิต

sweets สถานการณการเขา ถงึ แบง ออกเปน 2 สว นคือ เชงิ ระบบและผลลพั ธ กองทุนโรคเร้อื รังทผี่ านมา และคณุ ภาพบริการ 4-5 ปทท่ี ำใหผ ูปวยเบาหวานและความดนั จำนวนไมนอ ยกวา 9 ลา นคนเขาถึงบริการ มากขนึ้ จากเดมิ มีผปู วยเขามาบริการนอยมาก นอกจากเขาถงึ บริการแลวทาง สปสช. รว มกับกระทรวงสาธารณสุขดูแลเรอื่ งคุณภาพการใหบรกิ ารการพัฒนากำลงั คนทีเ่ กยี่ ว ขอ งการใหบริการ เพราะถาคนไมด ไี มมีความสามารถ ตอ ใหเ ครอื่ งมอื ดีอยา งไรก็ไมได ผลงานออกมาดี ทาง สปสช. ไดสนบั สนนุ การอบรม Case manager ไปหลายรอยคน แลวในรอบ 5 ปที่ผานมา ซึ่ง Case manager เหลานี้เปนผูชวยใหการดูแลผูปวย เบาหวานและ ความดันใหไดรับการดูแลที่มีประสิทธิภาพ โดยคัดเลือกพยาบาล มาอบรมจากทว่ั ประเทศเปน เวลา 4 เดอื น และ กลบั ไปทำงานเปน เครอื ขา ยเพอ่ื ชว ยกนั ดูแลผปู ว ย นอกจากน้แี ลว ทาง สปสช.ยงั สนบั สนนุ ใหม กี ารอบรม System manager ซึ่งจะไปเปน ผูช ว ยในการจัดการระบบการดแู ลผปู วยเรอื้ รังในระดบั จังหวัดทำงานสนับ สนุนการดแู ลโรคเรื้อรังซง่ึ เปนบทบาทอยางรอบดา นมากขน้ึ ในการทจ่ี ะกระตนุ ใหม กี าร จดั ระบบท้ังการดูแลรักษา และ การสรางเสริมสขุ ภาพ ปองกนั โรค รวมดว ย สปสช.เนน เร่ือง Primary prevention อยูในกองทุน P&P (รวมทกุ โรค) เนนดา นการปรบั เปลี่ยน Primary prevention พฤติกรรมรวมกับการคัดกรองเพราะ P&P เนน 2 กลุม คือโรคติดตอและโรคไมติดตอ ซ่งึ กลุม โรคไมต ิดตอ มี 4 โรค คือ ปอดเร้ือรงั (เชน COPD) เบาหวาน ความดันโลหติ สูงและ ขนาดไหน โรคหลอดเลอื ดสมอง นอกจากนั้นรวมถึงการสง เสรมิ การออกกำลังกาย การสงเสริมเรื่อง โภชนาการ ซึ่งคิดเปนครึ่งหนึ่งของงบประมาณ P&P ทานที่กำลังทำงานอยางเต็มกำลัง ความสามารถคงจะพอวางใจไดครบั วาเรามผี ูหนนุ หลงั ที่พรอ มจะสนับสนุนใหเ ราสามารถ ใหการดูแลผูปวยไดอยางเต็มที่ ทั้งจากกระทรวงสาธารณสุขที่ทุมเทมีโครงการที่ชวย การสบื คน คัดกรอง และ การจดั รปู แบบการใหบรกิ ารท่ีชัดเจน รวมถึง สำนกั งานหลกั ประกันสุขภาพแหงชาติ ท่ไี ดเพมิ่ เตมิ งบประมาณเพ่ือพฒั นาคุณภาพบรกิ ารใหเหมาะสม ดยี งิ่ ขึน้ แตหนทางในการทจ่ี ะทำใหผปู ว ยโรคเร่อื รังไดร บั บรกิ ารที่มีคณุ ภาพดียังคงมีอีก ยาวไกล เราๆทานๆ จงึ ยงั ตองรวมมอื รวมใจกนั พฒั นางานสำคัญน้ีใหเจรญิ กา วหนาตอไป 11

รอบร้วั รอบโรค NCDs ทราบกนั หรอื ไมคะวา โรคเบาหวาน โดยเฉพาะเบาหวานชนดิ ที่ 2 MidNight SoLar (Type 2 Diabetes) มปี ระมาณ 80% “เบาหวาน” ของกลุมคนท่เี ปน โรคเบาหวานดวยกัน[1] และในตอนน้เี รามีผปู วยเบาหวาน กระจายตัวอยปู ระมาณ 374 ลา นคนทั่วโลก[2] น่ยี งั ไมน บั คนที่เปนแตไ มร ูตวั หรือเสยี ชวี ติ ไปแลวดวยนะ โรคเบาหวานชนดิ ท่ี 2 นนั้ เกดิ ขน้ึ มานานแลว เปน โรคทเี่ กิดขนึ้ งายๆ และแกไ ขไดงา ยๆ เปน โรคท่อี าจจะฟงดูแปลกๆ Diabetes ท่ไี มว าจะเปน สาเหตุ การปองกนั หรือแมแ ตการรักษาก็ใชวิธเี ดียวกัน พวกเราเกอื บทุกคนอาจจะรูแ ละเขา ใจ แตทำไดห รือไมน ้ันเปน อกี เรื่องหนึ่ง ท่ีเขาบอกกันวา “กนิ อยางไร กจ็ ะไดอ ยางน้ัน” คงจะเปนความจริงท่หี ลีกหนกี ันไมพน ไมวา ตน ตระกลู ของคุณ จะมีพันธุกรรมโรคเบาหวานหรือไมก็ตาม ตัวการที่สำคัญที่สุดในการควบคุมโรคเบาหวานชนิดที่ 2 คือ โดยหลักๆ คือ “อาหาร” น่นั เอง ไมว า จะในเดก็ หรอื ในผูใ หญก เ็ ปนกันจนแทบจะกลายเปนเร่อื งปกต[ิ 3] นอกจากนแ้ี ลว พื้นทน่ี อกตวั เมอื ง ก็เริ่มมีการขยับขยายการเปนโรคเบาหวานชนิดที่ 2 เพ่ิมมากขึ้นทุกวนั ไลค นในเมืองใหญๆ เขามาราวกบั แขง ขนั กันวาใคร เปน มากกวา คนนน้ั ชนะเสยี อยา งนน้ั และทางองคก ารอนามยั โลก (World Health Organization) รว มกบั สหพนั ธเ บาหวาน นานาชาติ (International Diabetes Federation) ยังมีการประมาณโดยคราวๆ วาในอีกประมาณ 22 ปขา งหนา ประชากรท่เี ปนโรคเบาหวานชนิดที่ 2 จะเพิม่ สงู ขึ้นถึง 55%[4] อกี ดวย ยงั มกี ารศึกษาเกย่ี วกับโรคเบาหวานท่นี า สนใจอกี มากมายในตางประเทศ อาทิเชน ใน ประเทศจนี มกี ารศกึ ษาถงึ ความเชอ่ื มโยงระหวา งการเปน โรคเบาหวานชนดิ ท่ี 2 กบั ความเสย่ี งตอ การเปน มะเรง็ ท่ีไต ผลปรากฏวา ในระยะ 2-4 ป ผูท่เี ปนโรคเบาหวานชนดิ ท่ี 2 ไมว า จะอยูในข้นั ไหนก็เพม่ิ ความเสี่ยงตอการเปนมะเร็งที่ไตสูงขึ้นถึง 5% และพบในผูชายมากถึง 86%[5] เลยทีเดียว ในหลายประเทศกม็ ีวิธกี ารรบั มอื กบั โรคเบาหวานที่แตกตา งกนั ออกไป เชน ประเทศออสเตรเลยี เนน การปรบั เปลย่ี นพฤตกิ รรมในดา นตา งๆ ทช่ี ว ยลดความเสย่ี งการเกดิ โรคเบาหวานชนดิ ท่ี 2 รวมไปถงึ การพัฒนาดานสุขภาพจิตดว ย ซึง่ ประสบผลสำเรจ็ คอ นขางเปน ทน่ี า พอใจเลยทีเดียว[6] ขณะทป่ี ระเทศ องั กฤษและแคนาดากม็ นี โยบายดา นสขุ ภาพทใ่ี ชก บั การดแู ลรกั ษาผปู ว ยโรคเบาหวานชนดิ ท่ี 2 ดว ยเชน กนั ไมวาจะเปนการใหความรูดานดัชนีไกลซีมิก[7] (ตวั ชี้วดั ท่ใี ชต รวจวดั คณุ ภาพการดูดซึมของอาหาร กลมุ คารโ บไฮเดรต หรอื ขา ว-แปง ) หรอื การสรา งความรว มมอื กนั ของทกุ ภาคสว น ทง้ั ในระดบั พน้ื ท่ี และระดบั ประเทศ เพื่อใหค วามสำคญั กับมาตรการการปองกันโรคเบาหวานชนิดที่ 2 โดยมงุ เนน ดานของพฤตกิ รรมการ บริโภคอาหาร และการออกกำลังกาย[8] คลายๆ กับของประเทศออสเตรเลีย นอกจากนี้ ประเทศอังกฤษ 12

Diabetes ยังมนี โยบายของการผา ตดั รักษาโรคอว นในผปู ว ยท่ีเปน โรคเบาหวานชนดิ ที่ 2 เพอื่ การปองกนั การเกดิ โรคแทรก ซอนเรอ้ื รังอืน่ ๆ อีกดวย[9] ปญหาที่เกี่ยวกับโรคหลอดเลือดหัวใจและสมอง อัมพฤกษ อัมพาต รวมถึงความพิการทางดาน รางกายและจิตใจ คาใชจายตั้งแตเสื้อผา ของใชสวนตัว ไปจนถึงยา และอุปกรณตางๆที่ใชในการรักษา บรรเทาลงไดดวยการปรับพฤติกรรมการกิน การขยับแขง ขยับขา[10] และรีบไปตรวจหาโรคตามสถาน พยาบาลตางๆกอนจะสายเกินไปกันดีกวานะคะ สง่ิ ทส่ี ำคญั ทส่ี ดุ คอื ความตระหนกั ทจ่ี ะ ปอ งกนั และ สง เสรมิ โดย “เรม่ิ ” ปลกู ฝง กนั ตง้ั แตพ ฤตกิ รรม ของตวั เอง และแนะนำสง่ิ ดๆี ใหก บั คนรอบขา ง โดยเฉพาะในเรอ่ื งของอาหารการกนิ ถา เรา “เลอื ก” ทจ่ี ะกนิ ใหด ี ไดเพื่อสุขภาพที่ดีของเรา ทำไมเราเลือกที่จะเพิกเฉยตอโอกาสเหลานั้น ชวยกันรวมมือกันทุกฝาย อยาใหทุก อยา งมนั สาย แลวคอยมานัง่ แกไ ขจะดกี วานะคะ เพราะสุดทา ยผูท ไ่ี ดป ระโยชนสูงสุดคงไมใ ชใ ครนอกเสยี จาก ตัวคุณ คนทีร่ กั คณุ และคนที่คณุ รัก เอกสารอางองิ 1. Danaei G, Finucane MM, Lu Y, Singh GM, Cowan MJ, Paciorek CJ et al, 2012. National, regional, and global trends in fasting plasma glucose and diabetes prevalence since 1980: systematic analysis of health examination surveys and epidemiological studies with 370 country-years and 2·7 million participants. Lancet; 378(9785): 31–40. From [website] http://www.thelancet.com/journals/lancet/article/PIIS0140- 6736(11)60679-X/fulltext#article_upsell 2. WHO Media Center, 2013. Diabetes: Factsheet No. 312. Retrieved November 27, 2013 from [website] http://www.who.int/mediacentre/factsheets/fs312/en/index.html 3. International Diabetes Federation, 2013. Chapter 4: Global issue in Diabetes 6th Edition. IDF Diabetes Atlas [online], pp. 71-84. Retrieved November 27, 2013 from [website] : www.idf.org/diabetesatlas 4. Inoue-Choi M, Robien K, Mariani A, Cerhan JR, Anderson KE. Sugar-Sweetened Beverage Intake and the Risk of Type I and Type II Endometrial Cancer among Postmenopausal Women. Cancer Epidemiol Biomarkers Prev; (1-11). 5. Song XS, Fan B, Ma C, Yu ZL, Bai SS, et al, 2013. Clinical research on the correlations between type 2 diabetes mellitus and renal clear cell carcinoma, Zhonghua Wai Ke Za Zhi; 51(7):627-30. 6. Laatikainen T, James A Dunbar JA, Chapman A, Kilkkinen A, Vartiainen E, et al, 2007. Prevention of Type 2 Diabetes by lifestyle intervention in an Australian primary health care setting: Greater Green Triangle (GGT) Diabetes Prevention Project. BMC Public Health; 7(249): 1-7. http://www.biomedcentral.com/1471-2458/7/249 7. Bailey C J, Prato SD, Eddy D, and Zinman B, 2005. Earlier intervention in type 2 diabetes: The case for achieving early and sustained glycaemic control. Retrieved November 25, 2013 from [website] http://www.fend.org/sites/default/files/CTG_Earlier_intervention_manuscript.pdf 8. National Institute of Health and Clinical Excellent, 2011. NICE Public Health Guidance. Retrieved November 25, 2013 from [website] http://www.nice.org.uk/nicemedia/live/13472/54345/54345.pdf 9. Dixon JB, Zimmet P, Alberti KG, and Rubino F, 2011. Bariatric surgery: an IDF statement for obese Type 2 diabetes; Diabet Med, 28(6): 628–642. http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC3123702/ 10. National Institutes of Health, 2012. National Diabetes Information Clearinghouse (NDIC). Retrieved November 27, 2013 from [website] http://diabetes.niddk.nih.gov/dm/pubs/diagnosis/ 13

ตระเวนทองโลกงานวจิ ยั NCDs เขยี นโดย Wooya งานวจิ ยั NCDs เรมิ่ ตน ท่ีไหนดี งานวิจัยท่เี ก่ียวของกับโรค NCDs ในประเทศไทยนน้ั มอี ยูเปนจำนวนมาก โดยงานท้ังหมดถกู ตพี มิ พ ทัง้ ในวารสารตา งประเทศและในประเทศ แตส วนใหญทพี่ บยังไมส ามารถตอบคำถามท่คี รอบคลมุ เพือ่ นำไปใชใน โรค NCDs ซึ่งตามคำแนะนำการทำงานวิจัยท่เี กี่ยวขอ งกับโรค NCDsใหไ ดป ระสทิ ธผิ ลน้ันทางองคก ารอนามัยโลก แนะนำกรอบงานวจิ ัยเรื่อง “A Prioritized Research Agenda for Prevention and Control of Noncom- municable Diseases” ซ่ึงงานวจิ ยั ท่ีจะสงผลดีตอ การปอ งกันและควบคุมโรค NCDs ประกอบไปดวย 4 โรค ไดแ ก กลมุ โรคหวั ใจและหลอดเลอื ด, กลมุ โรคมะเรง็ , กลมุ โรคเบาหวาน และกลมุ โรคปอดเรอ้ื รงั และ 4 ปจ จยั เสย่ี ง ไดแ ก การบริโภคยาสูบ, การบริโภคเครือ่ งด่มื แอลกอฮอล, พฤตกิ รรมการบริโภคอาหารท่ีเปนอันตรายตอสขุ ภาพ และการมกี จิ กรรมทางกายที่ไมเ พียงพอ นอกจากน้ันยังกลา วถึงงานวิจยั ท่เี ปน cross cutting ไดแ ก การปองกนั และควบคมุ โรค NCDs ขน้ั ปฐมภมู (ิ Primary health care approach for prevention and control of NCDs), ปจจัยทางสังคมกบั NCDs (Social determinants and NCDs), พันธกุ รรม (Genetic), และสง เสรมิ การนำผล การวิจัยเชิงใชในนโยบายและการปฏิบัติเพื่อการปองกันและควบคุมโรคไมติดตอเรื้อรัง( Promoting use of research findings to policies and practice for prevention and control of noncommunicable diseases) โดยงานวิจัยท่ีมีความสำคญั ในงานวิจัยโรค NCDs ไดถ ูกแบง ออกเปน 4 กลุม 20 ขอ ยอ ย ดงั แผนภาพ โกราครพNฒัCDนsาขทอ เ่ี มกย่ีลู ว(ข2อ ขงอก)บั วาระ เพอ่ื ไมใ หง านวจิ ัยทตี่ อ งลงทุนและลงแรง กปแาจลรจะทยัปำดจงาจานนยั สเรสงัวย่ีคมงมกท(บั 9เ่ีทกขกุย่ี อ ภว)ขาคอ สงกว นบั ,โรค ไปน้ันหลงทศิ ทางท่จี ะทำใหเกิดประโยชนส งู สุดตอ การปอ งกนั และควบคุมโรค NCDsคมู ือการทำงาน กลยทุ ธก ารทำวจิ ยั (8 ขอ ) วิจัยโรค NCDsขององคการอนามัยโลก จึงมีสวน ชวยสำคัญในการกำกบั แนวกรอบความคดิ งานวจิ ัย งแาตนร วาจิ คยั าทแม่ีพปีงร(ะ1สขทิ อ ธ)ภิ าพสงู ท่ีจะดำเนนิ งานวิจยั ช้นิ ตอไปและสามารถนำไปสู การใชจริงไดเปนอยางดี ท่มี า: ดดั แปลงจาก WHO, A Prioritized Research Agenda for Prevention and Control of Noncommunicable Diseases 14

1. งานวิจัยที่เกี่ยวของกับการศึกษาที่เกี่ยวของการติดตามและเฝาระวัง 12. งานวจิ ยั เพอ่ื พสิ จู นว ธิ กี ารตรวจคดั กรองโรคทค่ี มุ คา และแนวทางการปฏบิ ตั ิ สถานการณป จ จยั เสย่ี งภาระโรคคา ใชจ า ยทางเศรษฐกจิ และภาระทางสงั คม ทางคลินกิ ทใี่ ชไดในบริบทของประเทศทมี่ ีรายไดน อยถงึ ปานกลาง การเปลี่ยนแปลงดานพฤตกิ รรมอนั เกดิ จากกระแสโลกาภิวฒั น 13. งานวิจัยเพื่อสรางและประเมินยุทธศาสตรดานการปองกันโรคมะเร็ง 2. งานวจิ ยั การประเมนิ ผลกระทบทางเศรษฐศาสตรข องการสบู บหุ รแ่ี ละจาก ตามบริบทของวฒั นธรรมและทรพั ยากรชมุ ชนในแตละทอ งถนิ่ (รวมถงึ การ มาตรการควบคมุ การบรโิ ภคยาสบู และงานวจิ ยั ทแ่ี สดงใหเ หน็ ความสมั พนั ธ สาธารณสุขมลู ฐาน) ระหวา งปญหาความยากจนทเี่ ก่ยี วขอ งกับการบรโิ ภคยาสูบ 14. งานวิจัยเพื่อประเมินชองวางของการมียาที่จำเปนและกำลังความ 3. งานวจิ ัยทีศ่ ึกษาผลกระทบจากนโยบายเพื่อการปองกนั และควบคุมโรค สามารถในการซือ้ ยาสำคัญกบั เทคโนโลยพี ้นื ฐานและการพฒั นายทุ ธศาสตร ไมต ิดตอและประเดน็ ความเหลือ่ มล้ำทางสงั คมและการหามาตรการท่ขี จัด ทเี่ กี่ยวของ ภาวะเหลาน้นั เพ่อื ลดการเกดิ โรค NCDs 15. งานวจิ ัยทหี่ าปจ จัยท่สี ัมพันธก ับการแปลงความรูส ูการปฏิบัติ 4. งานวิจัยดานการพัฒนาชุดมาตรการที่บูรณาการและมีประสิทธิภาพ 16. งานวิจัยเพื่อศึกษาปจจัยสำคัญตอการใชสราง/สนับสนุนการดำเนิน (นโยบาย, สง่ิ แวดลอ ม และระบบสขุ ภาพ) เพอ่ื ลดปจ จยั เสย่ี งของโรคไมต ดิ ตอ งานมาตรการหรือชุดมาตรการ โดยเนน ท่บี รกิ ารปฐมภูมเิ ปน สำคญั ภายใตบรบิ ทวฒั นธรรม สภาวะเศรษฐกจิ และการประเมนิ ประสิทธผิ ลของ 17. งานวิจัยเพื่อหาโอกาสและอุปสรรคในระบบสาธารณสุขเพื่อเพิ่ม มาตรการนนั้ การตรวจหาโรคในระยะเริ่มตน การวินิจฉัย การรักษา การฟนฟู 5. งานวิจัยเชิงนโยบายเพื่อประมาณการผลกระทบจากนโยบายทางภาษี สมรรถภาพ การดูแลผปู วยแบบประคบั ประคอง และพฒั นาความเปนไป และราคา ไดพรอมบูรณาการวิธีการตางๆที่มีความคุมทุนในใหบริการสุขภาพดาน 6. งานวิจัยเพ่อื ศกึ ษาโปรแกรมและนโยบายทีม่ ปี ระสิทธภิ าพเพื่อใชพฒั นา NCDs ทุกระดบั คณุ ภาพมาตราการทเ่ี ก่ียวกบั ความอยูรอดทางเศรษฐกจิ การศึกษาประสทิ ธิ 18. งานวิจยั เพ่อื พัฒนาเครอื่ งมือท่ีมีประสทิ ธภิ าพในการฝกอบรมเจา หนาท่ี ภาพของนโยบายโดยรวมผลกระทบตอความย่งั ยนื และดา นสังคมท่มี คี วาม ดานสาธารณสุขสำหรับงานการปองกันและควบคุมโรคไมติดตอและแนว แตกตา งกัน ทางใหมๆ สำหรับการประเมินและพัฒนาทกั ษะความสามารถ 7. งานวิจยั เพือ่ ศกึ ษามาตรการควบคุมทเี่ หมาะสม เชน ดานกฎหมายและ 19. งานวิจยั เพ่ือพัฒนาการสงตอความรสู ผู ูปว ยการดแู ลผปู วย และการเพิ่ม การควบคมุ ราคา ศักยภาพในการดแู ลตนเองของผูปว ย 8. งานวิจยั เพือ่ ทำความเขาใจปจ จัยทางสง่ิ แวดลอม สงั คม และบคุ คลทเี่ ปน 20. งานวิจยั ทที่ ำใหประชาชนหาซอื้ หรอื จัดหาบรกิ ารการวินิจฉยั และ ตัวกำหนดการมีกจิ กรรมทางกายและพฤตกิ รรมนง่ั ๆนอนๆ ในชว งอายตุ า งๆ รักษาโรคทมี่ รี าคาสูง แตมีประสิทธผิ ลดีภายใตความจำกดั ดานทรพั ยากร 9. งานวจิ ัยเพื่อการดำเนนิ การและประเมินรูปแบบการสง เสริมปอ งกนั โรค และระบบสุขภาพ ในระดับชุมชนโดยเนนที่กลุมประชากรที่เขามาทำงานในเมือง เชน การเปลี่ยนแปลงความชอบอาหาร (Changing food preferences), sweets รูปแบบของการมีกิจกรรมทางกาย (Physical activity patterns), นโยบายดานการคมนาคม (Transportation policies) 15 10. งานวจิ ัยการศึกษาวิธีการขับเคลอื่ นทรพั ยากรในชุมชนและพัฒนากลไก ทท่ี ำใหภ าคประชาสงั คมมีบทบาทในการขับเคลื่อนนโยบายทางสงั คมของ สังคมเมืองเพ่ือแกป ญหาโรคไมติดตอเร้อื รัง 11. งานวจิ ยั เพอื่ ประเมนิ การเปล่ยี นแปลงของสิง่ แวดลอ มเมอื งและเขตชาน เมือง 11.1 การศกึ ษาการปรับสภาพเมอื ง (Studies of urban redevel- opment) 11.2 การตดิ ตงั้ และการปรับระบบการขนสง (Installation and modification of transport systems) 11.3 การเปลีย่ นแปลงกฎหมายระเบยี บขอบงั คับในภาคสวนอ่ืน นอกเหนอื จากภาคสาธารณสุขเพ่ือประเมนิ ผลกระทบจากการมกี จิ กรรม ทางกายและพฤตกิ รรมนั่งกินนอนกิน

งานปอ งกนั เบาหวานไมใชง านของแพทย ไมใ ชงานของกระทรวงสาธารณสุข แตเ ปน งานระดับชาติ ศ.นพ.เทพ หิมะทองคำ ผูอำนวยการโรงพยาบาลเทพธารินทร เปาหมายสูงสดุ ก็คอื ไมมีคนตาบอดจากเบาหวานอีกตอ ไปในป 2020 นพ.กติ ติ ปรมตั ถผล ผอ.แผนงานสนับสนนุ ระบบบริการโรคเรอื้ รัง สำนักงานหลักประกันสขุ ภาพแหง ชาติ สงิ่ สำคญั ในการดูแลผูปวยโรคเรอื้ รังจะตอ งมีทีมสหสาขาวิชาชพี (CHRONIC CARE MODEL TEAM) นพ.สมเกียรติ โพธิสัตย สำนกั ทปี่ รึกษา กรมการแพทย กระทรวงสาธารณสุข ตดิ ตอสอบถามเเละเสนอความคดิ เหน็ ไดท ่ี แผนงานเครอื ขายควบคุมโรคไมติดตอ (NCD network) มูลนธิ ิเพื่อการพฒั นานโยบายสุขภาพระหวา งประเทศ กระทรวงสาธารณสขุ ช้นั 2 อาคารคลงั พัสดุ ซอยสาธารณสุข 6 ถนนติวานนท อำเภอเมอื ง จงั หวดั นนทบรุ ี 11000 โทร 02-5902308,025902370 โทรสาร: 02-590-2370 หรอื e-mail : [email protected] http://www.thaincdnet.com


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook