รายงานโครงงานวทิ ยาศาสตร์ ประเภททดลอง การศึกษากระบวนการผ้ายอ้ มครามโดยใช้ยางกล้วยเปน็ สารชว่ ยตดิ Study of fabric dyeing process of indigo fabrics using banana as natural mordant เดก็ ชาย พรหมพิริยะ แพเจริญ ม.2/1 เลขท1่ี 4 เดก็ หญงิ พชิ ญา เกาะโพธ์ิ ม.2/1 เลขท่ี 30 เด็กหญงิ ภรภทั ร วนั เนาว์ ม.2/1 เลขท่ี32 โรงเรยี นสาธติ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏเทพสตรี สาขาวัดพระพทุ ธบาทรวรมหาวหิ าร
รายงานโครงงานวทิ ยาศาสตร์ ประเภททดลอง การศึกษากระบวนการผา้ ยอ้ มครามโดยใช้ยางกลว้ ยเป็นสารช่วยติด Study of fabric dyeing process of indigo fabrics using banana as natural mordant เด็กชาย พรหมพริ ิยะ แพเจริญ ม.2/1 เลขท่1ี 4 เด็กหญงิ พิชญา เกาะโพธ์ิ ม.2/1 เลขท่ี 30 เด็กหญิง ภรภัทร วนั เนาว์ ม.2/1 เลขท3่ี 2 โรงเรยี นสาธิตมหาวทิ ยาลัยราชภัฏเทพสตรี สาขาวัดพระพุทธบาทรวรมหาวิหาร
สารบญั ก เรื่อง หน้า บทคัดย่อ จ บทท่ี 1 บทนำ 1 -ทม่ี าและความสำคัญ 1 -วัตถปุ ระสงค์ 2 -ขอบเขตการศึกษา 2 -ประโยชนท์ ี่คาดว่าจะได้รับ 2 -นยิ ามศัพท์ 2 -สมมติฐาน 2 -ตัวแปรท่ตี ้องการศึกษา 3 -แผนปฏบิ ัติการ บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 4-5 -สคี ราม 6-8 -ยางกล้วย 9-10 -ผ้าฝ้าย 11-13 -การยอ้ ม 14 -สารช่วยตดิ 15 -งานวิจัยทีเ่ ก่ียวข้อง บทที่ 3 วิธกี ารดำเนนิ งาน 16 -วัสดอุ ปุ กรณ์ 16-17 -วิธดี ำเนนิ งาน 17 - วิธีการวิเคราะห์ขอ้ มลู
บทที่ 4 ผลการดำเนินการ ข -ความคงทนต่อแสง -ความคงทนต่อการซักล้าง 18 19 บทท่ี 5 สรุปและอภิปรายผลการทดลอง -สรปุ ผลการทดลอง 20 -อภปิ รายผลจากการวิเคราะห์ 20 -ขอ้ เสนอแนะ 20 21 บรรณานุกรม 22 ภาคผนวก
สารบัญรปู ภาพ ค รูปภาพ หน้า รูปภาพท่ี 1 สีคราม 5 รปู ภาพท่ี 2 ยางกล้วย 8 รปู ภาพที่ 3 ผ้าฝา้ ย 10 รปู ภาพที่ 4 ภาคผนวก ภาพที่ 1 23 รปู ภาพท่ี 5 ภาคผนวก ภาพท่ี 2 23 รปู ภาพที่ 6 ภาคผนวก ภาพท่ี 3 24 รูปภาพท่ี 7 ภาคผนวก ภาพที่ 4 24 รูปภาพท่ี 8 ภาคผนวก ภาพที่ 5 25 รูปภาพที่ 9 ภาคผนวก ภาพที่ 6 25 รูปภาพท่ี 10 ภาคผนวก ภาพท่ี 7 26 รูปภาพท่ี 11 ภาคผนวก ภาพที่ 8 26
สารบัญตาราง ง ตาราง หน้า ตารางที่ 1 แผนปฏิบัตกิ ารณ์ 3 ตารางท่ี 2 ความคงทนต่อแสง 18 ตารางที่ 3 ความคงทนต่อการซกั ลา้ ง 19
จ บทคัดยอ่ โครงงานวทิ ยาศาสตร์ เรื่อง มีวัตถุประสงคเ์ พื่อศึกษาสารชว่ ยตดิ จากยางกล้วยทีมผี ลตอ่ การ ยดึ ติดสีครามกบั ผ้าฝ้ายและเพื่อศกึ ษากระบวนการย้อมครามตามภมู ิปัญญาท้องถนิ่ โดยใช้ยางกล้วย นา้ ว้าดบิ เปน็ สารช่วยติดย้อมกอ่ น ย้อมหลัง หลังจากน้นั นำผ้าไปทดสอบดว้ ยสารฟอกขาว ผงซักฟอก และตากแดด แล้วนำไปทดสอบคณุ ภาพสโี ดยการแถบสี ผลการตรวจสอบคณุ ภาพสยี อ้ มครามด้วยการนำยางกล้วยในปริมาณ 5,10,15 ml มาผสม กบั สคี ราม 50 ml มีคา่ สีตามลำดับคือปริมาณยางกล้วย 15 ml มคี วามคงทนมากท่สี ุดแสดงวา่ ผา้ ท่ี ยอ้ มสีครามย้อมดว้ ยยางกล้วยจะมีการยึดตดิ ของสคี รามมากทส่ี ดุ รองลงมาคือปริมาณยางกล้วย10 ml และปรมิ าณยางกลว้ ย 5 ml และไม่ใสย่ างกล้วยตสมลำดบั ผลจากการทดลองพบว่า การใช้ยางกลว้ ย โดยใช้ในปริมาณ 15 ml ในการยดื ติดของสี สามารถรักษาคงทนของผ้าไดด้ ีที่สดุ รองลงมาคือ 5,10 และไม่ใสยางกล้วยตามลำดับ
1 บทท1ี่ บทนำ 1.1 ทม่ี าและความสำคญั เครื่องนุ่งห่มเป็นหนึ่งในปัจจัยสี่ของมนุษย์ มนุษย์ใช้ภูมิปัญญาในการนำพืชหรือสัตว์มาประดิษฐ์เป็น เครื่องนุ่งห่ม จาก การผลิตด้วยมือจนถึงการผลิตด้วยเครื่องจักร ในอดีตชาวชนบทจะผลิตเครื่องนุ่งห่มจากวัสดุ ธรรมชาติ สร้างสรรค์ดว้ ยสธี รรมชาติ (ชัยวัฒน์ ,2555) สีย้อมผ้าธรรมชาติไดร้ ับความนิยมในอุตสาหกรรมส่ิงทอ อย่างตอ่ เนอื่ งมาเป็นเวลานานโดยเฉพาะในอุตสาหกรรมขนาดเล็กและสนิ ค้าผลติ ภัณฑส์ ่งิ ทอพน้ื ถิ่น เนือ่ งจากความ ต้องการใช้วัสดุธรรมชาติที่เพิ่มขึ้นและปัญหาสิ่งแวดล้อมที่ทกุ ประเทศกำลังเผชิญ ส่งผลให้ภาคอุตสาหกรรมกำลัง พยายามผลิตผลิตภัณฑ์ที่มีความเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม วัสดุย้อมสีธรรมชาติจึงเป็นหนึ่งในผลิตภัณฑ์ที่มีจุดขาย เน้นหนักไปที่การใช้สารให้สีจากวัสดุธรรมชาติซึ่งกระบวนการการผลิตให้ความเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และตัว+ ผลิตภัณฑ์เองยังไม่ส่งผลต่อการเกิดภูมิแพ้ของผู้สวมใส่ แต่ถึงแม้สีย้อมผ้าธรรมชาตจิ ะได้รับความนิยมเพิ่มขึ้นมาก เพียงใด แต่ก็ยังมีจุดด้อยที่ต้องการพัฒนาหรือแก้ปัญหาการใช้สีย้อมธรรมชาติปัญหาที่พบส่วนใหญ่จากการใช้สี ยอ้ มผา้ ได้ ข้อจำกัดในเรื่องของปริมาณสารในสีในวัตถุดิบจากธรรมชาติซึ่งมีน้อย ทำให้ย้อมสีได้ไม่เข้มหรือถ้า ตอ้ งการสที ่ีมคี วามเข้มมากจำเป็นตอ้ งใช้วัตถุดบิ ธรรมชาตจิ ำนวนมากขึน้ อกี ทง้ั ยังไมส่ ามารถผลติ ไดค้ ราวละมาก ๆ และไมส่ ามารถผลิตสีได้คงทต่ี ามท่ตี ลาดต้องการ และวัตถุดิบตามธรรมชาตบิ างทีจะเปน็ บางฤดูเท่านน้ั การควบคุมคุณภาพการย้อมทำได้ยาก เพราะฉะนั้นการยอมให้แต่ละครั้งใหไ้ ด้ความเข้มสีเหมือนเดิมทุก คร้งั จึงเปน็ เรื่องยาก เพราะไมส่ ามารถควบคมุ คณุ ภาพของวัตถดุ ิบทใ่ี หส้ ีได้ ความคงทนของสีธรรมชาติโดยสว่ นใหญ่มักไมส่ งู นกั สามารถซดี จางได้ทงั้ จากการซักหรือโดนแสงแดด ซ่ึง เป็นผลมาจากสมบตั ขิ องตัวสีเอง การปรบั ปรุงหรอื แกไ้ ขจึงเปน็ ไปไดย้ าก (ไพรตั น์ และคณะ,2561) จากปัญหาดังกล่าวผู้จัดทำสนใจที่จะนำยางกล้วยมาประยุกต์ใช้ในกระบวนการผ้าย้อมครามเพื่อสืบสาน ภูมิปญั ญาทอ้ งถ่ินเกี่ยวกับการย้อมผา้ ให้มีการพฒั นา และคดิ ว่ายางกล้วยเปน็ สารชว่ ยติดในกระบวนการผ้าย้อมผ้า เพื่อพัฒนากระบวนการย้อมผ้าให้สีคงทนต่อการซักล้าง และเพื่อประหยัดเวลาในการย้อมแต่ยังคงผ้าครามท่ี สวยงามและผลิตได้ทันความ ต้องการ 1.2 จดุ ประสงค์ 2.1 เพอื่ ศึกษาการย้อมครามโดยใชย้ างกล้วยเป็นสารชว่ ยติด 2.2 เพือ่ ศึกษาความคงทนของสีต่อแสง และการซักลา้ ง
2 1.3 ขอบเขตการศกึ ษา การศึกษากระบวนการผ้าย้อมครามโดยใช้ยางกล้วยเป็นสารช่วยติด เป็นการศึกษาในเชิงอนุรักษ์และ พัฒนางานยอ้ มคราม เพอื่ การใชส้ อยไปสู่การผลิตเพ่ือการจำหน่าย โดยอาศยั ภูมปิ ัญญาดง้ั เดมิ ของชาวบา้ น ซ่ึงมีข้อ ท่คี ำนึง ถงึ ประเดน็ สำคญั ได้แก่ คณุ สมบัตขิ องยางกลว้ ยนท่ชี ว่ ยในการยึดติดของสีคราม การลดเวลาของการย้อม ชว่ ยลดตน้ทนุ และเพ่มิ ความคงทนของสี แนวทางการพัฒนาผา้ ทอมอื จากสธีรรมชาติ 1.4 ประโยชน์ท่ีคาดวา่ จะได้รับ 1. ได้ทราบถึงคณสุ มบัติของยางกลว้ ยทช่ี ว่ ยในการยดึ ตดิ ของสีผา้ 2. ไดผ้ ้ายอ้ มทคี่ วามคงทนตอ่ แสงและตอ่ การซักลา้ ง 1.5 นิยามศัพท์ ยางกล้วย หมายถงึ ของเหลวทไี่ หลออกมาจากต้นกล้วยเมอื่ เราตัดก้านกลว้ ยปลกี ลว้ ยหนอ่ กล้วย การยอ้ ม หมายถึง การนำสีที่สกดั ไดจ้ ากคราม นำมายอ้ มผา้ โดยใชย้ างกล้วยที่อัตราความเขม้ ข้นต่าง ๆ ความคงทนของสีต่อการซัก หมายถงึ สีของผา้ ไม่ซดี จาง หลังจากการนำไปตากแดดในเวลาตา่ ง ๆ สารช่วยติด หมายถึง สารที่ชว่ ยให้สีติดกับผ้าดขี ึน้ และเปลี่ยนเฉดสธี รรมชาติให้เปลี่ยนแปลงไปจากสีเดิม การศึกษาคร้งั นใ้ี ช้ยางกลว้ ยท่เี ก็บจาก ตำบล สรา่ งโศก อำเภอ บา้ นหมอ จงั หวัด สระบุรี 1.6 สมมติฐาน ถ้านำยางกล้วยมาเปน็ สารช่วยติดในการย้อมครามจะสามารถทำให้ครามติดบนผา้ ได้ดีกวา่ ย้อมคราม 1.7ตวั แปร ตัวแปรตน้ ยางกล้วย ตวั แปรตาม ผลของสคี ราม ตัวแปรควบคมุ 1.7.1 ขนาดผ้า 1.7.2 ปรมิ าตรยางกลว้ ย 1.7.3 ปรมิ าตรสีคราม 1.7.4 ระยะเวลาการยอ้ ม
3 1.8 แผนปฏิบัติการ เดอื น ลำดบั รายการ ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. 1 นำเสนอหวั ขอ้ 2 บทท1่ี 3 บทท2ี่ 4 บทท3ี่ 5 บทท่4ี 6 บทที่5 7 นำเสนอโครงงาน
4 บทที่ 2 วรรณกรรมและงานวจิ ัยทเี่ กีย่ วของ 2.1 ทฤษฎแี ละงานวิจัยท่เี กีย่ วของ 2.1.1 สีคราม หมายถึง สีน้ำเงิน เป็นสีแห่งเกียรติ์ หนักแน่น สุขุมเย็น เหมาะกับทุกเพศ ทุกวัย สีน้ำเงิน ของผ้าย้อมครามมาจาก ภมู ปิ ญั ญาชาวชนบท ทเ่ี ขา้ ใจและเป็นมิตรกับธรรมชาติ คณุ คา่ ของผ้าจึงผสมผสานศาสตร์ ของธรรมชาตแิ ละศิลป์ ของวิถีชีวติ อสิ ระ กลา่ วคอื ผ้าย้อมคราม นงุ่ หนา้ ร้อน ซบั เหงื่อ ลดกล่ินตัวนงุ่ หน้าหนาวอุ่น จากคุณสมบัติของฝา้ ย สีสวย ไม่ ตกติดผา้ อ่ืนบม่ ผิว จากคุณสมบัตขิ องสคี ราม อบอุ่นและภาคภมู ใิ จดว้ ยสายใยจาก มือแม่ เคยเห็นแม่พรอ้ มกับผ้า จึง เหน็ ผา้ พร้อมกบั แม่ ผู้ไท มหี นาแนน่ ในจงั หวัดสกลนคร กาฬสนิ ธ์ุ มกุ ดาหาร และนครพนม โดยประวตั ิผู้ไท ระบวุ า่ บรรพบุรุษ เคยอยู่ท่เี มืองแถงในสิบสองจุไท ก่อนจะอพยพเข้าตอนเหนือของสปป.ลาว และอพยพเร่ือยลงมาทางใต้ จนข้ามโขง มาฝั่งสยาม บริเวณจังหวัดนครพนมและมุกดาหาร ในสมัยรัชกาลที่ 3 แห่งกรุงรัตนโกสินธุ์ โดยผู้ไทส่วนใหญ่ใน ประเทศไทยอพยพตามผู้นำ มาจากเมอื งวงั -อ่างคำ ใน สปป.ลาวผ้าย้อมคราม เปน็ ภมู ปิ ญั ญาของเผ่าไทท้ังหมด แต่ เหลืออยู่น้อยมากในชนบท และฟื้นขึ้นมาได้อย่างโดดเด่นจากฝีมือของหญิงผู้ไทอำเภอพรรณนานิคม จังหวัด สกลนคร และหญงิ ผไู้ ทบ้านละหาน้ํา แขวงสะหวันนะเขตจึงเป็นทีม่ าของการตามรอยผ้ไู ท ไปศกึ ษาผา้ ย้อมคราม การย้อมสีครามโดยทั่วไป ไม่ใช้มอแดนต์ แต่ใช้คุณสมบัติการละลายนํ้าของสีครามในน้ําย้อมแทรกเข้าไป ในโพรงของใยฝ้าย หลังสัมผสั อากาศสีครามถูกออกซิไดสเ์ ปลี่ยนคุณสมบัติไม่ละลายน้ํา จงึ ถูกขงั ในโพรงเส้นใย แต่ การเตรียมสีครามให้ละลายนํ้าได้นั้น เป็นภาวะที่ควบคุมยาก งานวิจัยนี้หาทางเลือกในการเพิ่มประสิทธิภาพการ ตดิ สีครามของใยฝ้าย โดยใช้มอแดนตจ์ ากธรรมชาติ วิธกี าร • เตรียมนาํ้ ย้อมครามด้วยวธิ ีZinc-lime vat • ย้อมเส้นฝ้ายในน้าํ ย้อมโดยใชด้ ินลูกรังและดนิ โคลนเป็นมอแดนตก์ ่อนและหลังย้อม • วเิ คราะห์ชนิดของโลหะไอออนในดนิ ตัวอย่าง ดว้ ยเครอ่ื ง X-ray Fluorescence Spectroscopy • เตรยี มสารละลายเกลอื ของโลหะให้อยู่ในรปู โลหะออกไซด์ (จากโลหะไอออนทพี่ บในตัวอยา่ ง) • ใช้สารละลายโลหะออกไซด์ทเี่ ตรียมข้นึ เป็นมอแดนตก์ ่อนและหลงั ยอ้ มคราม • วดั ปรมิ าณสคี รามในน้ําย้อมหลังย้อม และนํ้าลา้ งฝ้าย หลงั ย้อม ดว้ ยเครอ่ื ง UV-VIS Spectrophotometer • วเิ คราะหป์ รมิ าณโลหะบนเสน้ ฝา้ ยหลังยอ้ มดว้ ยเครอื่ ง AASและ ICP-MS • ถา่ ยภาพพื้นผิวเส้นใย ด้วยเครอ่ื ง SEM
5 • วัดความเขม้ ของสเี สน้ ฝา้ ยย้อมครามและทดสอบ ความทนของสีต่อ แสง และตอ่ การซกั ล้าง ผลการศกึ ษา • เส้นใยฝ้ายที่ย้อมโดยดินลูกรังเป็นมอแดนต์ก่อนย้อม ให้สีเข้มกว่าย้อมด้วยดินโคลน และเข้มกว่าฝ้ายที่ ไม่มีมอ แดนต์ สีบนเส้นฝ้ายทนตอ่ แสงและการซกั ลา้ งระดบั ปานกลางถึงดี • พบ Fe3+, Al3+ , Na+ และ Mg2+ ร้อยละ 28.4, 8.92, 1.67 และ 1.21 ในดินลกู รัง และ Al3+, Fe3+, และ Mg2+ ร้อยละ 6.76 ,4.13 และ 1.47 ในดินโคลน Al3+ เป็นมอแดนต์ก่อนย้อม ดีที่สุด มีค่าร้อยละการ ดูดซับ สี61.60 ค่าร้อยละการผนกึ ส5ี 2.03 ส่วน Mg2+ , Na+ และ Fe3+ มีค่าร้อยละการดูดซับสีและคา่ ร้อย ละการผนึกสี33.45,13.88 29.54,18.78 และ 19.98,5.86 ตามลำดับ สีบนเส้นฝ้ายทนต่อแสงและการซัก ล้างระดับปานกลางถึงดี ขณะที่ ฝ้ายที่ย้อมแบบ ไม่มีมอแดนต์ มีค่าร้อยละการดูดซับสีและค่าร้อยละการผนึกสี 18.78,7.42 • ปรมิ าณของโลหะทีเ่ กาะตดิ เสน้ ฝ้ายมีเพียงร้อยละ 0.07-0.80 ของนาํ้ หนักฝ้าย (มหาวทิ ยาลัยราชภัฏสกลนคร,2556) รปู ท่ี 1 สคี ราม
6 2.1.2 ยางกล้วย หมายถงึ พชื เขตรอ้ นพืชหน่ึงของไทยท่ีมปี ระโยชน์มากมาย ถน่ิ กำเนดิ อยู่ในเอเซยี ตะวนั ออก เฉียงใต้ มี อยู่ ดว้ ยกันหลายชนิด ท่รี จู้ กั กันดแี ละปลูกแพร่หลายในเขตน้คี ือ กลว้ ยน้ำวา้ กลว้ ยหอม (กล้วยหอมทอง หอมเขียว หอมค่อม) และกล้วยไข่ ซึ่งโดยเฉพาะกล้วยหอมไดร้ ับความนยิ ม จากในและต่างประเทศมาก กล้วยใช้ประโยชน์ ได้เกือบทุกส่วน เช่น รับประทานสุกและแปรรูป สำหรับแปรรูป สามารถทำของหวาน กลั่นเป็นสุรา เครื่องดื่ม ทำ นำ้ ส้มสายชู ใบแห้งใช้ทำมวนบหุ ร่ี ปลีใชเ้ ป็นอาหารเปน็ ตน้ กล้วยมถี น่ิ กำเนิดอยู่ทางเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ กลว้ ยในปจั จุบนั กลายพนั ธุ์ มาจากกลว้ ยป่า ที่มีรสหวาน และได้สบื พันธ์หุ น่อกล้วย กนั ออกไป ต่อมาไดม้ กี ารคัดเลือกพันธุ์กลว้ ยที่ดีขน้ึ เรื่อย ๆ จึงเกดิ การผสมพันธุ์กล้วยขึ้น ในปัจจุบัน ทำให้กล้วยที่ปลูกเป็นการค้า ในปัจจุบันนี้ไม่มีเมล็ดปัจจุบันกล้วยมีการเพาะปลูกอยู่ทั่วไปในแถบเส้น ศูนย์สูตรข้ึนไปทางเหนือ และลงมาทางใต้ ในประเทศ ที่มีภูมิอากาศเหมาะสมแกก่ ารปลกู กล้วย มีทั้งประเทศใน ทวีปแอฟริกา เอเชีย และหมู่เกาะใน มหาสมุทรแปซิฟิก ถึงแม้ว่า ประเทศ ไทยไม่ปรากฏหลักฐานแน่ชัดว่า พบ เห็นหรือนำพันธกุ์ ลว้ ยพนั ธุ์ใดเขา้ มาครั้ง แรก แต่มีผู้กล่าวว่ากล้วยมากกวา่ 13 สายพนั ธุ์มถี น่ิ กำเนดิ ในประเทศไทย นั่นเองกล้วยที่นิยมปลูกกันใน ประเทศไทย กล้วยที่พบในประเทศไทยมีอยู่หลายพันธุ์ด้วยกัน แต่ที่รู้จักกันดีและ นิยมปลูกกันแพร่หลายมีอยู่ไม่กี่ พันธุ์ ได้แก่ กล้วยหอมทอง เป็นกล้วยพันธุ์ หนึ่งที่ส่งเสริมให้เกษตรกรปลูกกันใน ปัจจุบัน และได้รับความนิยม จาก ผู้บริโภคทั้งในและ ต่างประเทศมาก มีลักษณะ ลำต้นใหญ่ แข็งแรง กาบใบ ชั้นใน มีสีเขียวหรือสีชมพูอ่อน เครือได้ รูปทรงมาตรฐานดี มีน้ำหนักมาก ผลยาวเรียว ปลายผลคอดแบบคอขวด เปลือกหนา เมื่อผลสุกผิวจะเปลี่ยนเป็นสี เหลืองมีรสชาติอมหวาน กล้วยหอมทอง เครือหนึ่ง ๆ เฉลี่ย แล้วมี ประมาณ 13 หวี แต่กล้วยพันธน์ุ ี้มขี อ้ เสยี คือ ไม่ ทนทานตอ่ โรคตายพราย และโรคใบจุด ประโยชน์จากส่วนต่างๆ ของกล้วยจะผิดไหมนะ ถ้าพูดว่า \"คนไทยทุกคนรู้จักกล้วย\" หรือ \"คนไทยทุกคนเคยกินกล้วย\"คิดว่าคงไม่ผิด นัก อย่าง มากก็ถูกไม่หมดกล้วยที่พูดถึงอยู่นี้ หมายถึง พืชชนิดหนึ่ง จำพวกต้นเป็นกาบหุ้มแก่น ซึ่งเรียกว่า หยวกใบ แบนยาว ดอกเป็น ปลี รูปยาวเป็นวง เป็นพืชที่เราได้รับประโยชน์จากแทบทุกส่วนของมัน ไม่ว่าจะเป็น ต้น กาบ ก้าน ใบ ปลี ผล และ แมก้ ระทง่ั ยางกลว้ ย จะเว้นอยู่ก็แต่ ราก และเหง้าเท่าน้ัน คน นอกจากกินทุกส่วนของกล้วยเป็นอาหารเช่นเดียวกับช้างแล้ว คนยังนำส่วนต่าง ๆ ของกล้วย มาใช้ ประโยชนต์ า่ ง ๆ อกี มากมาย ตน้ กลว้ ย หรือหยวกกล้วยหรือกาบกล้วย ใช้ประกอบอาหารไดห้ ลายอยา่ ง เช่น แกงกะทิ แกงเลียง แกง ปา่ ผัดเผด็ หอ่ หมก เป็นต้น ก้านกลว้ ย เมื่อปลอกเปลอื กนอกท่ีแขง็ และเหนียวออกแล้ว จะได้ไส้ในทีอ่ ่อนนุ่มเปน็ รูพรุนดัง่ ฟองนำ้ มีรส หวานนิด ๆ นำไปห่นั ละเอยี ดใส่เป็นสว่ นผสมของอาหารจำพวก ลาบ ลู่ ต่าง ๆ เพื่อเพม่ิ ปรมิ าณ และรสชาติ ได้เปน็ อยา่ งดี
7 ใบกล้วย หมายถึง ใบอ่อน ส่วนที่ฝังอยู่ใจกลางลำต้นกินสด ๆ หรืออาจจะลวกให้นิ่ม จิ้มน้ำพริกกิน กับข้าว อร่อยดนี กั ปลีกลว้ ยหลายท้องถ่นิ นำมาจ้ิมน้ำพริกกนิ กบั ข้าว ทั้งในรปู ผกั สด และผกั ต้มบางถิ่นนำมาหั่น ให้ ฝอย เป็น ผักเคียงกินกับขนมจีน หรือหมี่กะทิ ในขณะที่หลายท้องถิ่นนำไปประกอบอาหาร ประเภทยำ และ ประเภทต่าง ๆ ผลกล้วยดิบ เรานำกล้วยดิบไปประกอบอาหาร ทั้งอาหารคาว และหวาน อาหารคาว เช่น กล้วยลูกอ่อน ต้ม เป็นผักจิ้มน้ำพริก หรือหั่นเป็นแว่นบาง ๆ ดองเป็นผักจิ้ม ทำส้มตำกล้วย ทำแกงเผ็ด เครื่องเคียงแหนมเนือง เป็น ต้น อาหารหวาน เช่น กล้วยลูกโตพอสมควรนำมาต้มแล้วปลอกเปลือก หั่นเป็นชิ้นโรยมะพร้าวขูด และ น้ำตาล หรือนำมาฝานบาง ๆ ทำเป็นกล้วยฉาบ เป็นต้น แต่ถ้าเป็นกล้วยที่ห่ามแล้วก็นำไปทำกล้วยปิ้ง กล้วยเผา กล้วยทบั ฯลฯ ผลกล้วยสุก นอกจากเรากินกล้วยสุกในฐานะผลไม้อย่างดีชนิดหนึ่งแล้วเรายังนำกล้วยสุก ไปประกอบ หรือ ทำเป็นอาหารหวานชนิดต่าง ๆ ได้สารพัด เช่น กล้วยบวชชี กล้วยเชื่อม กล้วยแขก ข้าวเม่าทอด ข้าวต้มผัด กลว้ ย กวน ขนมกล้วย เปน็ ต้น นอกจากน้ีอาจทำเป็นกลว้ ยคนื รูปโดยนำกล้วยสุก ไปลวกน้ำร้อน แล้วนำไปตากให้ แห้ง เก็บไว้นาน ๆ เมื่อต้องการใช้ก็นำมาลวกน้ำร้อนอีกครั้งจะคืนสภาพ เหมือนกล้วยสุก ทั่วไป นำไปประกอบ อาหาร ได้ตามวัตถปุ ระสงค์ ๑. รากและลำต้นแท้ สามารถนำมาทำสมุนไพร ใช้รักษาโรค ตามแผนโบราณ หรือใช้รักษาผิวหนังที่ แดงปวด เนื่องจากถูกแดด เผา โดยรากและลำต้นจะมีสารแทนนิน ซึ่งช่วยในเร่ืองของแผลไฟไหม้ น้ำร้อนลวก ส่วนรากของกล้วยตบี เมอื่ นำมาตม้ จะช่วยแกร้ อ้ นในกระหายนำ้ ได้เปน็ อย่างดี ๒. ลำต้นเทียม หรือกาบลำต้น ใช้ทำเส้นใยหรือทำเชือกทอผ้า ทำอาหารสัตว์ เช่น อาหารของสุกร และยังเป็นอาหารของคนอีกด้วย เช่น แกง หยวกกล้วย กาบกล้วยก็ใช้เป็นสมุนไพรได้เช่นกัน ส่วนน้ำคั้นจากลำ ต้นก็ยงั สามารถนำมา ทากันผมรว่ งหรือเร่ง ทำใหผ้ มขน้ึ ไดอ้ กี ดว้ ย ๓. ใบ คนโบราณมกั ใชใ้ บตองเป็นภาชนะแทนจานข้าว และยงั นำมาใช้ห่อของ ทำมวนบุหร่หี รือทำงาน ประดิษฐ์ เช่น กระทง บายศรี ใบกล้วยที่นิยมมากคือ ใบกล้วยตานี เพราะมีใบที่ใหญ่ เหนียว และเขียวเป็นเงา เมื่อนำไป ทำงานประดิษฐ์จะสวยงามและไม่แตกง่าย แผ่นใบกล้วย ที่อ่อนหากนำไปอังไฟให้อ่อนนิ่ม แล้วนำมา พอกบริเวณท่ี ขดั ยอก กจ็ ะทำให้อาการดงั กล่าวหายได้ 4. ดอกหรือหัวปลี เป็นดอกตัวผู้ เรานิยมรับประทานหัวปลีแทนผกั โดยรับประทานสดๆ หรือนำมาทำ เป็นเครื่องเคียงของอาหาร หลายอย่าง เช่น ผัดไทย กะปิหลน และยังนำมาปรงุ อาหาร เช่น ยำหัวปลี แกงเลียง ท่ี เรานยิ มรบั ประทานกัน หรือ ใชบ้ ำรงุ นำ้ นมมารดา ตม้ หรอื คัน้ แก้เบาหวาน เมอ่ื นำมาตากแหง้ กส็ ามารถใช้รักษา โรคโลหติ จางได้ เพราะมีธาตุ เหล็กมาก 5. ผล ใช้รับประทานได้ทัง้ อ่อน แก่ และสุก ถ้าผลดิบยงั อ่อนอยู่ สามารถใช้ปรงุ อาหารในแกงป่า ส้มตำ ส่วนผลดิบ ทแ่ี ก่ แล้วสามารถนำมาเช่อื ม หรือทำกล้วยฉาบ ส่วนกล้วยสกุ สามารถนำมารบั ประทานสดได้
8 การรับประทานกลว้ ยสุกนั้นมีผลดคี ือจะทำให้ท้องไมผ่ ูก เพราะในกล้วยสุกจะมีสารเพ็คติน สารเพ็คตินนี้ จะช่วยเพิ่มกากอาหารในลำไส้กากอาหารเมื่อเพิ่มมาถึงระดับหนึ่ง จะไปดันผนังลำไส้แล้วบีบรัดตัวไล่กากอาหาร ออก ทำใหถ้ ่ายออกได้ กล้วยบางชนดิ เมอื่ เร่ิมสุกจะมีรสผาดเพราะมีสารแทนนิน ซง่ึ จะทำใหท้ ้องผูก ดังนั้นกล้วยเริ่มสุกหรือกล้วยที่ไม่งอมจะช่วยรักษาโรคท้องเสียเมื่อสุกมากจึงจะมีสารเพ็คตินมากขึ้น จึง ควรเลือก กล้วยสุกงอมเป็นยาระบาย เมื่อรับประทานก็ควรเคี้ยวให้ละเอียด เพราะถ้าเคี้ยวไม่ละเอี ยด น้ำย่อย ภายใน กระเพาะจะไม่เพยี งพอทจ่ี ะย่อยกลว้ ยได้เร็ว กลว้ ยจึงอืดในกระเพาะ การเคย้ี วกล้วยให้ละเอียดจะช่วยการ ทำงานของกระเพาะและทำให้ท้องไม่อืด (พัชรียาและ คณะผู้จัดทำ,2554) รปู ท่ี 2 ยางกล้วย
9 2.1.3 ผา้ ฝ้าย ประวตั คิ วามเปน็ มาของผา้ ทอมอื ผา้ ทอมือถือเป็นงานฝมี ือพน้ื บ้านท่ีมีการผลติ กันสืบเน่ืองมา ยาวนาน มีหลักฐานในยุคบ้านเชียง ค้นพบเครื่องมือต่าง ๆ ในการทอผ้า และมีกระบวนการทอสืบมาจนปัจจุบัน เป็นวัฒนธรรมการทอผา้ ในวถิ ีชีวิตประจำวันเพื่อใช้ทำเครื่องนุ่งห่มและใชใ้ นงานสำคัญ ในพิธีกรรมต่างๆ ผ้าทอมือ มีการทออยู่ทั่วทุกภาคและมีอยู่ทั่วโลก มีความแตกต่างตามวิถีวัฒนธรรมของท้องถิ่นนั้นๆ ทั้งกระบวนการทอ เทคนิคการทอ การออกแบบลวดลายผ้า การออกแบบสีสัน วัตถุดิบ เครื่องมือเครื่องใช้ในการทอผ้า การใช้ผ้าทำ เคร่ืองแตง่ กาย รปู แบบผ้าทอมีความแตกตา่ งและมคี วามเหมือน ในผืนผ้าทอมือจะพบอัตลกั ษณข์ องผา้ ทอจะแสดง ความเป็นตวั ตนและทม่ี าของผืนผา้ ตัวผ้าจะเลา่ เรื่องของทมี่ าของผนื ผา้ ได้เป็นอยา่ งดี ผ้าทอแต่ละประเทศมีเสน่ห์แตกต่างกันตามบริบทและความเหมาะสมของสิ่งแวดล้อมและประเพณี วัฒนธรรมนั้นๆ เช่น ผ้าในประเทศอินเดีย ที่มีชื่อเสียงคือ ผ้าเยียรบับ ผ้ามัสกาติ อาจารย์ประภัสสร โพธิ์ศรีทอง นักวิชาการอิสระ ผู้เชี่ยวชาญด้านผ้าอินเดียในประเทศไทย กล่าวถึงประวัติศาสตร์ผ้าอินเดียที่มีความเป็นมา ยาวนาน ผ้าอินเดียผืนที่เก่าแก่ที่สุดในโลก พบหลักฐานในประเทศอียิปต์ สันนิษฐานว่าเป็นผ้าในศตวรรษที่ 13– 14 แต่ยังคงสภาพค่อนข้างดี ซึ่งกระบวนการพิมพ์ลายผ้าของอินเดียมีความพิเศษ คือ สีที่พิมพ์ลงบนผ้าจะติด ทนทาน สีไม่ตก เพราะมีเทคโนโลยีในการใช้สารยึดสีที่เป็นภูมิปัญญาของชาวบ้านมาแต่โบราณ และมีการพัฒนา มาจนถึงปัจจุบัน ในอดีตกาลผ้าอินเดียที่ประณีตงดงาม ได้เข้ามาเผยแพร่ในรูปแบบของฉลองพระองค์สำหรับ กษตั ริย์และเครอื่ งแต่งกายของขนุ นางในราชสำนกั อยุธยา สบื ทอดเป็นธรรมเนียมการแตง่ กายของพระมหากษัตริย์ และขนุ นางไทยต่อเนื่องมาถึงยุครัตนโกสนิ ทร์ เป็นสาเหตุหนง่ึ ท่ีทำให้ความต้องการสินค้าผ้าจากอินเดียยังสืบเน่ือง ตอ่ มา โดยปรากฏใหเ้ หน็ หลักฐานจากผ้าราชสำนักในปจั จบุ ัน อา้ งองิ จากการเรยี บเรียงโดย : saipiroon ผ้าไหมจีน พระมเหสีเหลยจู่ คิดค้นวิธีการเลี้ยงไหมและสาวไหม พระนางทรงเป็นแม่ของแผ่นดินและทรง ร่วมมือกับจักรพรรดิหวงตีจ้ ัดสรรราษฎรทง้ั หนุ่มสาว ผ้เู ฒ่าและเดก็ ให้ดำเนนิ ตามประเพณี “ชายทำนา หญิงทผ้า” ซึ่งนับเป็นการสร้างรากฐานสำคัญของอารยธรรมชนชาติจีน หญิงสาวในสมัยโบราณจึงมีหน้าที่หลักในการปลูก หม่อนเลี้ยงไหมซึ่งเป็นการปลูกฝังให้หญิงสาวมีความอดทนต่อความยากลำบากและอ่อนโยนสงบเสงี่ยม ประเทศ จีน ได้ยกย่องให้ผ้าไหมทอดิ้นเมฆาของหนานจิง ผ้าไหมทอดิ้นแห่งแคว้นสู่ของเฉิงตู ผ้าไหมทอดิ้นแห่งราชวงศ์ซ่ง ของซูโจวและผ้าไหมทอดิน้ ของชาวจว้ งในกว่างซีเป็นผ้าไหมทอดิ้นท่ีมชี ่ือเสยี งทีส่ ดุ โดยเรียกรวมกันว่าเป็น “4 ผ้า ไหมทอดิน้ เงนิ ดนิ้ ทองเลอ่ื งช่อื ของจีน” การส่งเสริมผา้ พนื้ เมืองในอดีตและปจั จบุ นั สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯเล่มที่ 21 ไดม้ กี ารกล่าวถึง การสง่ เสรมิ ผา้ พ้นื เมืองในอดีตและปจั จุบนั วา่ ในประเทศไทยมีประวัติการทอผา้ ใชก้ ันในหมบู่ า้ นและในเมอื ง โดยท่วั ไปมาตั้งแตโ่ บราณกาลแต่การทอผ้าด้วยมือตามแบบดงั้ เดิมน้ันก็เกอื บจะสญู หายไปโดยส้นิ เชิง หากไม่ได้มี การอนุรักษ์ฟืน้ ฟู และพฒั นาไดท้ นั กาล ด้วยนโยบายโครงการพฒั นาสนิ คา้ OTOP ท้งั น้ี เพราะประเทศไทยเปน็ ประเทศเปิด มกี ารค้าขายกบั ตา่ งประเทศมาเป็นเวลานาน สามารถซื้อผ้านอกที่สวยงาม หลังจากท่ีมีการทำ สนธิสัญญาเบาวร์ ่งิ กับองั กฤษในปี 2398 ไทยก็สงั่ สนิ คา้ ผ้าจากต่างประเทศมาใช้มากขึน้ เร่ือย ๆ กระทง่ั ในสมยั
10 รัชกาลที่ 5 ไดม้ กี ารสำรวจพบว่า ไทยสงั่ ผา้ จากต่างประเทศเขา้ มาเปน็ จำนวนมากขนึ้ ทุกปี ทำใหส้ ้ินเปลอื งเงนิ ตรา ปีละมากๆ พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกล้าเจา้ อยู่หวั จึงได้โปรดเกล้าฯ ใหร้ ิเรมิ่ ฟ้ืนฟสู ่งเสรมิ การเล้ยี งไหมและทอ ผา้ ไทยกนั อย่างจรงิ จงั ในปี 2452 โปรดฯ ใหส้ ถาปนากรมชา่ งไหมขนึ้ และโปรดฯ ใหต้ ัง้ โรงเรยี นช่างไหมท่ีวังสระ ปทุม อ้างอิงจากการเรยี บเรียงโดยพริบพนั ดาว...จติ วิญญาณ ภูมิปญั ญาผา้ ทอพืน้ เมอื ง ยกระดับสู่สากล วันที่ 21 พ.ย.2559 เวลา 11:38 น. | เปิดอา่ น 5,930: https://www.posttoday.com/life/life/466371 เอกลักษณ์ของผา้ ทอมือแต่ละท้องถิน่ ด้วยลวดลาย รปู แบบ สสี ัน โครงสรา้ งผ้าทอ ท่แี ตกตา่ ง ทำให้เกิด ตวั ตนที่มาของผา้ ทอ มีความแตกตา่ ง ทีช่ ดั เจน เช่น ผ้าเกาะยอ ผ้าสรุ ินทร์ ผ้าอบุ ล ผ้ากาฬสนิ ธ์ุ ผ้าโคราชผา้ จงั หวัด อุบลราชธานี ผ้ากาบบวั ผ้าทีเ่ ปน็ เทคนิคของอุบลฯ คอื ลายรว้ิ และลายขดิ พอปีนี้เป็นการสร้างลายผ้าที่เป็นสัญลักษณ์ของจังหวัด คอื “กลีบบวั ” โดยถอดรหสั จากธรรมชาตขิ องกลีบบวั ให้ออกมาเป็นลายผา้ โดยบูรณาการกบั ฝ่ายวิชาการส่ิงทอ อีสานพัฒนาออกมาหลายเฉดสคี ือตัวรวิ้ ทีเ่ ปน็ ทางยาวที่เหน็ จากผนื ผ้าซ่ึงสวมใส่แลว้ ทำให้คนดสู ง่าขึน้ และผ้าอบุ ลฯ มีลักษณะพเิ ศษคือมี “หัวซน่ิ ” ปกตซิ ่ินจงั หวดั อืน่ เวลานงุ่ จะพับหวั ซ่นิ เขา้ ไปในเข็มขัด แตอ่ บุ ลฯ จะเปดิ โชว์หัวซ่ิน ให้คนดูเพราะเขาทอสวยเปน็ พเิ ศษ และ “ตีนซน่ิ ”ตนี ซนิ่ เล็ก ๆจะเป็นผูด้ ี(ผา้ ไหมอบุ ลฯ ผลงานวิจัยของ ผศ.ดร. สทิ ธิชัย สมานชาต)ิ รูปท่ี 3 ผา้ ฝา้ ย
11 2.1.4. การย้อม การ Lab สผี า้ การทำ Lab สีคือ การทดลองให้โรงย้อม ทำสีผ้าออกมาให้เลือกก่อนที่จะทำการย้อม production จริง โดยสีที่ lab ออกมาจะทำออกมาประมาณ 2-3 เฉดสี ต่อ 1 งานสที ่ใี ห้ทำเพ่ือใหล้ กู ค้าเลอื ก สี ทเ่ี ราสงั่ ให้ไปทางโรงย้อมในคร้ังแรกอาจจะมาจาก สี code Pantone หรือวา่ สีของผ้าตวั อย่างจริง การ Re Lab คือการนำเอา lab สีไปทำใหม่ เพราะว่าสีที่ออกมาจากการ lab อาจจะไม่ตรงกับที่เราต้องการเลย ต้องมีการทำ Lab ใหมใ่ ช้เวลาทำประมาณ 1 อาทติ ย์ การยอ้ มผา้ ผืน มีช่ือเรยี กอกี อย่างวา่ piece dyed (เอาผา้ ดิบ ไปย้อมส)ี การยอ้ ม กค็ ือการให้สบี นผืนผ้า เปน็ กระบรวนการท่ีเราต้องอาศัยโรงย้อม โดยสที ่ีใช้กค็ ือสารเคมีท่ีแตกต่างกัน แต่ ละสีกจ็ ะมคี ุณสมบตั กิ ารยอ้ มงา่ ย ยอ้ มยาก ในการควบคุมคณุ ภาพท่ีแตกต่างกนั การย้อมสผี ้า Cotton การย้อมสีผ้า Cottonนั้นมีด้วยการใช้คุณภาพของสีที่แตกต่างกันไปได้หลากหลาย ขึ้นอยู่กับ ความสีตก ราคา ความสดใสของสี สง่ิ แวดลอ้ ม โดยทัว่ ไปไมว่ ่าจะเป็นสารย้อม สีแบบไหน สตี า่ งๆจะถูกแบ่งออกมาเป็น ขั้นของสีอัน ได้แก่ สีอ่อน, สีกลาง, สีเข้ม (จริงๆแบ่งตามความเข้มข้นของสารเคมีย้อมที่ใส่ลงไป) ซึ่งก็จะมีราคาในการย้อมที่แตกต่าง กันไป ชนดิ ของสียอ้ ม cotton มไี ด้แก่ 1.สี Reactive เป็นกลุ่มสีที่มีคุณภาพดีที่สุดในตลาด เปอร์เซนต์สีตกต่ำที่สุด เป็นสีเกรดที่ใช้ในการทำผ้าส่งออก ท่วั ๆไป แตร่ าคาจะเป็นตวั ทีส่ ูงท่สี ดุ 2.สี Direct fix เป็นกลุ่มสีคุณภาพระดับรอง เป็นสีในกลุ่มที่ลูกค้าระดับวัด สนสามารถรับคุณภาพได้ คุณภาพที่ ด้อยลงมากว่าสี Reactive กค็ ือเปอรเ์ ซนต์สีตกจะไมด่ ีเท่ากับสี Reactive แต่ว่าค่าใชจ้ ่ายก็ตำ่ ลงมาด้วยเช่นกัน (จึง เปน็ สาเหตใุ หล้ กู คา้ ระดับวัดสนสามารถใช้ได)้ แต่ไมแ่ นะนำให้ลูกคา้ นำเอาผ้าไปตดั ต่อกบั ผ้าสขี าว 3.สีดำ Sulphur โดยปกติการย้อมสีดำจะมีต้นทุนที่สูง ดังนั้นจึงมีการใช้สีดำ Sulphur ที่มีต้นทุนต่ำลงมากมาใช้ แต่สีชนิดนี้จะมีเปอร์เซนต์สีตกท่ีแย่กว่า (อาจจะตกลงไปบนสีขาวได้อย่างชัดเจน) ทำลายธรรมชาติมากกว่าปกติ คุณภาพของสีนีไ้ มส่ ามารถทำงานตัว๋ ส่งออกได้เลย แตค่ ณุ ภาพก็ยงั เป็นทีย่ ้อมรบั กนั ในตลาดระดับวัดสนได้ การย้อมสีผา้ Polyester
12 ชนดิ ของสี ยอ้ ม Polyester คือ สี Disperse เปน็ การยอ้ มสีที่ต้องใช้ความร้อนสูง และสจี ะติดลงบนส่วนผสมท่ีเป็น polyester เท่านั้น ข้อดีของสี disperse คือราคาค่าย้อมในทุกสีเท่ากันหมด (ไม่มีขั้นของการย้อมสีอ่อน กลาง เขม้ ) การ ลา้ งน้ำ การฟอกขาว การฟอกขาว ก็คือ การทำให้ผ้ามีความขาวมากขึ้น โดยใส่ สารพวก OBA เข้าไป แต่ในความขาวก็อาจจะมีระดับ ของความขาวท่ไี มเ่ ท่ากัน เช่นขาว ขาว off white,ขาวยุโรป , etc การลา้ งน้ำ กค็ ือ การเอาผา้ ท่มี สี ีแล้ว เช่นผ้าร้ิว Yarn Dyed, ผ้าท๊อปดาย์ จากงานทำลา้ งทำความสะอาด ส่วนของ สี หรอื สงิ่ สกปรกทต่ี ดิ คา้ งอยใู่ นผ้าใหอ้ อกไป การ finishing การ ใส่สารเคมี เพื่อทำใหผ้ า้ หลังจากย้อมมคี ุณสมบัติท่ดี ียิ่งข้ึน โดยอาจจะทำให้ผา้ นุ่มขึ้น การใส่ silicone กนั ไฟได้ ป้องกันแบคทีเรีย โดย ปกติ การสั่งย้อมจะมีการ finish คู่มาให้ด้วยอยู่แล้ว แต่ถ้าลูกค้าต้องการความพิเศษ มากกวา่ ปกติ กจ็ ะตอ้ งมกี ารจ่ายตน้ ทุนมากขนึ้ การ ยอ้ มเฉพาะส่วน สืบเนื่องจากคุณสมบัติของสีย้อมบน cotton จะไม่ไปติดบน polyester และในทางกลับกันก็เช่นกัน ดังนั้นเรา สามารถทจ่ี ะนำคณุ สมบัตินีม้ าใชง้ านได้ดังน้ี เอาผ้า T/C มายอ้ มด้วยสแี บบ Disperse อยา่ งเดยี ว ก็จะทำใหไ้ ดผ้ า้ ทีม่ ีสีเหลือบ คลา้ ยท๊อปดายทีเ่ กดิ จากการปัน่ เอาผ้าริ้วระหว่าง cotton + Poly มายอ้ มสี Disperse ก็จะได้สตี ิดอยทู่ ี่ฝ่ัง Polyester เท่านนั้ ทำใหเ้ กิดหน้าตาของ ร้ิวขน้ึ อบกลม ผ้าส่วนใหญ่ใน ไทย พวกประตูน้ำ จะอบกลม สาเหตุ เพราะว่าหน้าโต๊ะตัดที่ใช้มันไม่มี แต่ข้อเสียของการอบกลม คือควบคุมเปอรเ์ ซนตห์ ดไดย้ าก และมกี ารเสียรมิ การอบ กลมมหี ลายขนาด Body size เครื่องทอจะทอออกมาเป็นขนาดของตัวเสื้อเลย ดังนั้นในการอบกลมก็จะได้ขนาดหน้าผ้าที่เท่าตัวเส้ือ เลย ทำให้ไมต่ อ้ งเสยี เวลาตัดเยบ็ กันอกี รอบ ผ้าปกติ 32 – 45 นิ้ว แล้วแต่ spec ของเครื่อง ปกติที่ร้านผ้าหน้ากว้างจะอยู่ที่ 36,37,38 นิ้ว แล้วแต่การทอ น้ำหนักผา้ ส่วนผสม อบผา่ ก็คือ ผา้ ท่ีออกมาจากการทอกลม แล้วนำเอามาผ่า
13 ข้อดคี อื ผ้าท่ีไดม้ ี % หดไดด้ ี สว่ นมากจะใชก้ บั order สง่ ออกทีต่ ้องการคุณภาพสงู ๆ ข้อเสีย เศษผา้ เยอะกว่า เสยี ค่าผ่าเพ่ือ โต๊ะตัดต้องเพิ่ม การจดั เก็บยากกวา่ ริ้ว จะต้องเป็นอบผา่ เท่านนั้ เพราะทำให้ริ้วทไ่ี ด้ตรงเสมอกนั
14 2.1.5. สารชว่ ยตดิ พืชแต่ละชนดิ ที่นำมายอ้ มใช้เสน้ ใยธรรมชาติมกี ารติดสีและคงทนต่อการขัดถูหรือแสงไมเ่ ทา่ กันขึ้น อยู่กับ องค์ประกอบภายในของพชื และเส้นใยที่นำมาใช้ย้อม จงึ มีการใช้สารประกอบต่างๆ มาเป็นตัวชว่ ยในการทำให้เส้น ใยดูดซับสใี ห้สเี กาะเสน้ ใยไดแ้ นน่ ขน้ึ มีความทนทานตอ่ แสง และการขดั ถูเพ่ิมขน้ึ ซ่ึงเรียกว่า สารช่วยยอ้ ม และสาร ช่วยให้สีติด สารเหล่านี้นอกจากจะเป็นตัวจับยึดสี และเพิ่มการติดสีในเส้นใยแล้วยังช่วยเปลี่ยนเฉดสีให้เข้มจาง หรอื สดใส สว่างขนึ้ (1.) สารช่วยย้อม หรือ สารกระตุ้นสี เป็นสารที่ช่วยให้สีติดกับเส้นด้ายดีขึ้นและเปลี่ยนเฉดสีธรรมชาติให้ เปลีย่ นแปลงไปจากสีเดิม ในสมัยโบราณจะใช้การเติมมูลหรือปสั สาวะสัตว์ลงไปในถังย้อม ปัจจบุ นั มกี ารใช้สารที่ได้ จากทั้งสารเคมีและสารธรรมชาติดังนี้ (1.1) สารช่วยย้อมเคมี (มอร์แดนท์) หมายถึง วัตถุธาตุทีใ่ ช้ผสมสีเพื่อให้สตี ิดแน่นกับผ้าที่ย้อม ส่วนใหญ่เป็นเกลือ ของโลหะพวกอลูมิเนียม เหล็ก ทองแดง ดีบุก โครเมียม สำหรับมอร์แดนท์ที่แนะนำให้ใช้สำหรับการย้อมระดับ อุตสาหกรรมในครัวเรอื นเป็นสารเคมีเกรดการค้า ซึ่งมีราคาถูก คุณภาพเหมาะสมกับงาน มีวิธีการใช้งานท่ีสะดวก โดยการชั่ง ตวง วัดพื้นฐาน แล้วนำไปละลายน้ำตามอัตราส่วนที่ต้องการและหาซื้อได้ง่ายจากร้านค้าสารเคมีทาง วิทยาศาสตร์ หรอื ทางการแพทย์ทวั่ ไป สารมอร์แดนท์ท่ใี ช้กันทัว่ ไปคือ
15 การศกึ ษากระบวนการผ้าย้อมครามโดยใช้ยางกล้วยนา้ วา้ ดบิ เป็นสารชว่ ยตดิ ชัยวฒั น์ แกว้ คล้ายขจรศริ 1ิ * ประทบั ใจ สกิ ขา2 Study of fabric dyeing process of indigo fabrics using banana sap as natural mordant Chaiwat Kaewklaikhajornsiri1* Prathapjai Sikkha2 1นักศึกษาปริญญาเอก สาขาการออกแบบผลติ ภณั ฑ์ คณะศิลปประยุกต์และการออกแบบ มหาวทิ ยาลยั อบุ ลราชธานีจงั หวัดอุบลราชธานี 2อาจารยป์ ระจาคณะศลิ ปประยุกตแ์ ละการออกแบบ มหาวิทยาลยั อุบลราชธานี จงั หวดั อุบลราชธานี 1Graduate Students, Department of Product design , Faculty of Applied Arts and Design, UbonratchathaniUniversity, Ubonratchathani 2Lecturer, Faculty of Applied Arts and Design, University Ubonratchathani, Ubonratchathani *Corresponding author E-mail address: [email protected] บทคดั ย่อ การวจิ ยั นี้มวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พ่ือศึกษาสารชว่ ยตดิ จากยางกล้วยนา้ ว้าดบิ ท่ีมีผลต่อการยึดตดิ สีครามกับเส้นใย ฝา้ ย และเพื่อศึกษากระบวนการย้อมครามตามภูมิปญั ญาท้องถ่ิน โดยใช้ยางกลว้ ยน้าว้าดิบเป็นสารชว่ ยตดิ ย้อม กอ่ น ย้อมหลงั และย้อมพรอ้ มกันกับย้อมคราม หลังจากน้ันนาผา้ ไปทดสอบดว้ ยสารฟอกขาว ผงซกั ฟอก น้ายา ปรบั ผา้ น่มุ น้ายารีดผา้ เรียบ รดี ด้วยเตารดี และตากแดด แล้วนาไปทดสอบคุณภาพสี ผลการตรวจสอบคุณภาพสีย้อมครามด้วยเคร่ือง Hunter Lab พบวา่ ผา้ ท่ยี ้อมด้วยยางกล้วยนา้ วา้ ดบิ เปน็ สารชว่ ยตดิ ย้อมก่อน ย้อมหลัง และย้อมพร้อมกันกับย้อมคราม มคี ่าตามลาดับดงั นี้ ค่าเฉดสีของผา้ C*=20.42, 17.56, 22.03, คา่ แสดงความสวา่ งของสี L*=35.65, 27.05, 49.53, แสดงว่าผา้ ท่ยี ้อมสคี รามก่อนยอ้ มด้วย ยางกล้วยน้าว้าดิบจะมีการยึดตดิ ของสีครามมากท่ีสดุ รองลงมาคือย้อมดว้ ยยางกลว้ ยก่อน และย้อมพร้อมกันกับ ยอ้ มสีคราม สรปุ ว่ายางกลว้ ยน้าวา้ ดบิ ย้อมทับหลงั ย้อมดว้ ยสีครามจะชว่ ยใหก้ ารเกาะติดของสีครามในผ้าฝา้ ยดีข้ึน และยงั ชว่ ยลดจานวนครั้งในการยอ้ ม มีความคงทนของสีต่อแสงแดดและต่อการซักลา้ งท่ีดกี วา่ การย้อมแบบเดิม ความสำคญั : ผา้ ย้อมคราม ยางกลว้ ยนา้ ว้าดบิ สารช่วยติด
16 บทที่3 วธิ ดี ำเนนิ การ 3.1 อุปกรณ์ 3.1.1 ผา้ ฝ้าย 3.1.2 สีครามสำหรับยอ้ มผา้ 3.1.3 ยางกล้วย 3.1.4 หมอ้ 3.1.5 เตาถา่ น 3.1.6 ชอ้ น 3.1.7 แก้ว 3.2 วธิ ีทำ 3.2.1 การเตรยี มยางกล้วย วัดความสูงจากโคลนต้นกล้วยขึ้นมา 60 เซนติเมตรจากนั้นนำตะเกียบ 1 คู่เสียบขนานกันไปที่ต้นกล้วย นำแก้วมาวางบนตะเกียบแลว้ กรีดต้นกล้วยให้เป็นแนวเฉียงประมาณ 10 เซนตเิ มตรเเลว้ ปลอ่ ยใหย้ างกล้วยไหลลง มาในแก้วประมาณ 50 มิลลลิ ิตร 3.2.2 การเตรยี มสคี ราม นำหัวเชอื้ สคี ราม 50 กรัมมาผสมกับนำ้ ในปริมาณ 100 มิลลลิ ติ รจากนั้นนำไปตม้ 60 นาทีเเล้วนำมาพกั 3.2.3 การยอ้ มครามโดยใช้ยางกล้วย แบ่งแก้วจำนวน 4 ใบ โดยเติมสคี ราม 100 มลิ ลลิ ติ รในแกว้ ใบที่ 1 ใบท่ี 2 ใบท่ี3 และใบท่ี 4 โดยแก้วใบ ที่ 2 เติมยางกล้วย 5 มิลลิลิตร แก้วใบที่ 3 เติมยางกล้วย 10 มิลลิลิตร แก้วใบที่ 4 เติมยางกล้วย 15 มิลลิลิตร จากนั้นนำผ้าฝ้ายขนาด 10×10 เซนติเมตร แล้วใส่ลงไปในแก้วทั้ง 4 ใบแล้วแช่ไว้ 60 นาทีจากนั้นนำไปทำตาม ขั้นตอนตอ่ ไป
17 3.2.4 ศึกษาความคงทนของสยี อ้ มตอ่ แสง นำผ้าที่ย้อมเรียบร้อยแล้วมาทำการทดสอบความคงทนของสีต่อแสงโดยนำผ้าชุดที่ 1 นำไปตากแดดแล้ว ทำการบันทึกความคงทนของสียอ้ มทุก ๆ 48 ชั่วโมง เปน็ เวลา 1 เดอื น โดยเทยี บคา่ สี 3.2.5 ศกึ ษาความคงทนของสีต่อการซักลา้ งส ผ้าที่ย้อมเรียบร้อยแล้วมาทำการทดสอบความคงทนของสีต่อการซักล้างโดยนำไปซักล้างโดยเตรียมน้ำ 200 มิลลิลิตร เติมผงซักฟอก 1 ช้อนชา จากนั้นนำผ้าไปผึ่งลม(ตากในร่ม) จนแห้งแล้วทำการบันทึกความคงทน ของสีทกุ ครง้ั เปน็ เวลา 1 เดือน โดยเทบี ยค่าสี 3.2.6 การวิเคราะหข์ ้อมลู การทดลองนี้จะวิเคราะห์ข้อมูล จากการท่ีปริมาณยางกล้วยทั้ง 3 ปริมาณ คือ 5,10,15 มิลลิลิตร น้ัน สามารถใชง้ านได้จริงและสามารถใช้ยอ้ มกับผา้ ชนดิ ต่างๆ โดยใช้แถบสีเปน็ ตัวสังเกตุ
18 บทท่ี 4 ผลการทดลอง จากการศึกษากระบวนการผ้าย้อมครามโดยใชย้ างกล้วยเป็นสารช่วยตดิ ซงึ่ ได้ดำเนนิ การโดยนำสีคราม ยอ้ มผา้ มาละลายนำ้ ในปรมิ าณ 50มิลลิลติ ร ต่อยางกลว้ ย 5,10,15 มิลลลิ ิตร และทำการทดสอบเปรยี บเทยี บ ความคงทนต่อแสงและการซักล้างในแตล่ ะสัดสว่ นโดยใช้เวลาในการสังเกตุทกุ 48 ชัว่ โมง ได้ผลการทดลอง ดงั น้ี 4.1 ความคงทนตอ่ แสง ปริมาณ ปริมาณนำ้ 50 มลิ ลลิ ิตร/การตากแดด สารส้ม/เบอร์สี 12 3 4 5 6 ไม่ใสย่ างกลว้ ย 7269 7257 7257 72765 7273 7281 ใส่ 5 ml 7269 7266 7274 7282 7290 7298 ใส่ 10 ml 7269 7238 7246 7254 7262 7270 ใส่ 15 ml 7269 7237 7254 7253 7277 7285 จากการทดลองสรปุ ไดว้ ่า ยางกลว้ ย ปรมิ าณ 15 ml มคี วามคงทนต่อแสงมากกว่าสารยอ้ มในปริมาณอนื่ ๆโดยใช้ ตารางดังน้ี
19 4.2 ความคงทนตอ่ การซักล้าง ปริมาณ ปรมิ าณน้ำ 50 มลิ ลิลติ ร/การซักล้าง สารส้ม/เบอรส์ ี 1 2 3 4 5 6 7457 ไมใ่ สย่ างกลว้ ย 7462 7461 7460 7460 7458 7313 7293 ใส่ 5 ml 7309 7310 7311 7312 7312 7333 ใส่ 10 ml 7333 7286 7227 7288 7286 ใส่ 15 ml 7333 7333 7333 7333 7333 จากการทดลองสรุปได้ว่า ยางกล้วย ปริมาณ 15 ml มีความคงทนต่อแสงมากกว่าสารย้อมในปริมาณอื่นๆโดยใช้ ตารางดงั นี้
20 บทที่5 สรุปและอภปิ รายผลการททดลอง 5.1 สรุปผลการทดลอง จากการทดลองสรุปไดว้ ่า ยางกล้วย 15 ml มีประสิทธิภาพในการชว่ ยให้สีครามตดิ กบั เนื้อผา้ ได้ดีกว่า ปรมิ าณยางกลว้ ย 10 ml ปรมิ าณยางกลว้ ย 5 ml ไมใ่ สย่ างกลว้ ย ตามลำดบั สามารถมีสผี า้ ทต่ี ดิ ทน 5.2 อภปิ รายผลจากการวเิ คราะห์ จากการทดลอง การยอ้ มครามโดยใช่ยางกล้วยเปน็ สารช่วยติด ผลปรากฏวา่ ปรมิ าณยางกลว้ ย 15 ml สามารถทำให้สตี ิดทนมากได้ดีทสี่ ุด รองลงมาคือ ปรมิ าณยางกล้วย 10 และ 5 ml ตามลำดบั จากการทดลองพบวา่ ยางกล้วยในปรมิ าณ 15 มิลลลิ ติ รต่อน้ำ 50 มปี ระสิทธิภาพในติดทนของสีครามได้ ดี เพราะ ยางกลว้ ยเปน็ พืชทมี่ ีคุณสมบตั ิทีโ่ นเส้ือผา้ หรือผา้ ก็ยังติดทนได้ดี และสามารถอย่คู งทนไดแ้ ต่ไม่ถาวร 5.3 ขอ้ เสนอแนะ 5.3.1 ควรมเี วลาในการทำการทดลองให้มากกว่าน้ี 5.3.2 ควรตัดขนาดผ้าใหม้ ีขนาดทีเ่ ทา่ กันมากทส่ี ดุ 5.3.3 ควรตวงน้ำและนำ้ ยอ้ มให้มปี รมิ าณท่ีแนน่ อน 5.3.4 ควรใชภ้ าชนะท่มี ขี นาดทีใ่ กล้เคียงกนั 5.3.5 ควรหายางกล้วยจากหลายๆต้น
21 บรรณานกุ รม ที่มา: https://sites.google.com/site/fishfarm53/assignments/bthkhwammimichux ที่มา: http://www.openbase.in.th/node/5417 ที่มา: http://old.rdi.snru.ac.th/UserFiles/File/%202_7-8-56.pdf ท่มี า: http://resource.tcdc.or.th/ebook/PhaThai-application-070758.pdf ท่มี า: https://so01.tci-thaijo.org/index.php/ajnu/article/view/26384
22 ภาคผนวก
23 ภาพท่ี 1 การเตรียมผ้าฝ้ายทดลองขนาด 10x10 เซนติเมตร จำนวน 4 แผน่ ภาพท่ี 2 การเตรยี มอุปกรณ์ ประกอบด้วย สีครามย้อมผ้า ท่ีคน ถว้ ยตวง แก้ว ยางกล้วย ผา้ ฝา้ ย หมอ้
24 ภาพที่ 3 วัดความสูงจากโคลนต้นกลว้ ยขึน้ มา 60 เซนตเิ มตรจากน้นั นำตะเกียบ 1 คู่เสียบขนานกันไปทต่ี น้ กล้วยนำแก้วมา วางบนตะเกียบแลว้ กรดี ตน้ กล้วยให้เป็นแนวเฉียงประมาณ 10 เซนติเมตรเเล้วปลอ่ ยให้ยางกลว้ ยไหลลงมาในแก้ว ประมาณ 50 มิลลิลติ ร ภาพที่ 4 นำหัวเช้อื สคี ราม 50 กรัมมาผสมกับนำ้ ในปริมาณ 100 มลิ ลิลติ ร
25 ภาพที่ 5 นำยางกล้วยในปรมิ าณ 5,10,15 ml มาผสมกับสคี ราม ภาพที่ 6 นำผ้าฝา้ ยขนาด 10x10 cm มาใส่แลว้ ท้ิงไว้ 1 ชว่ั โมง
26 ภาพท่ี 7 จากนั้นนำไปตากแดดแลว้ ทดสอบดคู วามคงทนของสีทุก ๆ 2 วนั แล้วบันทึกผลเปน็ เวลา 1 เดือน ภาพที่ 8 นำไปทดสอบดูความคงทนของสโี ดยการไปซักล้างโดยเตรียมนำ้ 200 มิลลลิ ติ ร เตมิ ผงซักฟอก 1 ชอ้ นชา จากนั้น นำผา้ ไปผึ่งลม(ตากในร่ม) จนแหง้ แล้วทำการบันทกึ ความคงทนของสที ุกคร้งั เปน็ เวลา 1 เดือน
Search
Read the Text Version
- 1 - 33
Pages: