สง่ั สม สืบสำน สร้ำงสรรค์ พระพฆิ เนศนำใจจุดประกำยศลิ ปนิ ถน่ิ แควน้ แดนสถาน ทิพย์วมิ านองค์พฆิ เนศ ลูกหลานจากทุกถิน่ เขต ขอน้อมเกศฝากเปน็ ศิษย์ยา จะตงั้ ใจ ใฝด่ ี สามคั คี กนั ทุกทว่ั หนา้ มีน้าใจใสเยน็ ศรทั ธา นอ้ มบชู าคุณครอู าจารย์ อ้าองคพ์ ระพิฆเนศน้ี ศูนย์รวมฤดเี ป็นศรสี งา่ โปรดประทานแผ่พระเมตตา ประสิทธ์ิวชิ าสรา้ งงานสานใจ ศิษยข์ อบูชาเหล่าคณาอาจารย์ ผปู้ ระทานวทิ ยาและก้าลงั ใจ สมานไมตรี น้องพรี่ ่วมใจ มอบจิตถวาย หลอมเทยี นแห่งใจ เป็นเทียนชัยน้าผองเรา ก่อเกียรตกิ ้องไกลศลิ ปกรรม ณ มหาสารคาม ๑
สำรจำกคณบดคี ณะศิลปกรรมศำสตร์ และวัฒนธรรมศำสตร์ “ศิลปนิพนธ์ทางศิลปะการแสดงคร้ังที่ ๒๑” ประจ้าปีการศึกษา ๒๕๖๓ เป็นกิจกรรม ส้าคัญสูงสุดในการเรียนการสอนของหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต ภาควิชาศิลปะการแสดง คณะศิลปกรรมศาสตร์และวัฒนธรรมศาสตร์ ที่สะท้อนถึงพัฒนาการอย่างประสบความส้าเร็จ มาถึง ครั้งที่ ๒๑ ประการส้าคัญศิลปนิพนธ์ทางด้านศิลปะการแสดงแต่ละครั้งที่ผ่านมาได้สร้าง คุณูปการต่อวงการศิลปะการแสดงในภาคตะวันออกเฉียงเหนืออย่างมีนัยส้าคัญ โดยเฉพาะการ สรรค์สรา้ งชดุ การแสดงชดุ ตา่ ง ๆ ท่ผี สานและบรู ณาการการเรยี นรภู้ าคทฤษฎี ปฏิบัติการ และการ บริหารจดั การแสดงต่าง ๆ สา้ หรบั “โครงการศลิ ปนิพนธ์ทางศลิ ปะการแสดง คร้ังที่ ๒๑ ประจ้าปีการศึกษา ๒๕๖๓” จัดเป็นเวทีส้าคัญท่ีท้าให้นิสิตสาขาศิลปะการแสดง ท้ังนาฏยศิลป์ไทย นาฏยศิลป์พ้ืนเมือง นาฏยศลิ ป์ตะวนั ตก และศิลปะการละคร ได้น้าประสบการณ์จากการเรียนการสอนในหลักสูตรท่ี ผ่านมาได้สรรค์สร้างชุดการแสดงเป็นของตนเองเพ่ือน้าเสนอต่อสาธารณชน และรับการประเมิน ข้นั สูงสุดของหลักสตู รรวมท้งั เพ่อื รับการเสนอแนะ เพือ่ เป็นแนวทางในการเติบโตเป็นนาฏยศิลปิน ท่ีเข้มแข็งต่อไป ในนามของคณะศิลปกรรมศาสตร์และวัฒนธรรมศาสตร์ผมมีความชื่นชมนิสิต เหลา่ นี้เป็นอย่างย่ิง และโดยเฉพาะความส้าเร็จจากการเรียน และการน้าเสนอผลงานแสดงอย่าง ต่อเนื่อง จึงขอความช่ืนชมยินดีอย่างยิ่งมา ณ ที่น้ี และขออ้านวยพรให้นิสิตทุกคนได้เติบโตใน วงการศลิ ปะการแสดงอย่างสงู สุดต่อไป ศำสตรำจำรย์ ดร.ศุภชยั สงิ ห์ยะบศุ ย์ คณบดีคณะศลิ ปกรรมศำสตร์และวัฒนธรรมศำสตร์ ๒
สำรจำกอำจำรย์ประจำรำยวิชำ และอำจำรยท์ ปี่ รึกษำโครงกำร ตลอดระยะเวลา ๔ ปี ที่ผ่านมาเป็นช่วงเวลาท่ีนิสิตทุกคนได้ใช้เวลาเก็บเกี่ยวความรู้ และ ประสบการณโ์ ดยมคี ณาจารย์ภาควิชาศิลปะการแสดงทุกคนเป็นผู้ชี้แนะแนวทาง และบ่มเพาะให้ นิสิตทุกคนเป็นเมล็ดพันทางด้านศิลปวัฒนธรรมชั้นเย่ียมท่ีจะเติบโต พร้อมท่ีจะเป็นก้าลังส้าคัญ ของประเทศชาติ ท่จี ะช่วยอนุรักษ์ เผยแพร่ และสร้างสรรค์ น้าไปสู่การพัฒนาให้ศิลปะการแสดง น้ันยงั ดา้ รงอย่คู ู่ประเทศชาติของเราตอ่ ไป “โครงการศลิ ปนิพนธท์ างศลิ ปะการแสดง คร้ังที่ ๒๑”การสอบทกั ษะศิลปะการแสดงขั้นสูง ของนิสิตช้ันปีที่ ๔ ในคร้ังนี้ ถือเป็นการก้าวแรกที่นิสิตจักได้รวบรวมเรียบเรียงองค์ความรู้ด้าน ศิลปะการแสดง ในการน้าความรูจ้ ากการศึกษาและประสบการณ์เรียนรู้ด้านศิลปะการแสดงมาใช้ อย่างเป็นระบบ มีโอกาสท่ีจะได้เรียนรู้ทักษะต่าง ๆ จากศิลปินแห่งชาติ ผู้เชี่ยวชาญ ครู ศิลปิน พ้นื บา้ นจากท่ัวทัง้ ประเทศ การทดสอบในครัง้ น้ยี ังเป็นส่งิ สุดทา้ ยทีแ่ สดงศกั ยภาพของนิสิตเป็นการ ประมวลความร้ทู ่ีนสิ ติ ได้ศกึ ษามาตลอดทงั้ ๔ ปีอกี ด้วย ทา้ ยทีส่ ดุ ครูขอขอบใจนสิ ติ ทกุ คนที่มีความตง้ั ใจมุ่งมั่นใฝ่เรียนร้ตู ลอดมา ครั้งนี้เป็นก้าวแรก ก่ อ น ที่ จ ะ ส้ า เ ร็ จ ก า ร ศึ ก ษ า อ อ ก ไ ป เ ป็ น บั ณ ฑิ ต ท่ี มี คุ ณ ภ า พ ข อ ง ภ า ค วิ ช า ศิ ล ป ะ ก า ร แ ส ด ง คณะศิลปกรรมศาสตร์และวัฒนธรรมศาสตร์ น้าความรู้ประสบการณ์ และการวางตัวท่ีดีไปใช้ให้ เกิดประโยชน์ต่อตนเองและสังคม ครูท้ังสองคนขอเป็นก้าลังใจพร้อมที่ส่งเสริมสนับสนุนศิษย์ ทกุ คน และจะคอยมองความเจริญกา้ วหน้าของศษิ ย์ทกุ คนด้วยความภมู ิใจ อำจำรยว์ ำ่ ทีร่ อ้ ยตรี ดร.เกิดศิริ นกน้อย อำจำรย์ ดร.ณัฐกำนต์ บุญศิริ อำจำรยป์ ระจำรำยวชิ ำและอำจำรย์ท่ีปรึกษำโครงกำร ๓
สำรจำกประธำนโครงกำร โครงการศลิ ปนพิ นธ์ทางดา้ นศลิ ปะการแสดง ครั้งที่ ๒๑ นี้ เป็นกระบวนการท่ีส้าคัญ อย่าง ย่ิง ซึง่ เปน็ การชว้ี ัดตลอดระยะเวลาท่ีผ่านมาที่เราได้ศึกษาท่ีคณะศิลปกรรมศาสตร์และวัฒนธรรม ศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ท่ีนี่เปรียบเสมือนบ้านหลังที่ ๒ นอกจากจะได้รับการอบรม ความรู้ในเรื่องของทักษะ หรือทฤษฎีด้านศิลปะการแสดงแล้ว ท่ีนี่ยังสอนให้เรารู้จักศิลปะการ ด้าเนินชีวิตไม่ว่าจะเป็นเร่ืองของมารยาทท่ีดีงาม การติดต่อสื่อสารงาน การคิดให้รอบคอบ บุคลิกภาพต่าง ๆ ล้วนแต่เป็นการปลูกฝังคุณสมบัติที่งดงามส้าหรับการด้าเนินชีวิต ในสังคม คณาจารย์ทุกท่านเปรียบเสมือนพ่อแม่ผู้ปกครองที่คอยดูแล และให้ค้าปรึกษาทุก ๆ ด้าน ท้ัง ปัญหาด้านการเรียน หรือแม้แต่ปัญหาเร่ืองส่วนตัว อีกทั้งยังกรุณามอบโอกาสในการแสดงให้ สามารถใช้ทักษะดา้ นแสดงสูส่ ายตาสาธารณชนได้อยา่ งสมบรู ณ์ โครงการศิลปนิพนธ์ทางศิลปะการแสดง “การสอบทักษะศิลปะการแสดงขั้นสูง” คร้ังที่ ๒๑ เป็นอีกหนึ่งบทพิสูจน์เพ่ือการันตีคุณภาพของว่าท่ีบัณฑิตเอกนาฏ ยศิลป์ไทย ภาควิชาศิลปะการแสดง ทุก ๆ คนที่จะส้าเร็จการศึกษาในอนาคต ที่จะได้ถ่ายทอดความรู้ ความสามารถทางดา้ นนาฏยศิลป์ไทย และวิสัยทัศน์ท่ีว่า “สั่งสม สืบสาน สรา้ งสรรค์”ของภาควิชา ศลิ ปะการแสดง คณะศิลปกรรมศาสตร์และวฒั นธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั มหาสารคาม นำยเชำวลิต คงขลบิ ประธำนโครงกำร ๔
คณะกรรมกำรผู้ทรงคณุ วฒุ ิ อำจำรย์รจั นำ พวงประยงค์ ศิลปนิ แหง่ ชาติ สาขาศิลปะการแสดง (นาฏศิลป์ไทย-ละคร) ปพี ุทธศกั ราช ๒๕๕๔ อำจำรย์ประเมษฐ์ บุณยะชัย ศิลปินแหง่ ชาติ สาขาศลิ ปะการแสดง (นาฏศลิ ป์-โขน) ปีพทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓ อำจำรย์ไพฑรู ย์ เข้มแขง็ ผ้เู ชย่ี วชาญการสอนนาฏศลิ ป์ วทิ ยาลยั นาฏศลิ ป สถาบันบัณฑิตพฒั นศิลป์ ๕
กำหนดกำร โครงกำรศิลปนิพนธ์ทำงด้ำนศลิ ปะกำรแสดง “กำรสอบทกั ษะศิลปะกำรแสดงข้ันสูง” ครั้งท่ี ๒๑ โดยนิสติ ชั้นปที ่ี ๔ วชิ ำเอกนำฏยศลิ ป์ไทย ภำควิชำศลิ ปะกำรแสดง วนั ที่ ๑๓ มีนำคม ๒๕๖๔ ณ ลำนกลำงคณะศิลปกรรมศำสตรแ์ ละวฒั นธรรมศำสตร์ มหำวทิ ยำลยั มหำสำรคำม (เขตพื้นทข่ี ำมเรียง) เวลา ๑๘.๐๐ น. เร่มิ การแสดงโครงการศลิ ปนพิ นธท์ างดา้ นศิลปะการแสดง “การสอบทกั ษะศลิ ปะการแสดงขนั้ สูง” ครง้ั ท่ี ๒๑ การแสดงชดุ ท่ี ๑ รา้ เบกิ โรงกิ่งไม้เงนิ ทอง การแสดงชุดท่ี ๒ ฉุยฉายกงิ่ ไม้เงินทอง การแสดงชดุ ท่ี ๓ เมขลานั่งวมิ าน การแสดงชุดท่ี ๔ สามศรก้าเนดิ ยักษ-์ ลิง การแสดงชุดที่ ๕ ลงสรงท้าวมาลวี ราช การแสดงชดุ ที่ ๖ ฉยุ ฉายพราหมณ์ การแสดงชดุ ท่ี ๗ ฉุยฉายเบญกาย การแสดงชดุ ท่ี ๘ เชดิ ฉิ่งศภุ ลกั ษณ์ การแสดงชดุ ท่ี ๙ ดรสาทรงเครอื่ ง การแสดงชดุ ที่ ๑๐ ยา่ หรนั ตามนกยงู การแสดงชุดท่ี ๑๑ วันทองแตง่ ตวั การแสดงชดุ ท่ี ๑๒ พลายชมุ พลแต่งตวั การแสดงชดุ ที่ ๑๓ ฉุยฉายฮเนา การแสดงชุดท่ี ๑๔ ปู่เจ้าเรยี กไก่ การแสดงชุดท่ี ๑๕ พระลอตามไก่ เวลา ๒๒.๐๐ น. บนั ทึกภาพร่วมกับอาจารย์ทีป่ รึกษาและคณาจารย์ ในภาควิชาศลิ ปะการแสดง หมายเหตุ : ก้าหนดการอาจมกี ารเปลี่ยนแปลงไดต้ ามความเหมาะสม ๖
กำรแสดงชดุ ที่ ๑ รำเบิกโรงกิ่งไมเ้ งนิ ทอง แสดงโดย นางสาวชนากานต์ นาโสม นางสาวสโรชา ธรพิสิงห์ ผ้ถู ่ำยทอดทำ่ รำ อาจารยร์ ัตติยะ วิกสติ พงศ์ (ศิลปนิ แหง่ ชาต)ิ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์บวรนรรฏ อญั ญะโพธิ์ ประวัติควำมเป็นมำ การแสดงร้าเบิกโรงกิ่งไม้เงินทอง เป็นบทพระราชนิพนธ์ของ พระบาทสมเด็จพระ ปรเมนทรรามาธิบดศี รสี ินทรมหามงกฎุ พระจอมเกลา้ เจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี ๔ ได้ทรงพระราชนิพนธ์ ร้าเบิกโรงก่ิงไม้เงินทองข้ึนมาใหม่ ดัดแปลงมาจากการแสดงปะเลง ทรงสมมติให้ผู้ร้าแต่งเป็น เทพบุตรทงั้ คแู่ ละมือทั้งสองถอื ก่ิงไมเ้ งินทองแทนการถือหางนกยูง และทรงพระราชนิพนธ์บทร้อง ขน้ึ ใหม่ประกอบการฟ้อนร้าเพ่ือเปน็ สวสั ดมิ งคล ร้าเบิกโรงกิ่งไม้เงินทองได้รับการสืบทอดมาจากคณะละครวังสวนกุหลาบ ในสมเด็จพระ เจา้ บรมวงศ์เธอเจา้ ฟ้าอัษฎางคเ์ ดชาวุธ กรมหลวงนครราชสมี า และได้เชิญเจ้าจอมมารดาสายและ เจา้ จอมละม้ายในรัชกาลท่ี ๕ ซึ่งเดิมท้ังสองท่านเป็นละครหลวงรุ่นเล็กในรัชกาลที่ ๔ และเคยได้ เป็นผู้ร้ามาก่อน ท่านทั้งสองได้เข้ามาถ่ายทอดให้กับคณะละครวังสวนกุหลาบเป็นผู้ถ่ายทอด กระบวนท่ารา้ ให้กับอาจารยล์ ะมลุ ยมะคุปต์ อดตี ผเู้ ชยี่ วชาญการสอนนาฏศิลป์ไทย วิทยาลัยนาฏ ศิลป กรมศิลปากร และอาจารย์เฉลย ศุขะวณิช ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง ปี พทุ ธศกั ราช ๒๕๓๐ ต่อมาอาจารย์ทั้งสองท่านได้ถ่ายทอดให้กับอาจารย์รัตติยะ วิกสิตพงศ์ ศิลปิน แห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง พุทธศักราช ๒๕๖๐ และได้ถ่ายทอดให้กับ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ บวรนรรฏ อญั ญะโพธิ์ อาจารยป์ ระจ้าคณะศิลปศึกษา สถาบนั บณั ฑติ พัฒนศิลป์ ในลา้ ดบั ตอ่ มา ๘
บทรอ้ งและทำนองเพลง -ป่ีพาทยท์ า้ เพลงกลม- -ร้องเพลงเชดิ ฉง่ิ - เมอ่ื นัน้ ไททา้ วเทพพบุตรบุรุษสอง สองมอื ถือกิ่งไมเ้ งนิ ทอง ป้องหน้าออกมาวา่ จะรา้ เบกิ โรงละครในให้ประหลาด มีวลิ าศนา่ ชมคมขา้ ท่าก็งามตามครูดูแมน่ ย้า เปน็ แต่ท้าแบบใหม่มิใชฟ่ ้อน หางนกยงู อย่างเก่าเขาเล่นมาก ไมเ่ ห็นหลากจืดตามาแตก่ ่อน คงแตท่ ่าไวใ้ หง้ ามตามละคร ท่แี ตง่ ตนกน้ ไมง่ อนตามโบราณฯ -ปพ่ี าทย์ท้าเพลงเชิดจนี ตวั สาม- ๙
กำรแสดงชุดที่ ๒ ฉยุ ฉำยกิ่งไม้เงินทอง แสดงโดย นางสาวศศิวิมล ศรโี คตร นางสาวอาทิตยาภรณ์ นราวงษ์ ผูถ้ ่ำยทอดทำ่ รำ อาจารย์ ดร.นนั ทวัน สงั ขะวร ประวัติควำมเปน็ มำ การแสดงเบิกโรงฉุยฉายกิ่งไม้เงินทองน้ี เป็นบทพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระ ปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหามงกุฎ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ใช้ส้าหรับคณะละครหลวงใน พระองค์ การแสดงเบิกโรงคู่กบั บทเบิกโรงกงิ่ ไมเ้ งนิ ทอง (พระ) แต่บทท่ีใช้แสดงครั้งนี้ ปรับปรุงขึ้น ตามแบบฉบบั สา้ นักละครวงั สวนกุหลาบ ของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าอัษฎางค์เดชาวุธ กรมหลวงนครราชสีมา ซึ่งเจ้าจอมมารดาสาย เจ้าจอมละมา้ ย ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว อดีตตัวละครหลวงในรัชกาลท่ี ๔ รุ่นเล็ก ได้น้ามาถ่ายทอดให้กับละครวังสวนกุหลาบ เท่าน้ัน อาจารย์ลมุล ยมะคุปต์ ผู้เช่ียวชาญทางด้านนาฏศิลป์ไทย วิทยาลัยนาฏศิลป กรม ศลิ ปากร และอาจารย์เฉลย ศขุ ะวณิช ศิลปินแห่งชาติสาขาศิลปะการแสดง ปีพุทธศักราช ๒๕๓๐ ได้น้ามาถ่ายทอดให้กับศิษย์ในโรงเรียนนาฎศิลป กรมศิลปากร รวมถึง อาจารย์ ดร.นันทวัน สังขะวร อาจารย์ช้านาญการพิเศษ วิทยาลัยนาฏศิลปลพบุรี สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ กระทรวง วัฒนธรรม ๑๑
บทรอ้ งและทำนองเพลง -ปพี่ าทยท์ ้าเพลงรัว- ร้องฉยุ ฉาย (พวง) ฉยุ ฉายเอย สองนางเนอ้ื เหลืองยา่ งเยอ้ื งกรีดกราย ห่มผ้าหน้าปักชาย ผนั ผายมาเบกิ โรง มอื ถอื ก่ิงไม้เงนิ ทอง เปน็ ของสง่าอา่ โถง ได้ฤกษ์งามยามโมง จะชกั โยงคนมาดู การฟ้อนละครใน มิใหผ้ ู้ใดมาเลน่ สู้ ลว้ นอร่ามงามตรู เชิดชพู ระเกียรติเอย -ป่ีพาทย์รับ -ร้องเพลงแม่ศรี- สองแม่เอย แม่งามหนกั หนา เหมอื นหนึง่ เทพธิดา ลงมากรายถวายกร รา้ เต้นเล่นดูดี ยิ่งกวา่ มีมาแตก่ ่อน เว้นแตท่ ้ายไม่งอน ไม่เหมอื นละครนอกเอย -ปพ่ี ายร์ บั - สองแม่เอย แมง่ ามแม่งอน ยิง่ แมนแขนอ่อน ออ้ นแอ้นประหนึ่งวาด ไหลเ่ หล่ียมเสง่ยี มองค์ คิ้วเปน็ วงผวิ สะอาด ดังนางในไกรลาศ ร่อนลงมาร้าเอย -ปีพ่ าทย์รับ- ๑๒
กำรแสดงชุดที่ ๓ เมขลำน่ังวมิ ำน (เชดิ ฉ่ิงเมขลำ) แสดงโดย นางสาวเกษศรนิ ทองสขุ ผู้ถ่ำยทอดท่ำรำ อาจารย์รจั นา พวงประยงค์ (ศลิ ปินแหง่ ชาต)ิ ประวัตคิ วำมเป็นมำ การแสดงชดุ เมขลานง่ั วมิ าน เป็นส่วนหน่ึงท่ีตัดตอนมาจากการแสดงเบิกโรงวสันต นิยาย หรือ เมขลารามสูร ปรากฎอยู่ในบทละครเรื่องรามเกียรต์ิของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศ หล้านภาลัย รัชกาลท่ี ๒ กล่าวถึงนางมณีเมขลานางฟ้าผู้รักษาห้วงสมุทรมีดวงแก้วมณีเป็นของ วิเศษประจ้ากาย สถิตอยู่ ณ วิมานรัตนา เม่ือวสันตฤดูมาถึงก็ออกเดินทางเพื่อชุมนุมกับเหล่า เทวดานางฟ้าท้งั หลาย ฝ่ายรามสูรเหาะผ่านมา ได้เห็นนางเมขลาโยนแก้วมีแสงสวยงามก็อยากได้ ดวงแก้ววิเศษนั้น นางเมขลาไม่ยอมก็โยนดวงแก้วล่อหลอก รามสูรโกรธจึงขว้างขวานเพชรไปยัง เมขลาเกดิ เปน็ เสยี งกึกกอ้ งกัมปนาท กระบวนทา่ ร้าเมขลานงั่ วิมาน ประกอบไปดว้ ยการร้าตีบทในเพลงเขมรปากท่อและการร้า เพลงเชิดฉ่ิง ซึ่งอาจารย์เจริญจิต ภัทรเสวี ได้รับการถ่ายทอดมาจากสายละครเจ้าคุณพระประยูร วงศ์ แล้วได้ถ่ายทอดกระบวนท่าร้าให้แก่ อาจารย์รัจนา พวงประยงค์ ศิลปินแห่งชาติสาขา ศิลปะการแสดง ปีพุทธศักราช ๒๕๕๔ ในการสอบครั้งนี้ อาจารย์รัจนา พวงประยงค์ ได้น้าเอา กระบวนทา่ รา้ ของการแสดงชดุ เมขลาเจด็ วิมานหรอื เมขลาเจ็ดเตียง ซึ่งแสดงในงาน ๑๐ ทศวรรษ นาฏยศิลป์สังคีต กรมศิลปากร เมื่อวันท่ี ๑ กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๕๕๔ มาเรียบเรียงเข้ากับ กระบวนท่าร้าเชิดฉิ่งเมขลาแบบเดิม แล้วจึงถ่ายทอดกระบวนท่าร้าให้กับนิสิตจากภาควิชา ศลิ ปะการแสดง มหาวิทยาลยั มหาสารคาม ๑๔
บทร้องและทำนองเพลง -รอ้ งเพลงเขมรปากท่อ- เมอ่ื นน้ั โฉมศรมี ณเี มขลา อยู่ในวมิ านรัตนา ส้าหรับรักษาสมุทรไท เคยไปประชุมดว้ ยเทวัญ เปน็ นิจนิรันดร์หาขาดไม่ ครน้ั ถึงฤดูกา้ หนดไว้ อรทัยชื่นชมยินดี -ร้องร้อื รา่ ย- อ่าองคท์ รงเคร่อื งอาภรณ์ งามงอนจ้ารสั รศั มี มือถือดวงแก้วมณี เทวกี ็ออกจากวิมาน -ป่ีพาทย์ท้าเพลงเชดิ ฉง่ิ แลว้ เชดิ กลอง- ๑๕
กำรแสดงชดุ ท่ี ๔ สำมศรกำเนิดยักษ์ - ลิง แสดงโดย นายเอกชัย ในจิตร ผถู้ ำ่ ยทอดท่ำรำ อาจารยไ์ พฑูรย์ เขม้ แขง็ ประวตั ิควำมเป็นมำ สามศรก้าเนิดยักษ์ลิง แต่เดิมการแสดงชุดนี้ใช้เฉพาะเบิกโรง ยักษ์-ลิง ที่พระอิศวรได้ให้ ก้าเนิดขึ้นมาน้ันเป็นต้นก้าเนิดตัวละครบางตัวในเร่ืองรามเกียรติ์ คือ อสูรเวรัม และชามภูวราช โดยมเี นือ้ เรือ่ งกล่าวถึงพระฤาษีสุขวัฒน ได้บ้าเพ็ญพรตอยู่เชิงเขาพระสุเมรุ และได้มีไม้ไผ่ต้นหนึ่ง สูงครอบศาลาอาศรม พระฤาษีสุขวัฒนได้น้าไม้ไผ่น้ันมาถวายแก่พระอิศวร พระอิศวรจึงน้าไม้ไผ่ มาท้าเป็นคันศร แต่เมื่อลองน้าว คันศรไม้ไผ่ก็หักเป็นสองท่อน พระอิศวรจึงท้ิงท่อนปลายบังเกิด เป็นลิงคือชามภูวราช และทิ้งท่อนต้นเกิดเป็นยักษ์คืออสูรเวรัม พระอิศวรจึงให้นามไม้ไผ่อันเป็น มงคลนี้ว่าไม้ไผ่สีสุก การแสดงชุดนี้ได้ถูกน้ามาแสดงคร้ังแรกในรายการศรีสุขนาฏกรรมประพันธ์ บทโดยอาจารย์เสรี หวังในธรรม อาจารยอ์ าคม สายาคม ผเู้ ชย่ี วชาญดา้ นนาฏศิลป์ กรมศลิ ปากร เป็นผปู้ ระดิษฐท์ า่ ร้า และ ได้ถา่ ยทอดทา่ รา้ ใหก้ บั อาจารยไ์ พฑูรย์ เขม้ แขง็ ผูเ้ ช่ียวชาญการสอนนาฎศลิ ป์ วทิ ยาลัยนาฏศิลป สถาบนั บณั ฑิตพัฒนศลิ ป์ กระทรวงวฒั นธรรม ๑๗
บทรอ้ งและทำนองเพลง -ปพ่ี าทยท์ ้าเพลงเชิดฉ่งิ - -รอ้ งเพลงเห่เชดิ ฉงิ่ - รงั สฤษฏเ์ วฬพุ ฤกษาชาติ สณั ฐานเรยี วเขียวสะอาดสดใส เป็นคนั ศรงอนงามอา้ ไพ ฤทธ์ไิ กรเพยี งเทพศาสตรา -ป่พี าทยท์ ้าเพลงศรทนง- เสร็จแล้วรองพลังอาวุธ น้าวด้วยมกุฎพาหา เกดิ แสงแวววาบปลาบตา สะทา้ นแตช่ น้ั ฟา้ ถึงดนิ ดอน -ป่ีพาทยท์ า้ เพลงศรพระลกั ษณ์- เดชะอา้ นาจสุรารักษ์ สิทธศิ ักดิ์ไม่มที ยี่ ่อย่อน คนั ศรหักยับลงกบั กร เปน็ สองทอ่ นด้วยอ้านาจเทวา -ป่ีพาทยท์ า้ เพลงศรส้าเรจ็ - -ร้องรา่ ย- ทรงขว้างไมไ้ ผท่ อ่ นปลาย กลายเป็นวานรเกง่ กล้า ทอ่ นโคนขวา้ งไปในพริบตา กลายเปน็ อสุราฤทธี -ป่ีพาทยท์ า้ เพลงรวั สามลาแลว้ เชิด- ๑๘
กำรแสดงชุดที่ ๕ ลงสรงทำ้ วมำลีวรำช แสดงโดย นายชญานนท์ ธรรมชาติ ผถู้ ำ่ ยทอดทำ่ รำ อาจารย์ ดร.ธีรเดช กลน่ิ จันทร์ ประวตั คิ วำมเปน็ มำ การแสดงชุด ลงสรงท้าวมาลีวราช เป็นบทลงสรงของตัวละครท้าวมาลีวราช ในเร่ือง รามเกียรติ์ ตอน ท้าวมาลีวราชว่าความ กล่าวถึงทศกัณฐ์ท้าศึกมีแต่พ่ายแพ้พระรามจนสูญเสีย ญาตมิ ติ ร ทศกัณฐ์กลัดกลุ้มเป็นอย่างมากจึงนึกขึ้นได้ว่ามีปู่ผู้มีวาจาสิทธ์ิ ทศกัณฐ์ก็เลยส่งนนยวิก กับวายุเวกข้ึนไปทูลท้าวมาลีวราชเพ่ือเสด็จลงมาสาปแช่งพระราม ในเหตุการณ์น้ีจึงมีการลงสรง ทรงเครอื่ งของทา้ วมาลีวราชเพอื่ จะเสด็จลงไปตัดสินความระหว่างพระรามและทศกัณฐ์ การแสดงชุดนี้เปน็ บทพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ท้านองเพลงและท่าร้าถูกน้ามาสร้างข้ึนใหม่โดย อาจารย์เสรี หวังในธรรม และท่านผู้หญิงแผ้ว สนทิ วงศ์เสนี ทา่ นผ้หู ญิงแผว้ สนทิ วงศเ์ สนี ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง ปีพุทธศักราช ๒๕๒๘ ได้ถ่ายทอดกระบวนท่าร้าให้กับ อาจารย์ธงชัย โพธยารมย์ ต่อมาอาจารย์ธงชัย โพธยารมย์ ได้ถ่ายทอดกระบวนท่าร้าให้กับ อาจารย์ ดร.ธีรเดช กลิ่นจันทร์ นาฏศิลปินอาวุโส (โขนพระ) ส้านกั การสังคีต กรมศิลปากร ๒๐
บทรอ้ งและทำนองเพลง -ปพี่ าทยท์ า้ เพลงเสมอ– -ร้องเพลงลงสรงโทน– ให้ไขท่อทิพยอ์ โนดาต สุหร่ายมาศโปรยปรายดง่ั สายฝน ทรงสคุ นธารสเสาวคนธ์ ปรงุ ปนเรณูสุมาลี สนับเพลารายพลอยแวววาว ภษู าขาวเชงิ รูปราชสหี ์ ชายไหวชายแครงเครือมณี ฉลององค์ขาวขจีฉลุลาย - ร้องเพลงชมตลาด – ตาบทศิ ทบั ทรวงดวงกุด่นั สังวาลวลั ย์มรกตสามสาย พาหรุ ดั ทองกรมังกรลาย ธา้ มรงค์เพชรพรายอรชร ทรงมหามงกฎุ เนาวรัตน์ กรรเจียกจรจ้ารัสประภัสสร จบั พระขรรคแ์ ก้วฤทธริ อน กรายกรมาขนึ้ พิชยั รถ -ปี่พาทย์ทา้ เพลงเสมอสามลา- -รัว- ๒๑
กำรแสดงชุดที่ ๖ ฉยุ ฉำยพรำหมณ์ แสดงโดย นายปริยาภรณ์ พนั ธไ์ ธสง ผู้ถ่ำยทอดท่ำรำ อาจารย์นรชี ล สวนสา้ ราญ ประวัติควำมเปน็ มำ การแสดงฉุยฉายพราหมณ์ อยู่ในการแสดงเบิกโรง เรื่อง พระคเณศเสียงา บทพระราช นิพนธ์ในพระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๖ ได้โปรดเกล้าฯ ให้น้าออกแสดงคร้ัง แรกในงานฉลองพระสุพรรณบัฏ ของจางวางเอก นายพลโท เจ้าพระยารามราฆพ ในวันท่ี ๓๐ ธนั วาคม พุทธศักราช ๒๔๖๔ พระยานัฏกานุรักษ์ (ทองดี สุวรรณภารต) ผู้ประดิษฐ์ท่าร้าฉุยฉายพราหมณ์ได้ถ่ายทอดท่า ร้าฉุยฉายพราหมณ์ให้แก่ หลวงไพจิตรนันทการ (ทองแล่ง สุวรรณภารต) ปัจจุบันเป็นผลงานการ ปรับปรุงท่าร้าของ อาจารย์ลมุล ยมะคุปต์ อดีตผู้เช่ียวชาญการสอนนาฏศิลป์ วิทยาลัยนาฏศิลป กรมศิลปากร ได้ถ่ายทอดท่าร้าให้แก่ รองศาสตราจารย์.ดร.ศุภชัย จันทร์สุวรรณ์ ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง พุทธศักราช ๒๕๔๘ ได้ถ่ายทอดกระบวนท่าร้า ให้แก่ อาจารย์นรีชล สวน ส้าราญ ครูช้านาญการ โขนพระ วิทยาลัยนาฏศิลปร้อยเอ็ด สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ กระทรวง วัฒนธรรม ๒๓
บทรอ้ งและทำนองเพลง - ปพี่ าทย์ทา้ เพลงรวั - - ร้องเพลงฉุยฉาย - ฉยุ ฉายเอย ชา่ งงามข้าช่างรา้ โยกย้าย สะเอวแสนออ่ นอรชรช่วงกาย วจิ ติ รย่งิ ลายท่คี นประดษิ ฐ์ สองเนตรคมขา้ แสงดา้ มันขลับ ชมอ้ ยเนตรจบั ชา่ งสวยสุดพิศ -ปี่พาทยร์ บั - สุดสวยเอย ย่ิงพิศย่งิ เพลนิ เชญิ ใหง้ งงวย งามหตั ถง์ ามกรกอ็ อ่ นระทวย ชา่ งนาดช่างนวยสวยยวั่ นยั นา ทง้ั หตั ถ์ทง้ั กรกฟ็ ้อนถกู แบบ ดูยลดแู ยบสวยยง่ิ เทวา -ปีพ่ าทยร์ บั - - ร้องแมศ่ รี - น่าชมเอย น่าชมเจา้ พราหมณ์ ดูทัว่ ตวั งาม ไมท่ รามจนนิด ดูผุดดผู ่อง เหมอื นทองทาติด ยงิ่ เพ่งยิง่ พศิ ยง่ิ คดิ ชมเอย -ปพี่ าทย์รับ- น่ารักเอย น่ารกั ดรณุ เหมอื นแรกจะรุ่น จะรเู้ ดยี งสา เจ้าย้ิมเจา้ แย้ม แกม้ เหมือนมาลา จ่อจติ ตดิ ตา เสียจรงิ เจา้ เอย -ปี่พาทยร์ ับ- - ป่ีพาทยท์ ้าเพลงเรว็ ลา - ๒๔
กำรแสดงชดุ ที่ ๗ ฉยุ ฉำยเบญกำย แสดงโดย นางสาวก่ิงไผ่ นาใจดี ผถู้ ่ำยทอดท่ำรำ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์วรางคณา วฒุ ิชว่ ย ประวัตคิ วำมเปน็ มำ ฉุยฉายเบญกาย เปน็ ชดุ การแสดงรา้ เดย่ี วตัวนางอยู่ในการแสดงโขน เรื่องรามเกียรต์ิ ตอน นางลอย กล่าวถึงนางเบญกายเป็นบุตรีของพิเภกกับนางตรีชฎา นางจึงมีฐานะเป็นพระธิดาของ พระญาติวงศ์แห่งนครลงกา ครั้งหนึ่งทศกัณฐ์ผู้มีศักด์ิเป็นลุง ได้ออกอุบายให้นางเบญกายแปลง เป็นนางสีดา ท้าเป็นตายลอยน้าไปยังพลับพลาของพระราม เพื่อให้พระรามเข้าใจผิดว่านางสีดา ตายแล้วจะได้ยกทัพกลับไป เมื่อนางเบญกายแปลงกายเป็นนางสีดาแล้วจึงเกิดความภาคภูมิใจ ในร่างแปลงท่ีแต่งองค์ทรงเคร่ืองสวยงดงามและท่วงทีกิริยางดงามเหมือนนางสีดาจึงเข้าเฝ้า ทศกัณฐ์เพื่ออวดความงามของตน อาจารย์ผู้ประดิษฐ์ท่าร้า หม่อมครูนุ่ม นวรัตน์ ณ อยุธยา เมื่อคร้ังฝึกละครอยู่ที่วัง สวนกุหลาบ เป็นผู้ถ่ายทอดกระบวนท่าร้าให้กับ อาจารย์เฉลย ศุขะวณิช ผู้เชี่ยวชาญการสอน นาฏศิลป์ไทย วิทยาลัยนาฏศิลป กรมศิลปากร ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง ปี พุทธศักราช ๒๕๓๐ เป็นผู้ถ่ายทอดกระบวนท่าร้าให้กับ อาจารย์จ้าเรียง พุทธประดับ ศิลปิน แห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง พุทธศักราช ๒๕๓๑ และได้ถ่ายทอดกระบวนท่าร้าให้กับ ผู้ช่วยศาสตราจารย์วรางคณา วุฒิช่วย ผู้ช่วยอธิการบดี ฝ่ายศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัย ราชภัฏอุบลราชธานี ๒๖
บทร้องและทำนองเพลง -ปพ่ี าทย์ทา้ เพลงรวั - -รอ้ งเพลงฉุยฉาย- ฉยุ ฉายเอย จะขน้ึ ไปเฝา้ เจ้าก็กรีดกราย เย้ืองยา่ งเจ้าชา่ งแปลงกาย ใหล้ ะเมียดละมา้ ยสดี านงลักษณ์ ถึงพระรามเหน็ ทรามวยั จะฉงนพระทยั ใหอ้ ะเหลื่ออะหลัก -ป่ีพาทย์รับ- งามนักเอย ใครเหน็ พมิ พ์พักตร์ก็จะรกั จะใคร่ หลับก็จะฝนั ครนั้ ต่ืนกจ็ ะคิด อยากเห็นอีกสักนดิ หน่ึงให้ช่นื ใจ งามคมดุจคมศรชยั ถูกนอกทะลุในให้เจ็บอรุ า -ปี่พาทยร์ บั - -ร้องแมศ่ ร-ี แม่ศรเี อย แม่ศรีรากษสี แม่แปลงอินทรีย์ เป็นแมศ่ รีสีดา ทศพกั ตรม์ าลักเห็น จะตื่นจะเต้นในวญิ ญา เหมือนลอ้ เล่นใหเ้ ป็นบ้า ระอาเจ้าแมศ่ รีเอย -ปพี่ าทยร์ บั - อรชรเอย อรชรอ้อนแอน้ เอวขาแขนแมน แม้นเหมือนกินนรี ระทวยนวยนาด วลิ าสจรลี ข้ึนปราสาทมณี เฝ้าพระปติ ลุ าเอย -ปพี่ าทย์รับ- -ปพ่ี าทย์ท้าเพลงเร็ว ลา- ๒๗
กำรแสดงชุดท่ี ๘ เชดิ ฉ่งิ ศภุ ลักษณ์ แสดงโดย นางสาวสุพตั รา กางแม ผถู้ ่ำยทอดท่ำรำ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์วรางคณา วฒุ ชิ ว่ ย ประวัตคิ วำมเป็นมำ การแสดงชุดเชิดฉิ่งศุภลักษณ์ ปรากกฎอยู่ในบทละครเร่ืองอุณรุท ตอนศุภลักษณ์วาดรูป เป็นบทพระราชนิพนธ์ของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช กล่าวถึงคราวหน่ึง พระไทรอุ้มพระอุณรุท มาสมสู่กับนางอุษาที่เมืองรัตนา แล้วพากลับไปคืนท่ีใต้ต้นไทร ปล่อยให้ นางอษุ าคร้่าครวญหาชายนริ นามในคนื น้ัน จนนางศุภลกั ษณ์ซึ่งเป็นหน่ึงในพระพเ่ี ล้ยี งไดส้ งั เกตเห็น จงึ เฝา้ ปลอบถาม นางอุษาจึงเล่าให้ฟัง นางศุภลักษณ์เป็นพระพี่เลี้ยงท่ีฉลาดและ มีความสามารถ คนหนงึ่ ประกอบทัง้ เปน็ ผู้มีศิลปะในการวาดรูป จึงรับอาสานางอุษาเท่ียวเหาะไปทุกสวรรค์ช้ันฟ้า เที่ยววาดรูปเทวดา และกษัตริย์เมืองต่างๆมาให้นางอุษาดู ว่าเป็นคนเดียวกับ ผู้ที่มาร่วมแท่น บรรจถรณห์ รอื ไม่ แล้วไปเทย่ี ววาดรปู มนษุ ย์ผู้มีฤทธิ์ย่ิงใหญ่ในโลกมนุษย์ มาให้นางอุษาตรวจดูอีก ถึง ๓ คร้ัง จนได้รู้ว่าเป็นพระอุณรุท ในตอนวาดรูปนี้ได้มีกระบวนท่าร้าท่ีก้าหนดไว้ส้าหรับตัว ละครศุภลกั ษณโ์ ดยเฉพาะ คือ เชิดฉ่ิงศุภลักษณ์ ร้าเชิดฉิ่งศุภลักษณ์ ฉบับหม่อมครูนุ่ม นวรัตน์ ณ อยุธยา ผู้ช่วยศาตราจารย์วรางคณา วุฒิช่วย ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี ได้รับการ ถ่ายทอดท่าร้าจากอาจารย์เฉลย ศุขะวณิช ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง ปีพุทธศักราช ๒๕๓๐ ๒๙
กำรแสดงชุดท่ี ๙ ดรสำทรงเครอื่ ง แสดงโดย นางสาวสาวินี กะสินัง ผู้ถ่ำยทอดท่ำรำ อาจารยค์ ทั ลยี า ประกอบผล ประวตั ิควำมเป็นมำ การแสดงชดุ ดรสาทรงเครือ่ ง เป็นการแสดงทีอ่ ย่ใู นละครในเรอื่ งอเิ หนา ตอนดรสาแบหลา บทพระราชนพิ นธใ์ นพระบาทสมเด็จพระพุทธเลศิ หลา้ นภาลัย รัชกาลท่ี ๒ เนื้อเร่ืองได้กล่าวถึงนาง ดรสาผ้เู ป็นพระชายาของระตูบุศสหิ นา ครง้ั ถงึ เหตกุ ารณ์ระตบู ุศสหิ นาสรู้ บกับปันหยี ระตูบุศสิหนา ได้พ่ายแพ้ต่อปันหยีและสิ้นพระชนม์ลง นางดรสาเสียใจมากจึงท้าพิธีแบหลา ฆ่าตัวตายตามพระ สวามี ดรสาทรงเครื่องนีเ้ ป็นการแสดงถงึ การอาบน้าแต่งตัวเพื่อเข้าสู่พิธีแบหลาท่ีมีลีลางดงามตาม แบบละครใน การแสดงชุดนี้ อาจารย์เฉลย ศุขะวณิช ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง ปี พุทธศักราช ๒๕๓๐ ได้รับการสืบทอดจากวังสวนกุหลาบ จึงได้น้ามาถ่ายทอดให้กับอาจารย์ กรรณิการ์ วีโรทัย ผู้เช่ียวชาญด้านนาฏศิลป์ไทย สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ และได้ถ่ายทอด กระบวนทา่ รา้ ให้กบั อาจารย์คทั ลยี า ประกอบผล อาจารย์ประจ้าคณะศิลปะนาฏดุริยางค์ สถาบัน บณั ฑติ พัฒนศิลป์ กระทรวงวฒั นธรรม ๓๑
บทร้องและทำนองเพลง -ปี่พาทยท์ ้าเพลงตน้ เข้ามา่ น- -ร้องรือ้ ร่าย- เมื่อนั้น นวลนางดรสามารศรี แจ้งวา่ ศพพระสวามี เชญิ มาถึงทพ่ี ระเมรุทอง -รอ้ งเพลงชมตลาด- จึงสระสรงทรงสา้ อางอินทรีย์ วารชี ้าระลา้ งหม่นหมอง ขดั ขมิน้ หนนุ เนอ้ื นวลละออง ทรงสุคนธป์ นทองอไุ รเรอื ง หวเี กศกันไรใส่กรอบหนา้ จอนจินดาแวววบั ประดบั เฟื่อง กณุ ฑลหอ้ ยพลอยเพชรค่าเมอื ง อรา่ มเรอื งรุ้งรว่ งดงั ดวงดาว บรรจงทรงภูษาสเี ศวต สไบปกั ทองเทศพ้นื ขาว ทองกรสุรกานต์สงั วาลวาว สะอ้งิ แก้วแพรวพราวพรายตา ธ้ามรงค์ทรงสอดนวิ้ พระหัตถ์ เพชรรัตนพ์ รรณรายทง้ั ซ้ายขวา ครน้ั เสรจ็ เสดจ็ ลลี า ลงจากพลบั พลาพนาลยั -ปพ่ี าทย์ทา้ เพลงเสมอ- ๓๒
กำรแสดงชดุ ท่ี ๑๐ ย่ำหรนั ตำมนกยงู แสดงโดย นายทรรศเทพ ศรมี ี นางสาววิไลรกั ษ์ จนั ทกิจ ผู้ถ่ำยทอดท่ำรำ อาจารยว์ นิตา กรินชยั อาจารย์วรวรรณ พลบั ประสทิ ธิ์ ประวัติควำมเป็นมำ การแสดงชุดยา่ หรนั ตามนกยูง เปน็ การแสดงที่อยู่ในการแสดงละครใน เร่ือง อิเหนา ตอน ย่าหรันตามนกยูง บทพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลท่ี ๒ กล่าวถงึ สยี ะตราอนชุ าของนางบุษบา เกิดความคิดถึงนางบุษบาและอิเหนาเป็นอย่างมาก จึงออก อุบายทูลท้าวดาหาออกประพาสป่าเพื่อติดตามหานางบุษบา โดยปลอมตนเป็นโจรป่าและได้ เปลีย่ นชอ่ื เป็นยา่ หรนั ดว้ ยความตามหานางบษุ บาและอเิ หนาเปน็ เวลานาน จึงเดือดร้อนไปถึงองค์ ประตาระกาหลาซึ่งมีศักดิ์เป็นปู่ของสียะตราได้แปลงองค์เป็นนกยูงมาหลอกล่อชักจูงให้ย่า หรัน ติดตามจนกระทั่งเดนิ ทางไปถึงเมอื งกาหลงั จนไดพ้ บกบั อเิ หนาและบษุ บา การแสดงชุดย่าหรันตามนกยูง ท่านผู้หญิงแผ้ว สนิทวงศ์เสนี ศิลปินแห่งชาติ สาขา ศิลปะการแสดง ปีพุทธศักราช ๒๕๒๘ ได้ถ่ายทอดให้กับอาจารย์ศิริวัฒน์ ดิษยนันท์ ศิลปิน แหง่ ชาติ สาขาศลิ ปะการแสดง ปพี ุทธศักราช ๒๕๔๑ และอาจารย์จินดารัตน์ วิริยะวงศ์ อดีตนาฏ ศิลปินอาวุโส ส้านักการสังคีต กรมศิลปากร ต่อมาได้ถ่ายทอดให้กับอาจารย์วนิตา กรินชัย นาฏ ศลิ ปินอาวโุ ส ส้านักการสังคีต กรมศิลปากร และอาจารย์วรวรรณ พลับประสิทธ์ิ อดีตนาฏศิลปิน อาวุโส สา้ นักการสงั คตี กรมศิลปากร ในล้าดับต่อมา ๓๔
บทรอ้ งและทำนองเพลง -ปี่พาทย์ท้าเพลงเชิด- -ร้องเพลงเชิดฉงิ่ - เมอื่ นนั้ บหุ รงสุรารกั ษป์ ักษี เหน็ ยา่ หรนั ดัน้ ดดั พนาลี ควบขบั พาชตี ามมา -ปพ่ี าทย์รับเพลงเชดิ ฉงิ่ - จึงโผผินบนิ ไปให้ห่าง แล้วเยื้องย่างหยดุ ยืนคอยทา่ ฟ้อนรา้ ท้าทกี ิรยิ า ปักษาแกล้งลอ่ รอรัง้ -ปพ่ี าทย์ทา้ เพลงเชดิ จนี ตัวสาม- -ป่พี าทย์ทา้ เพลงเชิด- ๓๕
กำรแสดงชุดที่ ๑๑ วนั ทองแตง่ ตัว แสดงโดย นางสาวกรรณิการ์ วนั จงคา้ ผู้ถำ่ ยทอดทำ่ รำ ผู้ช่วยศาสตราจารยว์ รางคณา วุฒิชว่ ย ประวัตคิ วำมเป็นมำ วันทองแต่งตัวเป็นการแสดงร้าเด่ียวตัวนาง อยู่ในการแสดงละครเสภา เรื่อง ขุนช้าง ขุนแผน ตอน พระไวยแตกทัพ กล่าวถึงขุนแผนแค้นใจท่ีพระไวยหลงเสน่ห์นางสร้อยฟ้า จึงให้ พลายชมุ พลลูกชายอันเกิดจากนางแก้วกิริยาปลอมเป็นมอญยกทัพมาตีกรุงศรีอยุธยา ขุนแผนจะ ได้ออกไปรบแลว้ แกลง้ แพเ้ พ่ือใหพ้ ลายชมุ พลจับได้ พระพันวษา จงึ มีรับสง่ั ใหพ้ ระไวยยกกองทัพไป ต่อสู้เพ่ือเอาตัวขุนแผนคืนมา นางวันทองซึ่งตายไปเป็นเปรตสงสารลูกจึงต้องแปลงกายเป็น หญิงสาวมาห้ามทพั ไว้และเตอื นใหร้ ะวังตวั ผู้ประดิษฐท์ า่ ร้า หมอ่ มครูนมุ่ นวรัตน์ ณ อยุธยา เมอื่ ครั้งฝึกละครอยู่ที่วังสวนกุหลาบ เป็น ผถู้ า่ ยทอดกระบวนท่ารา้ ใหก้ ับ อาจารยเ์ ฉลย ศุขะวณิช ศลิ ปินแหง่ ชาติ สาขาศิลปะการแสดง ปีพุทธศักราช ๒๕๓๐ เป็นผู้ถ่ายทอดกระบวนท่าร้าให้กับ คุณครูจ้าเรียง พุทธประดับ ศิลปิน แห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง ปีพุทธศักราช ๒๕๓๑ และได้ถ่ายทอดกระบวนท่าร้าให้กับผู้ช่วย ศาสตราจารย์วรางคณา วุฒิช่วย ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏ อุบลราชธานี ๓๗
บทรอ้ งและทำนองเพลง -ป่พี าทยท์ ้าเพลงรัว- - ร้องเพลงชมตลาด- นวลละอองผ่องศรีฉวีขาว พึง่ แรกรุ่นรปู ราวกับนางหา้ ม มวยกระหมวดกวดเกลา้ เหมือนเจ้าพราหมณ์ ใส่สงั วาลประจ้ายามประดบั พลอย น่าเอน็ ดูใส่ต่างหูระยา้ เพชร แต่ละเม็ดสุกย่งิ กวา่ ห่งิ หอ้ ย ใสแ่ หวนงูมรกตชดชอ้ ย สวมสรอ้ ยปะวะหล่้ากา้ ไล นุง่ สังเวยี นพนื้ ม่วงดวงทอง หม่ ตาดลา้ ยองผอ่ งใส ใส่กรอบพักตร์วเิ ชยี รเจยี รนยั ทดั ดอกไมพ้ วงเพชรเมด็ พราย กา้ ไลเท้าทองปลง่ั ท้ังคู่ แลดูงามเลศิ เฉดิ ฉาย เย้ืองยา่ งยุรยาตรนาฎกราย รอ้ งฉยุ ฉายเสยี งเฉื่อยระเร่ือยมา -ปพี่ าทยท์ า้ เพลงเร็ว ลา- ๓๘
กำรแสดงชดุ ท่ี ๑๒ พลำยชมุ พลแตง่ ตวั แสดงโดย นายเชาวลติ คงขลิบ ผู้ถ่ำยทอดท่ำรำ อาจารยพ์ งษศ์ กั ดิ์ บญุ ลน้ ประวตั ิควำมเป็นมำ พลายชุมพลแตง่ ตัว เป็นการรา้ เดีย่ วซงึ่ อยู่ในละครเสภา เร่ืองขนุ ชา้ งขุนแผน ตอน พระไวยแตกทัพ กล่าวถึง หลังจากเหตุการณ์ท่ีนางสร้อยฟ้าท้าเสน่ห์ใส่พระไวย จนเกิดเร่ือง บาดหมางระหว่างขุนแผนกับพระไวย ขุนแผนจึงคิดแก้แค้นและสังหารพระไวยลูกชายท่ีดูหมิ่น เหยียดหยามตน และลา้ เลิกบุญคณุ ทช่ี ่วยขุนแผนออกจากคกุ ขุนแผนจึงได้ให้พลายชุมพล ลูกชาย ของตนซง่ึ เกดิ จาก นางแกว้ กรยิ า ธิดาเจ้าเมืองสุโขทัย และนัดแนะอุบายให้พลายชุมพลปลอมตน เป็นมอญ ยกทัพหุ่นพยนต์ ท้าทีให้ข่าวระบือไปว่า พวกมอญ ยกทัพมาตีกรุงศรีอยุธยา แต่ที่จริง แลว้ เปน็ ศึกการแกแ้ ค้นระหวา่ งพ่อกบั ลูกน้ันเอง พลายชุมพลแต่งตัว เป็นการแสดงท่ีกล่าวถึงการแต่งตัวของพลายชุมพลที่ปลอมตัวเป็น มอญ มีลลี าการรา้ แบบละครพันทาง เข้ากับการขับร้องและดนตรีส้าเนียงมอญ ตลอดจนแสดง ทกั ษะการใช้อาวุธยาว ไดแ้ ก่ หอกสัตะโลหะในการร่ายร้า ไปจนถึงการแสดงลีลาท่าทางการขี่ม้า ในเพลงอัศวลีลา กระบวนท่าร้าพลายชุมพล ท่านผู้หญิงแผ้ว สนิทวงศ์เสนี ศิลปินแห่งชาติ สาขา ศิลปะการแสดง (นาฏศิลป์ไทย) เป็นผู้คิดประดิษฐ์ท่าร้า โดยถ่ายทอดกระบวนท่าร้าให้แก่ อาจารย์พัชรา บัวทอง นาฎศิลปินอาวุโส ส้านักการสังคีต กรมศิลปากร และต่อมาได้ถ่ายทอด กระบวนทา่ รา้ ให้กับอาจารย์พงษ์ศกั ดิ์ บุญลน้ นาฏศลิ ปนิ อาวโุ ส สา้ นกั การสังคตี กรมศลิ ปากร ๔๐
บทรอ้ งและทำนองเพลง -ปีพ่ าทย์ท้าเพลงมอญดดู าว- แล้วจดั แจงแต่งกายพลายชมุ พล ปลอมตนเปน็ มอญใหมด่ ูคมสัน นุง่ ผ้าตาหมากรุกของรามัญ ใสเ่ สื้อลงยนั ตย์ ้อมวา่ นยา -ปพี่ าทย์รบั - คอผูกผ้าประเจียดของอาจารย์ โอมอ่านเสกผงผดั หนา้ คาดตะกรุดโทนทองของบดิ า โพกผา้ สที บั ทิมรมิ ขลบิ ทอง - ปพ่ี าทยร์ ับ- ถอื หอกสัตตะโลหะชนะชัย เหมอื นสมิงมอญใหม่ดูไวว่อง ขนุ แผนขีส่ ีหมอกออกลา้ พอง ชมุ พลข้ึนกะเลียวผยองน้าโยธา ฯ - ปพ่ี าทย์รบั - –ปีพ่ าทย์ท้าเพลงอศั วลีลา- ๔๑
กำรแสดงชดุ ท่ี ๑๓ ฉยุ ฉำยฮเนำ แสดงโดย นายวชั รนิ ทร์ โสดอน ผ้ถู ำ่ ยทอดทำ่ รำ รองศาสตราจารย์ ดร.ศุภชยั จันทรส์ ุวรรณ์ (ศิลปนิ แหง่ ชาติ) ประวตั คิ วำมเป็นมำ ฉุยฉายฮเนาเปน็ การแสดงชดุ หนง่ึ ในเรือ่ งเงาะปา่ บทพระราชนพิ นธ์ในพระบาทสมเด็จพระ จลุ จอมเกลา้ เจ้าอยู่หวั รชั กาลที่๕ ทรงพระราชนิพนธ์จากต้านานรักพื้นบ้านของชาวกอยหรือเงาะ อนั เปน็ เร่ืองโศกนาฏกรรมรกั สามเศรา้ ทไี่ ม่สมหวังระหว่าง ลา้ หับ ฮเนาและซมพลา เรื่องเงาะป่าน้ี จัดได้ว่าโศกนาฏกรรมแห่งความรักที่น่าประทับใจ เป็นตอนที่ฮเนาจะไปแต่งงานกับนางล้าหับ ความหมายของลีลาท่าร้าสื่อให้เห็นถึง ความอ่ิมเอมใจ ความภูมิใจในการแต่งกายของฮเนาผู้เป็น เจา้ บา่ วทจ่ี ะเขา้ พธิ แี ตง่ งานกบั นางล้าหบั การแสดงชุดนอี้ าจารยล์ มลุ ยมะคปุ ต์ ผู้เช่ยี วชาญการสอนนาฏศิลป์ไทย วทิ ยาลัยนาฏศิลป กรมศิลปากร ได้ถ่ายทอดกระบวนท่าร้าให้กับ อาจารย์อุดม กุลเมธพนธ์ อดีตข้าราชการบ้านาญ วิทยาลัยนาฏศลิ ป กรมศลิ ปากร และไดถ้ ่ายทอดกระบวนท่ารา้ ให้กับ รองศาสตราจารย์ ดร.ศุภชัย จนั ทร์สุวรรณ์ ศลิ ปนิ แห่งชาติ สาขาศลิ ปะการแสดง พทุ ธศกั ราช ๒๕๔๘ ในล้าดบั ต่อมา ๔๓
บทรอ้ งและทำนองเพลง -ปี่พาทย์ทา้ เพลงรัว- -ร้องเพลงฉยุ ฉาย- ฉยุ ฉายเอย ผา้ หอ้ ยปลอ่ ยกระจายแต่ใจชายยงั ร้ิวริ้ว นงุ่ โมรีสแี ดงฉุดฉาด ขาวม้าเขยี วคาดเขา้ ไวอ้ อกติว้ ลมพัดสะบดั ตอ้ งฟอ่ งปลิว หญงิ หรอื จะไมล่ ่วิ ตดิ ค้ิวพรู -ป่พี าทย์รับ- อกเต้นเอย ทกั ทักทกึ ทึกนึกเขมน่ จะใคร่เหน็ เจา้ ทรามวยั ได้พบในฝันมันไมเ่ หมอื นจริง ใจเจ้าจะนิ่งอยไู่ ดไ้ ฉน หนา้ กรมุ้ กรม่ิ ยิ้มละไม จะซ่อนเท่าไร มันไมม่ ดิ เมน้ -ปพ่ี าทยร์ ับ- -รอ้ งเพลงแมศ่ รี- แมศ่ รีเอย แมศ่ รบี านเยน็ พี่ไดเ้ คยเหน็ นัง่ กับแม่ฮอยเงาะ แมแ่ กนิ่วหนา้ น้าตาลงเผาะเผาะ งอนง้อฉอเลาะ เหลอื นะแมศ่ รเี อย -ปีพ่ าทยร์ บั - แม่รวยเอย แมร่ วยระรื่น เม่อื ยาวแชม่ ช่ืน ซ่อนยม้ิ ยวนยี ยักย้ิมมนั ยังฟอ้ ง วา่ นางนอ้ งเจ้ายนิ ดี นา่ รกั เตม็ ที แมร่ วยระร่นื เอย -ปพี่ าทย์รับ- -ป่ีพาทย์ท้าเพลงเรว็ ลา- ๔๔
กำรแสดงชดุ ที่ ๑๔ ปเู่ จ้ำเรียกไก่ แสดงโดย นายสมเกียรติ มหาราช ผู้ถำ่ ยทอดท่ำรำ อาจารยร์ ตั ติยะ วกิ สติ พงศ์ (ศลิ ปินแหง่ ชาต)ิ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์บวรนรรฏ อัญญะโพธ์ิ ประวตั ิควำมเป็นมำ การแสดงชุดปเู่ จา้ เรยี กไก่ เปน็ การรา้ เดย่ี วแบบมาตรฐานชุดหน่ึง อยู่ในละครพันทาง เรื่อง พระลอ ตอนปู่เจ้าเรียกไก่ การแสดงชุดน้ี กล่าวถึงตอนที่ปู่เจ้าสมิงพรายได้ตอบรับช่วยเหลือพระ เพ่ือนพระแพง โดยรา่ ยมนต์เรียกฝงู ไก่ในปา่ เม่อื ไกม่ าป่เู จ้าสมิงพรายได้เลือกไก่ตัวหน่ึงเรียกว่า ไก่ แก้ว แล้วส่ังวิญญาณภูตผีสิงลงในไก่น้ัน ให้ไปหลอกล่อดลใจให้พระลอติดตามมา เพ่ือไปพบพระ เพื่อนพระแพง เจ้าจอมมารดาเขียน ในรัชกาลที่ ๔ เป็นผู้ประดิษฐ์ท่าร้า และได้ถ่ายทอดท่าร้าให้กับ อาจารยล์ มุล ยมะคปุ ต์ อดีตผู้เชี่ยวชาญการสอนนาฎศิลป์ วิทยาลัยนาฏศิลป กรมศิลปากร ต่อมา ได้ถ่ายทอดท่าร้าให้กับ อาจารย์รัตติยะ วิกสิตพงศ์ ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง ปี พุทธศักราช ๒๕๖๐ ได้น้ามาถ่ายทอดให้กับ ผู้ช่วยศาสตราจารย์บวรนรรฏ อัญญะโพธิ์ อาจารย์ ประจา้ คณะศลิ ปศึกษา สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ ในลา้ ดบั ต่อมา ๔๖
บทรอ้ งและทำนองเพลง -ปพี่ าทยท์ า้ เพลงท้ายวา- -ร้องเพลงลาวพงุ ขาว- มาจะกล่าวบทไป ถงึ ปเู่ จา้ จอมเทวะสงิ ขร สงสารเพอื่ นแพงน้องสองบงั อร เฝา้ อาวรณ์หว่ันคะนงึ ถึงพระลอ ให้นางโรยนางร่ืนขนึ้ มาเรา้ จา้ จะเอาไกง่ ามไปตามลอ่ ใหร้ บี มาเหมอื นหวงั ไม่รง้ั รอ จะไดพ้ อใจปองสองอนงค์ ตริพลางทางปยู่ ุรยาตร จากแทน่ ทพิ วาสเรืองระหง งามเฉกวชิรราชอาจองค์ เสด็จลงหนา้ ฉานศาลเทวา -ปี่พาทย์ทา้ เพลงเสมอลาว- -ร้องเกริ่นลาว- ปกู่ ระสันถึงไก่ในไพรพฤกษ์ ปรู่ า้ ลึกถึงไกไ่ กก่ ็มา บ่ฮ้กู ่ีคณากห่ี มู่ ปู่เลือกไกต่ ัวงาม ทรงทรามวยั ทรามแรง -ร้องเพลงลาวจอ้ ย- สร้อยแสงแดงพระพราย ขนเขยี วลายระยับ ปีกสลับเบญจรงค์ เลื่อมลายยงหงสะบาท - ปพ่ี าทยร์ ับ- ขอบตาชาดพระพริ้ง สิงคลิง้ หงอนพรายพรรณ ขานขนั เส่ยี งเอาใจ เดือยหงอนใสสลี า้ ยอง - ปี่พาทย์รบั - สองเทา้ เทียมนพมาศ ปานฉลุชาดทารง ปู่กใ็ ชใ้ ห้ผีลง ผีกล็ งแกไ่ ก่ - ปี่พาทย์รับ - ไก่แกว้ ไซร้บม่ กิ ลัว ขุกผกหัวองอาจ ผาดผันตปี ีกปอ้ ง รอ้ งเรอื่ ยเฉอื่ ยฉาดฉาน - ปี่พาทย์รบั - เสยี งขนั ขานแจว้ แจว้ ปูส่ งั่ แล้วทกุ ประการ บมนิ านผาดโผนผยอง โลดลา้ พองคะนองบหงึ - ปพี่ าทย์รับ - มุ่งมนั่ ถงึ พระเรืองลอ ยกคอขนั ขานรอ้ ง ตีปีกปอ้ งผายผัน ขันเรอื่ ยเจ้ือยไจ้ไจ้ - ปีพ่ าทยร์ ับ - แล้วไซร้ปกี ไซร้หาง โฉมสา้ อางค์สา้ อาจ กรีดปกี วาดเวียดเยา้ คอยล่อพระลอเจา้ จกั ต้องด้าเนินแลนา -ปพ่ี าทยท์ ้าเพลงรวั - -ป่ีพาทย์ท้าเพลงเชิด- ๔๗
กำรแสดงชดุ ท่ี ๑๕ พระลอตำมไก่ แสดงโดย นายนวพล พรมเลิศ นางสาวณฐั มล กลุ พิลา ผู้ถำ่ ยทอดท่ำรำ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ขวญั ใจ คงถาวร อาจารยเ์ ปรมใจ เพ็งสุข ประวัตคิ วำมเป็นมำ พระลอตามไก่ เป็นการแสดงท่ีอยู่ในละครเร่ือง พระลอ ตอน ตามไก่ บทพระนิพนธ์ของ พระเจ้าบรมวงศเ์ ธอกรมพระนราธปิ ประพันธ์พงศ์ การแสดงชดุ นี้ไดก้ ล่าวถงึ พระเพอ่ื นพระแพง ที่เกิดความกระวนกระวายต้องการให้พระลอ เดินทางมาพบโดยเรว็ จึงได้ให้นางโรยนางร่ืนไปขอความช่วยเหลือจากปู่เจ้าสมิงพราย ปู่เจ้าจึงได้ เสกไก่แก้วเพือ่ หลอกล่อพระลอใหเ้ สด็จมายังอุทยานเมืองสรองเรว็ ขึ้น เจ้าจอมมารดาเขียนในรัชกาลท่ี ๔ เป็นผู้ประดิษฐ์ท่าร้า และได้ถ่ายทอดท่าร้าให้กับ อาจารย์ ลมุล ยมะคุปต์ ผู้เช่ียวชาญการสอนนาฏศิลป์ไทย วิทยาลัยนาฏศิลป กรมศิลปากร และ อาจารย์เฉลย ศุขะวณิช ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง ปีพุทธศักราช ๒๕๓๐ ต่อมาได้ ถา่ ยทอดท่ารา้ ใหก้ บั อาจารย์เวณกิ า บุนนาค ศลิ ปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง ปีพุทธศักราช ๒๕๕๘ และอาจารย์จ้าศีล จันทร์ฉาย ข้าราชการบ้านาญวิทยาลัยนาฏศิลป สถาบันบัณฑิตพัฒน ศลิ ป์ ได้ถ่ายทอดให้กบั ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.ขวัญใจ คงถาวร รองคณบดีคณะศิลปนาฏดุริยางค์ สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ และอาจารย์เปรมใจ เพ็งสุข ครูช้านาญการพิเศษ วิทยาลัยนาฏศิลป สถาบนั บณั ฑติ พฒั นศิลป์ ในลา้ ดับตอ่ มา ๔๙
Search