Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ส่วนที่2-แบบรายงานการวิจัย(ว-สอศ.-3)std tracking2562

ส่วนที่2-แบบรายงานการวิจัย(ว-สอศ.-3)std tracking2562

Published by krufahmai, 2019-12-14 23:52:07

Description: ส่วนที่2-แบบรายงานการวิจัย(ว-สอศ.-3)std tracking2562

Search

Read the Text Version

แบบรายงานการวิจยั (ว-สอศ.-3) รายงานผลโครงการวิจยั เร่ือง ระบบตดิ ตามการเขา รว มกจิ กรรมนักเรียนนักศึกษา Student Activities Tracking System นางสาวอรนชิ า เชยี งของ นางสาวศรุตตญิ า แกว ขาว นางสาวปาริฉตั ร กนั ธิยาใจ นางสาวปรชิ าติ จนั มะโน นางสาวศริ ญิ าภรณ ปดุ ทะวงค และคณะ ประจำปก ารศกึ ษา 2562 ปพทุ ธศกั ราช 2562 - 2563 วทิ ยาลยั เทคโนโลยแี ละการจัดการ กฟผ. แมเมาะ อาชีวศึกษาจงั หวดั ลำปาง สำนกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา กระทรวงศึกษาธกิ าร

ก หวั ขอวจิ ัย ระบบติดตามการเขารวมกิจกรรมนักเรยี นนกั ศกึ ษา ผดู ำเนินการวจิ ยั นางสาวอรนิชา เชยี งของ และคณะ ทีป่ รึกษา นายการุญ พรหมประกอบ นายวรี ะวัฒน จนั ละ หนว ยงาน สาขาวิชาคอมพิวเตอรธ ุรกจิ วิทยาลัยเทคโนโลยแี ละการจดั การ กฟผ. แมเ มาะ ป พ.ศ. 2562 บทคัดยอ การศึกษาคนควา และพัฒนาระบบติดตามการเขารวมกิจกรรมนักเรียนนักศึกษา มีวัตถุประสงคเพื่อพัฒนาระบบเว็บแอพพลิเคชันสำหรับบันทึก และรายงานสรุปขอมูลการเขารวม กจิ กรรมของนักเรียน นักศกึ ษา ซ่ึงชว ยอำนวยความสะดวก ในการตรวจสอบ และดูขอมลู การเขารวม กิจกรรมยอ นหลัง เพอ่ื ตดิ ตามและดูแลพฤติกรรมของนกั เรยี นนกั ศึกษา ชว ยในการพัฒนากจิ กรรมการ เรยี นการสอนใหม ปี ระสิทธภิ าพ ระบบทไี่ ดพ ฒั นานอ้ี ยใู นรปู แบบเว็บแอพพลิเคชันใชง านบนระบบเครือขายอินเทอรเน็ต โดย ไดผานกระบวนการวเิ คราะห ขอ กำหนด เง่ือนไขความตองการ และออกแบบการทำงานใหส อดคลอง กับการปฏิบัติงานจริง และมีการรักษาความลับของขอมูล โดยระบบจะกำหนดใหผูใชงานตองยนื ยัน สทิ ธดิ ว ยการปอนขอ มลู ผใู ชงาน และรหัสผา น การพัฒนาระบบไดใชภาษาเอชทเี อ็มแอล (HTML5) รวมกบั ภาษาพีเอชพี (PHP) และระบบ จัดการฐานขอมูลมายเอสคิวแอล (MySQL) จากการทดสอบการทำงานของระบบดวยขอมูลจริง บางสว นน้ัน พบวาการทำงานของระบบสามารถทำงานไดอ ยางถูกตอ ง และเปนไปตามวตั ถุประสงคท่ี ไดก ำหนดไว

ข Research Title Student Activities Tracking System Researcher Miss.Onnicha Chiangkhong and team Research Consultants Mr.Garun Prompagob Weerawat Chanla Organization Business Computer Department MaeMoh EGAT the College of Technology and Management Year 2019 Abstract The main objective of this study entitled “Student Activities Tracking System” was to develop a system for take note about student join college activities and reported. The system intended to facilitate for teacher in checked some student absent. In checking, it was show information about student to join college activities and past, and developed for effective to teach and learn. The System was designed as a web-based application on the internet. The step of requirement analysis and system design ware taken during software development to satisfy the group of user and personal security and privacy. The system was implemented by the use of HTML5, PHP and MySQL. The tested result of the study showed that the developed system supported all tasks and satisfactorily as intended.

ค กิตติกรรมประกาศ งานวิจัย ระบบติดตามการเขารวมกิจกรรมนักเรียน นี้สำเร็จลุลวงไปไดดวยดี คณะผูวิจัย ขอขอบคุณวิทยาลัยเทคโนโลยีและการจัดการ กฟผ. แมเมาะ ที่ไดสนับสนุนทุนในการทำวิจัย ขอขอบคุณคณะที่ปรึกษา นายการุญ พรหมประกอบ และคณะครูสาขาวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจทุก ทา น ทกี่ รณุ าใหค ำปรกึ ษาแนะนำและใหข อ คิดเหน็ ในการศกึ ษาวจิ ัย ในครัง้ น้ี ประโยชนอันไดที่เกิดจากการวิจัยนี้ ยอมเปนผลมาจากความกรุณาของทุกทานดังกลาว ขา งตน คณะผูว จิ ัยรูส กึ ซาบซ้งึ เปน อยางย่งิ จึงใครขอขอบคณุ เปน อยา งสูงไว ณ โอกาสนี้ คณะผูว จิ ยั 2562

ง สารบญั บทคดั ยอ ภาษาไทย หนา บทคดั ยอ ภาษาอังกฤษ ก กติ ติกรรมประกาศ ข สารบัญ ค สารบัญตาราง ง สารบญั ภาพ ฉ ช บทท่ี 1 บทนำ ความเปนมาและความสำคัญ 1 บทท่ี 2 วัตถปุ ระสงคของการวิจัย 2 บทท่ี 3 2 บทที่ 4 ขอบเขตการวิจัย 2 บทท่ี 5 2 ขอจำกัด 3 คำจำกัดความที่ใชในงานวิจัย 4 5 ประโยชนท ีค่ าดวาจะไดรบั 6 แนวคดิ ทฤษฎี เอกสารและงานวจิ ยั ทเ่ี ก่ยี วขอ ง 7 ความรูเกย่ี วกับการพฒั นาระบบ Web Application 9 ความรูเกย่ี วกบั ระบบฐานขอมูล 9 9 ความรเู กีย่ วกับระบบเครอื ขา ยคอมพวิ เตอร และเครอ่ื งแมข ายคอมพิวเตอร 10 งานวิจัยท่เี กีย่ วของ 17 วิธดี ำเนนิ การวจิ ัย ประชากรและการสุม กลุมตัวอยาง 19 20 เครื่องมอื ในการวิจัยและการตรวจสอบคุณภาพเคร่อื งมือ การเกบ็ รวบรวมขอมลู การวิเคราะหข อ มูล ผลการวจิ ยั ผลการวิเคราะหขอ มูล สรุปผลการวจิ ยั อภิปรายผลและขอเสนอแนะ สรุปผลการวิจัย อภปิ รายผล

ขอเสนอแนะในการนำผลการวิจัยไปใช จ บรรณานุกรม หนา บรรณานกุ รมภาษาไทย 20 ภาคผนวก ภาคผนวก ก คมู ือประกอบการใชงาน ภาคผนวก ข แบบรับรอง ภาคผนวก ค แบบแสดงคณุ ลกั ษณะผลงานสง่ิ ประดษิ ฐ ภาคผนวก ง รปู ภาพประกอบ ภาคผนวก จ แบบแสดงขั้นตอนการเขียนโปรแกรม ประวตั ผิ วู จิ ัย

สารบญั ตาราง ฉ ตารางท่ี หนา 3.1 แสดงตารางนกั เรยี น 14 3.2 แสดงตารางแผนกวิชา 14 3.3 แสดงตารางระดบั ช้นั 14 3.4 แสดงตารางปก ารศกึ ษา 14 3.5 แสดงตารางช่ือกิจกรรม 15 3.6 แสดงตารางครูทปี่ รึกษา 15 3.7 แสดงตารางลงทะเบยี นกจิ กรรม 15 3.8 แสดงตารางรายละเอยี ดการลงทะเบยี นกจิ กรรม 15 3.9 แสดงตารางลงชอ่ื เขารวมกจิ กรรม 16 4.1 ตารางแสดงขอมูลประเมนิ ประสทิ ธิภาพระบบติดตามการเขา รว ม กจิ กรรมนักเรยี นนักศกึ ษา 18

ช สารบญั ภาพ ภาพที่ หนา 3.1 แสดงแผนภาพบริบทของระบบติดตามการเขา รว มกจิ กรรมของนกั เรียนนกั ศึกษา 11 3.2 แสดงแผนภาพกระแสขอ มลู ระดบั ศนู ย ของระบบตดิ ตามการเขา รวมกิจกรรม ของนกั เรียนนักศกึ ษา 11 12 3.3 แสดงแผนภาพกระแสขอมูลระดับ 1 ของการตรวจสอบการเขาใชงานระบบ 12 3.4 แสดงแผนภาพกระแสขอ มลู ระดบั 1 ของการจัดการขอมลู พืน้ ฐาน 12 3.5 แสดงแผนภาพกระแสขอมูลระดับ 1 ของการตรวจสอบการเขา รว มกจิ กรรม 13 3.6 แสดงความสัมพนั ธข องเอนทิตีท้งั หมด

บทที่ 1 บทนำ ความเปน มาและความสำคญั กิจกรรมพัฒนาผูเรียนเปนกิจกรรมที่มุงเนนสงเสริมความรู ทักษะและประสบการณใหแก ผูเรียน นอกเหนอื จากการเรยี นในหอ งเรยี นตามปกติ “กิจกรรมพัฒนาผูเรียน”ตามหลักสตู รการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (กระทรวงศึกษาธิการ 2551 : 16) ไดอางถึงกิจกรรมพัฒนาผูเรยี นวา เปนกิจกรรมที่จดั อยางเปน กระบวนการดว ยรูปแบบวิธีการที่หลากหลาย เพื่อใหผูเรียนพัฒนาตนเอง ตามศักยภาพ พฒั นาอยางรอบดา นเพือ่ ความเปนมนุษยท ่สี มบรู ณ ทั้งรา งกาย สติปญญา อารมณ และ สังคม เสริมสรางใหเปนผูศีลธรรมจริยธรรม ระเบียบ วินัย ปลูกฝงและสรางจิตสำนึกของการทำ ประโยชนเพื่อสังคม สามารถจัดการตนเองไดและอยูรวมกับผูอื่นอยางมีความสุข กิจกรรมนักเรียน เปน กจิ กรรมท่ีมงุ พัฒนาความเปนระเบียบวนิ ัย ความเปน ผูนำ ผูตามที่ดี ความรบั ผดิ ชอบ การทำงาน รวมกัน การรูจักแกปญหา การตัดสินใจที่เหมาะสม ความมีเหตุผล การชวยเหลือแบงปน เอื้ออาทร สมานฉันท โดยจัดใหสอดคลองกับความสามารถ ความถนัด และความสนใจของผูเรียน ใหไดปฏิบัติ ดวยตนเองในทุกขั้นตอน ไดแก การศึกษาวิเคราะห วางแผน ปฏิบัติตามแผนประเมิน และปรับปรุง การทำงาน เนน การทำงานรว มกนั เปนกลุมตามความเหมาะสมและสอดคลอ งกบั วุฒภิ าวะของผูเรียน และบริบทของสถานศึกษาและทองถิ่น ตัวอยา งของกิจกรรมนกั เรยี น ไดแก กจิ กรรมลกู เสอื เนตรนารี และนักศึกษาวิชาทหาร ชมรม เปนตน นอกจากนี้ก็มีกิจกรรมที่สงเสริมใหผูเรียนบำเพ็ญตนใหเปน ประโยชนตอสังคม ชุมชน และทองถิ่น ตามความสนใจในลักษณะอาสาสมัคร เพื่อแสดงถึงความ รับผิดชอบ ความดีงาม ความเสียสละตอสังคม และการมีจิตสาธารณะ เชน กิจกรรมอาสาพัฒนา ตาง ๆ กจิ กรรมสรางสรรคสงั คมตา ง ๆ จากการที่การจัดกิจกรรมของนักเรียนนักศึกษาในแตละปการศึกษานั้น มีหลากหลาย กิจกรรมที่ตองใหนักเรียนนักศึกษาไดมีสวนรวม โดยในการเขารวมแตละกิจกรรมนั้นตองใหครู ผูควบคุมเขามาตรวจเชค็ และรอผลสรุปจากฝายกิจกรรมเพื่อสิ้นสุดภาคการศึกษา ทำใหยากแกการ ตดิ ตาม ตรวจสอบนกั เรียนนกั ศึกษาที่ไมเขารว มกิจกรรมตางๆ ของวทิ ยาลยั หรือมีกจิ ธุระจำเปนที่ทำ ใหไมสามารถเขารวมกิจกรรมได อันสงผลใหนักเรียนนักศึกษารายนั้นไมผานกิจกรรม ประกอบกับ ความสะดวกรวดเร็วในการเขาถึงแหลงสารสนเทศในเครือขายอินเทอรเน็ตในปจจุบันทำไดงายข้ึน การพัฒนาจัดหาระบบสารสนเทศที่เหมาะสมเขามาชวยในการบริหารจัดการ ดูแลตรวจสอบ บันทึก ขอ มลู และการสง ออกรายงานตา งๆ ทำไดอยางเปน ระบบและงายมากยิง่ ข้ึน

2 จากความตองการในการตดิ ตามขอมลู ดงั กลา ว จงึ มีแนวคิดท่จี ะพัฒนาระบบสารสนเทศที่ใช ในการบนั ทึกขอ มูลประวัติการเขารวมกิจกรรมของนกั เรียนนักศึกษา เพ่ือใชใ นการติดตามพฤติกรรม ในการเขารวมกิจกรรมของวิทยาลัย รวมถึงสามารถรายงานสรปุ ขอมูลการเขารวมกิจกรรมนักเรียน นักศึกษา โดยสามารถตรวจสอบขอมูลผานระบบเครือขายอินเทอรเน็ต ทั้งนี้เพื่อใหเ กิดประโยชนตอ การดูแล ติดตาม และการรายงานขอมูลใหอยูในรูปแบบสารสนเทศที่เขาถึงไดงาย สะดวก รวดเร็ว และเปน ปจ จบุ นั วตั ถุประสงคของการวิจยั 1. เพื่อออกแบบและพัฒนาระบบเวบ็ แอพพลิเคชนั สำหรับบนั ทึกขอมูลการรว มกิจกรรมของ นกั เรียนนักศกึ ษาผานระบบเครือขายอินเทอรเ น็ต 2. เพื่อออกแบบและพัฒนาระบบการรายงานขอมูลใหเปนปจจุบันและสามารถเขาถึงผาน ระบบอนิ เทอรเน็ต ขอบเขตการวิจยั 1. ระบบสามารถบนั ทึกขอ มลู การเขารว มกิจกรรมของนกั เรยี นในแตล ะกจิ กรรมทีก่ ำหนดได 2. ระบบสามารถพิสจู นตัวตนและอนญุ าตใหเขาถึงขอมลู ไดเ ฉพาะท่ีกำหนดไวเทานัน้ 3. ระบบสามารถแสดงรายงานสรปุ ขอมลู การเขารว มกิจกรรมตา งๆ ได ขอจำกัด(ถามี) 1. การใชง านแอพพลเิ คช่ันตองการเชือ่ มตอระบบอินเตอรเ นต็ 2. Band with ความเรว็ ของอินเตอรเน็ต คำจำกัดความทีใ่ ชในงานวิจยั กิจกรรมนักเรียนนักศึกษา หมายถึง กิจกรรมเสริมหลักสูตร เปนกิจกรรมที่จัดอยางเปน กระบวนการดวยรูปแบบวิธีการที่หลากหลาย เพื่อการพัฒนาศักยภาพของผูเรียนในดานความรู ความสามารถ ทกั ษะวชิ าชพี รวมทงั้ ดา น รา งกาย จติ ใจ สตปิ ญ ญา อารมณ และสังคม มุงสง เสริมเจต คติคุณคาชีวิต ปลูกฝงคุณธรรมและคานิยม ที่พึงประสงค สงเสริมใหผูเรียนรูจักและเขาใจตนเอง สรางจิตสานึกตอธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ปรับตัว และปฏิบัติตนใหเปนประโยชนตอสังคม ประเทศชาติและดํารงชวี ิตไดอ ยา งมคี วามสขุ Web Application (เว็บแอพพลิเคชั่น) หมายถึง แอพพลิเคชั่นที่ถูกพัฒนาขึ้นมาเพื่อเปน Browser (เบราเซอร) สำหรับการใชงาน Webpage (เว็บเพจ) ตาง ๆ ซึ่งถูกปรับแตงใหแสดงผลแต สวนท่ีจำเปน เพอื่ เปน การลดทรพั ยากรในการประมวลผล ของตวั เคร่อื งสมารทโฟน หรอื แทบ็ เลต็ ทำ ใหโหลดหนาเว็บไซตไดเร็วขึ้น อีกทั้งผูใชงานยังสามารถใชงานผานอินเทอรเน็ต (Internet) และ อินทราเนต็ (Intranet) ได

3 ประโยชนที่คาดวา จะไดร บั 1. ชว ยใหเ ขา ถงึ ขอ มลู การเขารว มกิจกรรมของนักเรยี นนกั ศึกษา 2. ชว ยสามารถแสดงรายงานการเขารว มกจิ กรรมของนักเรยี นนักศึกษา

4 บทท่ี 2 แนวคดิ ทฤษฎี เอกสารและงานวิจยั ทเี่ กีย่ วขอ ง การศึกษาหาขอมูลและทฤษฎีที่เกี่ยวของกับงานวิจัยนี้ สามารถจำแนกออกเปนเนื้อหาที่ สำคญั ตาง ๆ ไดดังนี้ 2.1 ความรูเ กยี่ วกบั การพฒั นาระบบ Web Application 2.2 ความรเู ก่ยี วกับระบบฐานขอมูล 2.3 ความรเู กี่ยวกบั ระบบเครอื ขา ยคอมพวิ เตอร และเครอ่ื งแมขา ยคอมพวิ เตอร 2.4 งานวิจยั ที่เก่ยี วขอ ง 2.1 ความรเู กยี่ วกบั การพัฒนาระบบ Web Application ความหมายของ Web Application คอื การพฒั นาระบบงานบนเวบ็ ขอ มูลตาง ๆ ในระบบ มีการไหลเวียนในแบบ Online ทั้งแบบ Local (ภายในวง LAN) และ Global (ออกไปยังเครือขาย อินเตอรเน็ต) ทำใหเหมาะสำหรับงานที่ตองการขอมูลแบบ Real Time ระบบมีประสิทธิภาพ แตใช งานงาย เหมือนกบั ทานกำลังทอ งเว็บ ระบบงานที่พฒั นาขึ้นมาจะตรงกับความตองการกับหนวยงาน หรือหางรานมากที่สุด ไมเหมือนกับโปรแกรมสำเร็จรูปทั่วไป ที่มักจะจัดทำระบบในแบบกวาง ๆ ซึ่ง มักจะไมตรงกับความตองการที่แทจริง ระบบสามารถโตตอบกับลูกคา หรือผูใชบริการแบบ Real Time ทำใหเกิดความประทับใจ เคร่ืองที่ใชงานไมจำเปนตองติดตั้งโปรแกรมใด ๆ เพิ่มเติมทั้งส้ิน ตัวอยา งระบบงานทเ่ี หมาะกบั เว็บ แอพพลเิ คชน่ั เชน ระบบการจองสนิ คาหรอื บรกิ ารตาง ๆ เชน การ จองที่พัก การจองโปรแกรมทัวร การจองแผน CD-DVD ฯลฯ ระบบงานบุคลากร ระบบงานแผนการ ตลาด ระบบการสงั่ ซื้อแบบพิเศษ ระบบงานในโรงเรียน เชน ระบบงานวัดและประเมินผล ระบบงาน ปกครอง ระบบงานหอ งสมดุ ระบบการลงทะเบียน เชค็ เกรด ฯลฯ ระบบงานอื่น ๆ ทีต่ องการนำขอ มลู มา Online คาใชจายในการทำเว็บ แอพพลิเคชั่น ปกติจะใชวิธีการคำนวณจากขอบเขตของระบบงาน และปริมาณของขอมูลที่ไหลเวียนในระบบ รวมถึงปจจัยดานอื่น ๆ ซึ่งทางเว็บ โปรแกรมเมอรจะ คำนวณราคาออกเปนงาน ๆ ไป ซึ่งสวนใหญจ ะมีคาใชจ ายตาง ๆ ตอไปนี้รวมกัน คาจัดทำระบบงาน คาชื่อโดเมน และ Web Hosting (ในกรณีจะนำระบบออกทางเครือขายอินเตอรเน็ต) คาบริการหลัง การขาย คา Hardware และอปุ กรณดานเครือขา ย เพิ่มเตมิ อืน่ ๆ

5 ลักษณะการทำงานของ Web Application การทำงานของ Web Application นั้นโปรแกรมสวนหนึ่งจะวางตัวอยูบน Rendering Engine ซึ่งตัว Rendering Engine จะทำหนา ทห่ี ลกั ๆ คอื นำเอาชุดคำสั่งหรอื รปู แบบโครงสรา งขอมูล ที่ใชในการแสดงผล นำมาแสดงผลบนพื้นที่สวนหนึ่งในจอภาพ โปรแกรมสวนที่วางตัวอยูบน Rendering Engine จะทำหนาที่หลักๆ คือการเปลี่ยนแปลงแกไขสิ่งที่แสดงผล จัดการตรวจสอบ ขอมูลที่รับเขามาเบื้องตนและการประมวลบางสวนแตสวนการทำงานหลักๆ จะวางตัวอยูบนเซอร เวอร ในลักษณะ Web Application แบบเบื้องตน 2.2 ความรูเ กี่ยวกับระบบฐานขอมลู โครงสรา งระบบฐานขอมลู ระบบฐานขอ มูลในปจจบุ ัน จะนิยมใชฐานขอมูลแบบสมั พนั ธ (Relational Database) โครงสรางพนื้ ฐานของฐานขอมลู ประเภทนีจ้ ะมีดังตอไปน้ี ตาราง(Table) จะเปนที่เก็บขอมูลของฐานขอมูล จะมีลักษณะเปนตาราง 2 มิติ โดยจะถือวาขอมูลใน แนวนอน(แถว)เปนขอมูลหนึ่งชุด เรียกวาเรคคอรด (Record) ซึ่งขอมูลในแตละชุดจะประกอบดวย ขอมลู ตางๆ ตามแนวต้งั (คอลมั น) ซ่ึง เรยี กวา ฟลด (Filed) อนิ เด็กซ (Index) อนิ เดก็ ซ จะเปน ฟล ดทใี่ ชช วยในการคน หาขอ มูล การทำงานของฟลดท ่ีเปน อนิ เด็กซก ็คือ จะมี การจัดเรียงลำดับ โดยอัตโนมตั ิโดยอาศัยฟลดอนิ เด็กซเปนตัวอางองิ การทม่ี ีอนิ เด็กซก็หมายความวา ขอมูลไดมีการจัดเรียงไวแลว ยกตัวอยางเชนสมุดโทรศัพท ถาเราตองการหาชื่อคนที่ขึ้นตนดวยตัว อ.อาง เราก็สามารถไปเปดคนไดจากบริเวณทายเลมไดเลย โดยไมตองดูไปทีละหนาวามีชื่อที่ขึ้นตน ดว ย อ.อา งอยูห รือไม ไพรมารย่ี ค ีย (Primary Key) ไพรมารีย่ ค ียจ ะเปนฟลดท่ีสามารถเปนตัวแทนเรคคอรดทั้งหมด คาไพรมาร่ียคียจะตองไมซ้ำ กนั เมื่อระบุคา ไพรมาร่ียคียแ ลว จะตองสามารถอางอิงถงึ ฟลดอนื่ ๆไดเ ลย การเก็บขอ มลู แบบสรา งความสัมพนั ธ ฐานขอมูลแบบสัมพันธจะมีจุดเดนที่ พยายามแยกขอมูลออกมาเปนชุดๆ (เปนตารางอิสระ) แลวจึงกำหนดความสัมพันธระหวางตาราง(ขอมูล)ขึ้น เพื่อเก็บขอมูลของสิ่งที่เกิดขึ้น การจัดเก็บ ลกั ษณะนจี้ ะชวยลดความซ้ำซอ นของขอมูล และจะชวยใหก ารแกไ ขเปนไปอยางสะดวกและลดความ ผิดพลาด

6 การออกแบบฐานขอมูลและ ER-ไดอะแกรม เมื่อเริ่มใชฐานขอมูล การออกแบบโครงสรางของฐานขอมูล จะเปนส่ิงที่สำคัญมาก การ ออกแบบ จะใชแผนภูมิความสัมพันธระหวางขอมูลที่เรียกวา ER-ไดอะแกรม (Entity Relationship Diagram) ดังตัวอยางในรูปที่1เขามาชวยในการออกแบบ แผนภูมินี้จะชวยเรียบเรียงความคิด และ ชว ยทำใหม องความสัมพนั ธร ะหวา งขอ มลู ตาง ๆ ไดชดั เจนยง่ิ ขน้ึ ลกั ษณะของ ER-ไดอะแกรม ER-ไดอะแกรมประกอบดวยสามสวนใหญๆ คอื เอนทิตี (Entity) เปนตัวแทนของสิ่งที่สนใจ หรือจะพูดอีกอยางวา ตัวแทนของชุดขอมูลหนึ่ง ยกตัวอยางเชน เอนทติ สี ินคา เอนทิตีลูกคา เอนทิตีใบสั่งซื้อ เปนตน แทนดวยสี่เหลี่ยม พรอพเพอรต(้ี Property) เปนคณุ สมบัตขิ องเอนทติ ี ซึง่ ก็คือ ขอ มูลจริงของสง่ิ ทเี่ ราสนใจ เชน เอนทิตีสินคา กจ็ ะมพี รอพ เพอรตี้ เชน รหสั สินคา ราคาตอ หนว ย เปน ตน แทนดว ยวงกลม ความสมั พันธ (Relationship) เปนการเช่ือมโยงระหวา งเอนทิตกี ับเอนทิตี เชน ความสมั พันธระหวางสินคา กับใบสั่งซื้อ เปน ตน แทนดวยสามเหลี่ยม ความสัมพันธมีดวยกันสามชนิดคือ ความสัมพันธชนิดหนึ่งตอหนึ่ง (1-1) ความสัมพนั ธช นดิ หน่ึงตอกลมุ (1-M) ความสัมพนั ธช นิดกลุมตอ กลมุ (M-N) การจดั ระเบยี บฐานขอ มลู (Normalization) ระบบฐานขอมูลแบบใชความสัมพนั ธก นั น้นั ขอ มูลจะถูกจัดแยกเขาสูตารางยอ ย ๆ หลายๆ ตาราง การจัดระเบยี บฐานขอมูลอยา งถูกวิธีจะชวยใหก ารใชงานฐานขอมูลมปี ระสิทธภิ าพย่ิงข้ึน เชน ในแงข องการเก็บขอมูล จะชวยลดความซำ้ ซอนในการทจ่ี ะตองจดั เก็บขอ มูลอยา งเดยี วกนั ในแงข อง การแกไ ขจะชว ยใหส ามารถแกไขขอ มูลไดอยางถกู ตอ งและเปนระบบมากขึน้ 2.3 ความรเู ก่ียวกบั ระบบเครือขายคอมพิวเตอร และเครอ่ื งแมขายคอมพวิ เตอร ความหมายและองคประกอบของเครอื ขายคอมพิวเตอร เครือขายคอมพิวเตอร (computer net-work) หมายถึง การเชื่อมตอคอมพิวเตอรและ อุปกรณตอพวงเขาดวยกันโดยใชสื่อกลางตางๆ เชน สายสัญญาณ คลื่นวิทยุ เปนตน เพื่อทำให สามารถส่ือสาร แลกเปลีย่ นขอ มลู และใชท รพั ยากรรว มกันได เครือขายคอมพิวเตอรมีองคประกอบพื้นฐาน 2 สวนหลัก คือ องคประกอบดานฮารดแวร และองคประกอบดานซอฟตแวร โดยองคประกอบดานฮารดแวร หมายถึงอุปกรณที่ใชงานและ เชื่อมตอภายในเครือขาย เชน เครื่องคอมพิวเตอร แปนพิมพ สายสัญญาณ เปนตน สวน

7 องคป ระกอบดา นซอฟตแ วร หมายถึง ระบบปฏบิ ตั ิการ หรือโปรแกรมตา งๆ ที่ใชสนบั สนุนการทำงาน และใหบ รกิ ารดานตางๆ เพ่ืออำนวย ความสะดวกใหแ กผใู ชใ หสามารถติดตอสือ่ สารผา นเครือขา ยได เคร่ืองแมขายคอมพวิ เตอร (SERVER) เครื่องศูนยบริการขอมูล โดยมักเรียกวา เคร่ืองเซิรฟเวอร เปนคอมพิวเตอรที่ทำหนาที่ บริการทรัพยากรใหกับเคร่ืองลกู ขา ยบนเครือขาย เชน บรกิ ารไฟล (File Server) การบริการงานพิมพ (Print Server) เปนตน เครื่องเซิรฟเวอรอาจเปนคอมพิวเตอรระดับเมนเฟรม มินิคอมพิวเตอร หรือ ไมโครคอมพิวเตอรก็ได โดยคอมพวิ เตอรท ่อี อกแบบมาเพื่อใชงานเปนเซริ ฟเวอรน้ีมกั จะมีสมรรถนะสูง รวมถึงถูกออกแบบมาเพื่อรองรับความทนทานตอความผิดพลาด (Fault Tolerance) เนื่องจากตอง ทำงานหนกั หรือตอ งรองรับงานตลอด 24 ช่วั โมง ดงั นัน้ เครอ่ื งเซิรฟเวอรจงึ มีราคาที่สูงมากเมื่อเทียบ กับคอมพิวเตอรที่ใชง านทั่ว ๆ ไป สถานีงาน สถานงี าน (Workstation or Terminal) หมายถงึ อปุ กรณห รือเคร่อื งไมโครคอมพิวเตอร ที่เชื่อมตอ กับเครือขา ยคอมพิวเตอร ทำหนาที่เปน สถานีปลายทางหรือสถานีงาน ที่ไดรบั การบริการ จากเครื่อง คอมพิวเตอรแมขาย เรียกวาเปนคอมพิวเตอรลูกขาย (Workstation) ในระบบเครือขาย ระยะใกล มกั มหี นว ยประมวลผล หรือซีพียขู องตนเอง ในระบบท่ีใชเ ครอื่ งคอมพิวเตอรเมนเฟรม เปน ศนู ยก ลาง เรยี กสถานปี ลายทางวาเทอรมนิ อล (Terminal) ประกอบดว ยจอภาพและแปน พิมพเ ทาน้ัน ไมมหี นว ยประมวลกลางของตวั เอง ตอ งใชหนวยประมวลผลของคอมพิวเตอรศนู ยกลางหรือ Host 2.4 งานวจิ ยั ท่ีเกีย่ วของ วิชวาวัณ ชมภูนุช และ พรหมเมศ วีระพันธ ทำการศึกษาเรื่อง การพัฒนาระบบติดตาม พฤติกรรมการเขาเรียนของนักเรียน กรณีศึกษาโรงเรียนโคงไผวิทยา จังหวัดกำแพงเพชร พัฒนาขน้ึ เพื่อติดตามพฤติกรรมการเขาเรยี นของนกั เรยี น การเชค็ ชอื่ ทล่ี า ชา และขอ มูลการเขาเรียนสูญหาย เมื่อ ทำการศกึ ษาขอมูลและวิเคราะห พบวาการแกปญหาดงั กลาวสามารถแกไ ขไดดวยการพัฒนาระบบน้ี ซึ่งจะชวยให ทราบถึงพฤติกรรมการเขาเรียนของนักเรียนแตละคน ระบบติดตามพฤติกรรมการเขา เรียนของนักเรียนโรงเรียนโคงไผวิทยา โดยการพัฒนาระบบนี้อางอิงตามหลักการของวงจรพัฒนา ระบบ (System Development Life Cycle: SDLC) โดยใชภาษา PHP รวมกับระบบการจัดการ ฐานขอมูล MySQL ระบบที่พัฒนาขึ้นมผี ูใชงาน 4 กลุมคือ 1) อาจารยผูสอน 2) อาจารยฝายกิจการ นักเรียน 3) อาจารยฝ ายวิชาการ และ 4) นักเรยี น จากผลการวิจยั พบวา ระบบสามารถทำงานไดอ ยาง ถูกตอ งและสอดคลองตามความตองการของผูใชง านทงั้ 4 กลุม อกี ทัง้ การประเมิน ประสิทธิภาพของ ระบบ 4 ดาน คือ 1) ความครบถวนสมบูรณของขอมูล 2) ความเหมาะสมของสวนติดตอกับผูใช 3) ความสะดวกในการใชงานระบบ และ 4) การใชประโยชนจากระบบ โดยมีระดับความพึงพอใจเฉล่ีย ของผใู ชง าน ระบบอยูใ นระดบั ดีมาก (������������̅= 4.52)

8 นิพนธ แกว เกิด ทำการศึกษาเรอื่ ง การพฒั นาระบบการดแู ลสนบั สนนุ นักเรยี นเพ่ือลดจำนวน การออกกลางคันของนักเรียนอาชีวศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ สังกัดสำนักงาน คณะกรรมการการอาชีวศึกษา ผลการวิจัยพบวา (1) ผลการพัฒนาระบบการดูแลสนับสนุน นักเรียน ประกอบดวย 4 สวน คือ หลักการ, บทบาทของบุคลากรในระบบ, การจัดกิจกรรม ทางดานสังคมและการปรับตัวของนักเรียน และการประเมินประสิทธิภาพของระบบ (2) ผลการ ประเมินประสิทธิภาพของระบบการดูแลสนับสนุนนักเรียน แบงเปน 4 ดาน คือ ดานขอดั คือ ระบบการดูแลสนับสนุนนักเรียนสามารถชวยลดปญหาการออกกลางคันของนักเรียนลงได ดาน ขอเสีย คือ เปนการเพิ่มภาระงานใหกับครู ดานความเหมาะสม คือ ระบบการดูแลสนับสนุน นักเรียนมีความเหมาะสม มีกิจกรรมครบทุกดาน และระยะเวลาที่ดำเนินการมีความเหมาะสม และดานองคประกอบ คือ ระบบการดูแลสนับสนุนนักเรียนขาดการประสานงานระหวางผูปกครอง กับครู (3) ผลการใชระบบการดูแลสนับสนุนนักเรียน โดยนักเรียนท้ังหมดมีความพึงพอใจสูงในการ เขารวมกิจกรรมในระบบ ซึ่งกิจกรรมที่นักเรียนมีความพึงพอใจมากที่สุด คือ กิจกรรมเยี่ยมบาน นักเรียน

9 บทท่ี 3 วธิ ดี ำเนินการวจิ ยั งานวิจัยนี้ไดจัดการขั้นตอนการออกแบบและทดลองไวดังตอไปนี้ เพื่อใหการทำงานเปนไป อยา งมรี ะบบ โดยมวี ธิ ีการดำเนินการวจิ ัยดังนี้ ประชากรและกลมุ ตัวอยา ง ประชากรทใี่ ชใ นการวิจัยคร้ังน้ี เปน ครขู องโรงเรยี นทิพยปาละวทิ ยานสุ รณ กลมุ ตวั อยางใชใ นการวิจยั ครง้ั นี้ เปน ครขู องโรงเรียนทพิ ยปาละวิทยานสุ รณ จำนวน 20 รูป/คน เครื่องมือการวจิ ยั และการตรวจสอบคุณภาพเคร่อื งมอื ในการวิเคราะหและออกแบบระบบติดตามการเขารวมกิจกรรมนักเรียนนักศึกษานี้ไดใช เครื่องมือในการวิเคราะห คือ แผนภาพบริบท แผนกภาพกระแสขอมูล และแผนภาพความสัมพันธ ระหวางขอ มูล สวนการพัฒนาระบบติดตามการเขารวมกิจกรรมนักเรยี นนกั ศกึ ษา ไดใ ชเ ครื่องมือ คือ ภาษา PHP ระบบการจดั การฐานขอ มูล MySQL และโปรแกรมจำลองเซิรฟ เวอร XAMPP สำหรับการประเมนิ ประสิทธิภาพระบบติดตามการเขารวมกิจกรรมนกั เรียนนักศึกษานัน้ ได ใชเกณฑในการตรวจสอบ 4 ดาน คือ มีความถูกตองแมนยำ มีความทันตอเวลาสะดวกตอการใชงาน มคี วามสมบรู ณของขอมูลครบถว น และมคี วามสอดคลองกบั ความตองการของผูใช การเกบ็ รวบรวมขอมลู หลกั การของวงจรพัฒนาระบบ (System Development Life Cycle: SDLC) ของ Dennise, Wixom and Roth (2010) ไดถูกนำมาใชในการดำเนินการวิจัย โดยแบงออกเปน 4 ขั้นตอนหลัก ดังนี้ 1. ขั้นตอนการวางแผน (Planning Phase) ผูวิจัยไดสัมภาษณผูบริหารและครูที่เกี่ยวของ กับการทำงานในปจจุบัน รวมทั้งรวบรวมเอกสารตาง ๆ เพื่อศึกษาการทำงานของระบบเดิม ซ่ึง ประเมินแลวพบวา ปญหาและอุปสรรคในการทำงานสามารถแกไขดวยการพัฒนาระบบติดตามการ เขารวมกิจกรรมนักเรียนนักศกึ ษา 2. ขั้นตอนการวเิ คราะห (Analysis Phase) ผวู จิ ัยไดศกึ ษารายละเอยี ดความตอ งการใชงาน ระบบติดตามการเขารวมกิจกรรมนักเรียนโรงเรียนทพิ ยปาละวิทยานุสรณ จากนั้นวิเคราะหร ะบบได ผลลัพธเปน แผนภาพบริบท (Context Diagram) และแผนภาพกระแสขอมูล (Dataflow Diagram: DFD) รวมท้ังแผนภาพ ความสมั พันธระหวา งขอมูล (Entity-Relationship Diagram: ER diagram) 3. ขั้นตอนการออกแบบ (Design Phase) ผูวิจัยไดนำผลจากขั้นตอนที่ 2 มาออกแบบ ฐานขอ มลู โดยใช ระบบการจดั การฐานขอมลู MySQL พรอมทั้งออกแบบสว นตดิ ตอกับผูใ ช

10 4. ขั้นตอนการพัฒนา (Implementation Phase) ผูวิจัยไดพัฒนาระบบติดตามการเขา รวมกิจกรรมนักเรียนโรงเรียนทิพยปาละวิทยานุสรณ โดยใชภาษา PHP รวมกับฐานขอมูลท่ีสรางข้นึ ใน ขั้นตอนที่ 3 5. ทำการวเิ คราะหขอ มูล และสรุปผลการวจิ ัย การวิเคราะหขอ มูล 1. การออกแบบระบบ (System Design) การศึกษาและการพัฒนาระบบติดตามการเขารวมกิจกรรมนักเรียนนักศึกษา (Student Activities Tracking System) ไดดำเนินการออกแบบไวโดยแบงกลุมผูใหขอมูลออกเปน 3 กลุม ไดแ ก นกั เรยี นนักศึกษา ครปู ระจำชั้น และเจา หนาทงี่ านกจิ กรรม ในการดำเนินงานของระบบจะใชรูปแบบของสถาปตยกรรมที่ใชเปนโครงสรางแบบ ทร-ี เทียร (Three-Tier Architecture) สื่อที่ใชเปนตัวกลาง (Medium) คือระบบเครือขายอินเทอรเน็ต และอินทราเน็ต ซึ่งไดแบง ออกเปน 3 สวนการทำงาน ดงั นี้ สว นนำเสนอ (Presentation) จะเปนสวนของไคลเอนท สว นน้ีจะมเี วบ็ บราวเซอรท่ีจะใชใน การติดตอระหวางผูใชงานกับระบบ ในสวนประมวลผล จะเปนสวนการประมวลผลการทำงานของ ระบบในงานตาง ๆ เชน การปรับปรุงขอมูลนักเรียนนกั ศึกษา การบันทึกขอมูลการเขารวมกิจกรรม และการรายงานสรุปขอมูล เปนตน และสวนเก็บบันทึกขอมูล จะเปนสวนที่จัดเก็บฐานขอมูลท้ัง ฐานขอมลู กจิ กรรม ฐานขอมลู นักศึกษา การบนั ทกึ ขอมูลการเขารว มกจิ กรรม เปนตน สวนประมวลผล (Processing) จะเปนสวนของการประมวลผลซึ่งจะเปนการวางระบบไวใน สว นนี้ ซึง่ จะแยกฐานขอมลู ออก สวนเก็บบันทกึ ขอมูล (Data) จะเปน สว นของการบนั ทกึ ขอมูลทไี่ ดจากการประมวลผลระบบ ในสว นประมวลผล แผนภาพกระแสขอมลู (Context Diagram) สำหรับการวิเคราะหระบบ ใชแผนภาพกระแสขอมูล (Data Flow Diagram : DFD) เปน เครือ่ งมือที่ใชสรางตัวแบบที่แสดงวาขอ มูลมีการไหลไปอยา งไรในระบบ ความสัมพนั ธระหวางกระแส ขอมูลภายในระบบเปน อยางไร และขอมูลถกู นำมาจดั เกบ็ ณ ท่ใี ดทีห่ น่งึ ภายในระบบอยางไร จากการวิเคราะหความตองการ และขอมูล สามารถแสดงแผนภาพกระแสขอมูลของระบบ ติดตามการเขารวมกิจกรรมนกั เรียนนกั ศึกษา ซึ่งแสดงการทำงานโดยภาพรวมของระบบ ที่แสดงถึง แหลงกำเนิดขอมูล (Source) แหลงใชสารสนเทศ (Sink) ของระบบ 3 สวน ไดแก นักเรียน ครูท่ี ปรึกษา และฝา ยกจิ กรรม รวมทงั้ แสดงกระแสขอมูล (Data flow) โดยไมม กี ารแสดงรายละเอียดของ ขน้ั ตอนการดำเนินงาน และขอมลู ทีจ่ ดั เกบ็ มรี ายละเอยี ด ดงั ภาพ

11 ภาพที่ 3.1 แสดงแผนภาพบรบิ ทของระบบตดิ ตามการเขา รว มกจิ กรรมของนกั เรยี นนกั ศึกษา แผนภาพแสดงกระแสขอ มูล (Data Flow Diagram) แผนภาพแสดงกระแสขอมูลแสดงขั้นตอนการทำงานของระบบในภาพกวาง กระแสขอมูล และที่เก็บขอมูล (Data store) ในระบบ โดยแผนภาพกระแสขอมูลดับศูนย (Data Flow Diagram Level 0) ของระบบติดตามการเขารวมกิจกรรมของนักเรียนนักศึกษา ดังไดแสดงในภาพ 3.2 ซ่ึงมี กระบวนการ 4 กระบวนการยอ ย ดงั น้ี - ตรวจสอบการใชง านระบบ เปนกระบวนการในการตรวจสอบสิทธิในการเขา ถึงขอมลู การเขา ใชง านระบบ - จดั การขอมูลพื้นฐาน เปนกระบวนการในการปรบั ปรุงขอ มลู พ้ืนฐานท่ใี ชในการอางอิง ของระบบ สว นประกอบทสี่ ำคญั อื่นๆ ทถ่ี กู เรียกขอมลู มาใชงานในระบบ เปนตน - ตรวจสอบการเขารว มกิจกรรม เปนกระบวนการในการตรวจสอบขอมูลนักเรียน การ บันทกึ ขอ มลู การเขารว มกิจกรรมของนกั เรยี นนักศกึ ษา - ประมวลผลรายงาน เปน กระบวนการแสดงขอมลู สรปุ รายงาน การเขา รวมกจิ กรรมของ นกั เรยี น ในกิจกรรมตางๆ ภาพที่ 3.2 แสดงแผนภาพกระแสขอ มลู ระดบั ศนู ย ของระบบติดตามการเขารว มกจิ กรรมของนกั เรยี นนกั ศกึ ษา แผนภาพแสดงกระแสขอมูล ระดับ 1 ของกระบวนการตรวจสอบการเขาใชง านระบบ (Data Flow Diagram Level 1 Process 1) แผนภาพกระแสขอมูลระดับ 1 ของกระบวนการตรวจสอบการเขาใชงานระบบ จะแสดง ขั้นตอนการทำงานของระบบในสวนของการตรวจสอบสิทธิ์ในการเขาใชงานระบบ โดยสามารถแบง กระบวนการได 2 กระบวนการยอ ย ดงั ภาพ 3.3

12 ภาพที่ 3.3 แสดงแผนภาพกระแสขอ มลู ระดบั 1 ของการตรวจสอบการเขาใชง านระบบ แผนภาพแสดงกระแสขอ มลู ระดับ 1 ของกระบวนการจัดการขอมลู พ้นื ฐาน (Data Flow Diagram Level 1 Process 2) แผนภาพกระแสขอมูลระดับ 1 ของกระบวนการจัดการขอ มลู พื้นฐาน จะแสดงขั้นตอนการ ทำงานของระบบในสวนของการปรับปรุงขอมูลทีจ่ ำเปน ขอมูลที่ใชในการอางองิ คาตางๆ ของระบบ โดยสามารถแบงกระบวนการได 3 กระบวนการยอย ดงั ภาพ 3.4 ภาพที่ 3.4 แสดงแผนภาพกระแสขอมูลระดับ 1 ของการจัดการขอมลู พ้นื ฐาน แผนภาพแสดงกระแสขอมลู ระดบั 1 ของกระบวนการตรวจสอบการเขารวมกจิ กรรม (Data Flow Diagram Level 1 Process 3) แผนภาพกระแสขอมูลระดับ 1 ของกระบวนการตรวจสอบการเขารวมกิจกรรม จะแสดง ขั้นตอนการทำงานของระบบในสวนของการแสดงขอมูลกิจกรรมตางๆ และใหดำเนินการตรวจสอบ ปรับปรุงขอมูลของนักเรียน นักศึกษาที่เขารวมกิจกรรม โดยสามารถแบงกระบวนการได 2 กระบวนการยอ ย ดงั ภาพ 3.5 ภาพที่ 3.5 แสดงแผนภาพกระแสขอมลู ระดับ 1 ของการตรวจสอบการเขา รว มกจิ กรรม

13 2. การพัฒนาระบบ (System Development) นอกจากการการศึกษา และวิเคราะหปญ หาของระบบงานเดิมดว ยแผนภาพกระแสขอมูล ใน การกำหนดความตอ งการของระบบแลว ไดสรางตัวแบบขอ มูลในระดับแนวคิด โดยใชแ ผนภาพแสดง ความสัมพันธระหวางเอนทิตี (Entity-Relationship Diagram : E-R Diagram) จากการวิเคราะห ความตอ งการขอ มลู สามารถกำหนดเอนทติ หี ลัก (Primary Entity set) ดังนี้ 1) student หมายถงึ นกั เรียนนกั ศึกษา 2) student_group หมายถงึ แผนกวิชา 3) student_class หมายถงึ ระดับชนั้ 4) semester หมายถึง ปก ารศกึ ษา 5) register หมายถึง ลงทะเบยี นกจิ กรรม 6) course หมายถงึ กจิ กรรม 7) teacher หมายถงึ ครูประจำชนั้ เจา หนา ท่งี านกจิ กรรม 8) check_class หมายถึง ลงช่อื เขา รวมกิจกรรม จากการศึกษาการทำงานของกระบวนการตรวจสอบสิทธิการเขาใชงานระบบ การปรับปรุง ขอมูลพื้นฐาน การตรวจสอบการเขารวมกิจกรรม และการแสดงรายงาน พบวาเอนทิตีขางตนกับ ขอมูลที่จะถูกนำไปประมวลผลโดยกระบวนการทำงานตาง ๆ ที่กลาวถึงในกระบวนการออกแบบ ระบบกอ นหนา ความสัมพันธระหวา งเอนทิตี การออกแบบฐานขอมูลของระบบติดตามการเขารวมกิจกรรมนักเรียนนักศึกษา สามารถ สรางเปนแผนภาพแสดงความสัมพันธขอมูล โดยใชแผนภาพแสดงความสัมพันธระหวางเอนทิตี ซึง่ ประกอบไปดว ยเอนทติ ที ีม่ คี วามสัมพันธท งั้ หมด ดงั ภาพ 3.6 ภาพที่ 3.6 แสดงความสมั พนั ธของเอนทติ ที ัง้ หมด

14 รายละเอียดตาราง จากการแปลงภาพความสัมพันธเปนตารางเก็บขอมูล สามารถกำหนดขอมูล ชนิดขอมูล นอกจากนั้นเพื่อความสะดวก และมีประสิทธิภาพในการเก็บขอมูลจึงไดมีการแทนที่ขอมูลบางสวน ดวยรหัสตางๆ ในการแปลงความสมั พันธเปน ตารางเก็บขอ มูล สามารถแสดงรายละเอยี ดไดดงั น้ี ชื่อตารางขอ มลู : นักเรยี น (student) คำอธบิ ายตารางขอ มลู : เกบ็ ขอ มูลนักเรยี น นกั ศกึ ษา แสดงดังตาราง 3.1 ตาราง 3.1 แสดงตารางนกั เรยี น ชือ่ คอลัมน ความหมาย ชนดิ ขอ มลู คีย ตารางทอ่ี างถึง Std_no รหสั นกั ศกึ ษา CHAR(10) PK Sclass_no ระดบั ชน้ั CHAR(2) FK Student_class Group_no แผนกวชิ า CHAR(2) FK Student_group Std_name ช่อื VARCHAR(50) Std_sname นามสกลุ VARCHAR(50) ชอ่ื ตารางขอ มลู : แผนกวิชา (student_group) คำอธบิ ายตารางขอมูล : เกบ็ ขอมูลแผนกวิชา แสดงดังตาราง 3.2 ตาราง 3.2 แสดงตารางแผนกวิชา ชือ่ คอลมั น ความหมาย ชนิดขอ มลู คีย ตารางทีอ่ างถงึ Group_no รหัสแผนกวชิ า CHAR(2) PK group_name แผนกวชิ า VARCHAR(100) ชื่อตารางขอมลู : ระดับชั้น (student_class) คำอธบิ ายตารางขอ มลู : เก็บขอมูลระดับชั้น แสดงดังตาราง 3.3 ตาราง 3.3 แสดงตารางระดับชนั้ ชือ่ คอลมั น ความหมาย ชนดิ ขอ มูล คยี  ตารางท่ีอางถงึ Sclass_no รหัสระดับ CHAR(2) PK Sclass_name ระดับช้นั VARCHAR(70) ชื่อตารางขอ มลู : ปก ารศึกษา (semester) คำอธิบายตารางขอ มูล : เก็บขอ มูลปก ารศึกษา แสดงดังตาราง 3.4 ตาราง 3.4 แสดงตารางปก ารศึกษา ช่ือคอลัมน ความหมาย ชนิดขอมูล คีย ตารางทีอ่ างถงึ Semes_no รหัสปการศกึ ษา INTEGER PK Semes_name ปการศกึ ษา VARCHAR(15)

15 ชื่อตารางขอมลู : ชอ่ื กิจกรรม (course) คำอธบิ ายตารางขอ มลู : เก็บขอมูลชือ่ กิจกรรม แสดงดงั ตาราง 3.5 ตาราง 3.5 แสดงตารางชอื่ กจิ กรรม ชื่อคอลัมน ความหมาย ชนิดขอ มูล คีย ตารางท่ีอางถึง course_no รหัสกจิ กรรม VARCHAR(13) PK Course_name ชอ่ื กจิ กรรม VARCHAR(150) ชื่อตารางขอ มลู : ครูท่ปี รึกษา (teacher) คำอธิบายตารางขอมลู : เกบ็ ขอ มูลชอื่ ครูท่ีปรกึ ษา แสดงดังตาราง 3.6 ตาราง 3.6 แสดงตารางครูท่ีปรึกษา ชอ่ื คอลัมน ความหมาย ชนิดขอ มลู คีย ตารางท่อี า งถงึ teacher_no รหัสครทู ี่ปรึกษา CHAR(4) PK Teacher_name ช่ือ VARCHAR(50) Teacher_sname นามสกลุ VARCHAR(50) Username ช่อื ล็อกอนิ VARCHAR(50) หมายเหตุ username จะเปนคยี ที่ใชในการอางองิ กับระบบพิสจู นตวั ตนของวทิ ยาลัย ช่ือตารางขอ มูล : ลงทะเบยี นกจิ กรรม (register) คำอธิบายตารางขอมลู : เกบ็ ขอมูลการลงทะเบียนกิจกรรม แสดงดังตาราง 3.7 ตาราง 3.7 แสดงตารางลงทะเบียนกิจกรรม ชอ่ื คอลัมน ความหมาย ชนิดขอมูล คยี  ตารางทอ่ี างถงึ Reg_no รหัสการลงทะเบยี น INTEGER PK teacher_no รหสั ครทู ปี่ รึกษา CHAR(4) FK Teacher Course_no รหสั กจิ กรรม CHAR(13) FK Course Semes_no รหัสปก ารศึกษา INTEGER FK Semester Course_date วนั ทจี่ ัดกจิ กรรม CHAR(3) Course_begin เวลาเริ่มตน TIME Course_end เวลาสิ้นสดุ TIME ชอ่ื ตารางขอมูล : รายละเอียดการลงทะเบยี นกจิ กรรม (register_detail) คำอธิบายตารางขอ มูล : เก็บขอ มูลรายละเอียดการลงทะเบียนกิจกรรม แสดงดงั ตาราง 3.8 ตาราง 3.8 แสดงตารางรายละเอยี ดการลงทะเบียนกิจกรรม ชอ่ื คอลัมน ความหมาย ชนดิ ขอมูล คีย ตารางท่อี า งถึง std_no รหสั นักเรียน CHAR(10) PK, FK Student reg_no รหัสการลงทะเบยี น INTEGER PK, FK Register

16 ช่ือตารางขอมลู : ลงชื่อเขา รวมกิจกรรม (check_class) คำอธิบายตารางขอมลู : เกบ็ ขอ มูลการลงชอ่ื เขารวมกจิ กรรม แสดงดงั ตาราง 3.9 ตาราง 3.9 แสดงตารางลงช่ือเขารว มกจิ กรรม ช่ือคอลมั น ความหมาย ชนิดขอมูล คยี  ตารางท่อี า งถงึ check_date วนั ที่ลงชอื่ DATE PK check_time เวลาที่ลงช่ือ TIME PK Reg_no รหัสการลงทะเบียน INTEGER PK, FK Register Std_no รหสั นกั เรียน CHAR(10) PK, FK Student Check_status สถานะการลงช่ือ VARCHAR(20) Checkin_log วันที่บนั ทึกขอ มูล DATETIME สำหรบั การวเิ คราะหขอมูล คณะผวู จิ ัยกำหนดวิธีการคำนวณคาสถิติตา ง ๆ ตามลักษณะของ ขอมูลดังนี้ การวิเคราะหขอมูลในแบบประเมินประสิทธิภาพระบบติดตามการเขารวมกิจกรรมนักเรียน นักศึกษา ทำการวิเคราะหโดยแจกแจงความถี่ รอยละ และคามัชฌิมเลขคณิต สถิติที่ใชในการ วิเคราะห ขอมลู คอื คา เฉล่ยี (Mean) คำนวณไดจากสตู ร ดงั นี้ (เกษม สาหรายทพิ ย, 2543 : 224) Χ = ∑Χ N เมื่อ Χ แทน คา เฉล่ีย ∑ Χ แทน ผลรวมของคะแนนทง้ั หมด N แทน จำนวนผตู อบแบบสอบถาม การแปลความหมายของ คาเฉลี่ย (Mean) ของความคิดเห็นเกี่ยวกับระบบติดตามการเขา รวมกจิ กรรมนกั เรียนนักศกึ ษา ใชเ กณฑดังนี้ โดยผลการประเมนิ แบงออกเปน 5 ระดบั ดังนี้ มากทส่ี ุด ใหคะแนน 5 คะแนน, มาก ใหค ะแนน 4 คะแนน ปานกลาง ใหคะแนน 3 คะแนน, นอย ใหค ะแนน 2 คะแนน นอ ยท่สี ดุ ใหคะแนน 1 คะแนน โดยใชเกณฑการแปลความหมายของคาเฉลี่ยในแตละขอคำถาม ดังนี้ (บุญชุม ศรีสะอาด, 2534 : 100) 4.51 – 5.00 หมายถึง มากทส่ี ุด 3.51 – 4.50 หมายถงึ มาก 2.51 – 3.50 หมายถงึ ปานกลาง 1.51 – 2.50 หมายถึง นอย 1.00 – 1.50 หมายถึง นอ ยทสี่ ุด

17 บทที่ 4 ผลการวิจยั จากขั้นตอนการวิจัยขางตน ไดผลลัพธเปนระบบติดตามการเขารวมกิจกรรมนักเรียน นกั ศกึ ษา ทม่ี ีตัวอยางสวนตดิ ตอ กบั ผใู ชงาน ดังภาพท่ี 4.1 – 4.6 ภาพท่ี 4.1 แสดงหนาแรกของระบบตดิ ตามการเขา ภาพท่ี 4.2 แสดงหนา ระบบตดิ ตามการเขา รวม รว มกิจกรรมนักเรยี นนกั ศึกษา กิจกรรมนักเรียนนักศกึ ษา ภาพท่ี 4.3 แสดงหนา เมนูเชค็ ชอ่ื ภาพที่ 4.4 แสดงหนา เมนูเพิ่มกจิ กรรม ภาพท่ี 4.5 แสดงหนาเมนรู ายงาน ภาพที่ 4.6 แสดงหนาเมนขู อ มูลนักเรียน

18 จากการนำระบบติดตามการเขารวมกิจกรรมนักเรียนนักศึกษา ไปใชงานใหกลุมตัวอยาง จำนวน 20 รูป/คน แลวทำการตอบแบบประเมินประสิทธิภาพระบบติดตามการเขารวมกิจกรรม นกั เรยี นนกั ศึกษา ของกลุมตวั อยางทท่ี ดลองใช แลว นำผลทไี่ ดมาคำนวณคาทางสถติ ิไดผ ลดงั นี้ ตารางที่ 4.1 ตารางแสดงขอมูลประเมินประสิทธิภาพระบบติดตามการเขารวมกิจกรรมนักเรียน นักศกึ ษา รายการ ������������� S.D. ระดับคณุ ภาพ 1. ความครบถว นสมบูรณของการแสดงผลขอมลู 4.4 0.52 มาก 2. ความเหมาะสมของปรมิ าณขอ มลู ท่แี สดงผล 4.8 0.42 มากทส่ี ุด 3. รปู แบบการแสดงผลบนจอภาพทเ่ี หมาะสมและสวยงาม 4.2 0.42 มาก 4. ความสะดวกในการใชง านระบบตดิ ตามการเขา รว มกจิ กรรม นร. นศ. 4.5 0.52 มากที่สุด 5. ระบบใชงานสะดวกและไมซบั ซอน 4.3 0.48 มาก 6. ความสามารถในการคน หาหรือเขาถงึ ขอ มลู ที่ตอ งการไดงา ย 4.8 0.42 มากท่ีสดุ 7. การวางตำแหนง ขององคประกอบตาง ๆ สนับสนนุ การใชงานระบบ 4.7 0.42 มากท่สี ดุ 8. ความเหมาะสมในการปฏสิ มั พนั ธโดตต อบกบั ผูใช 4.3 0.48 มาก รวม 4.5 0.46 มากท่สี ดุ จากตารางที่ 4.1 พบวา การประเมินประสทิ ธภิ าพระบบติดตามการเขา รว มกจิ กรรมนักเรียน นกั ศึกษา ผใู ชงานเห็นวาระบบสามารถใชงานไดใ นระดับมากทีส่ ุด มคี า เฉล่ีย 4.5 สวนประเด็นท่ีไดรับ การยอมรับมากที่สุด คือ ความสามารถในการคนหาหรือเขาถึงขอมูลที่ตองการไดงาย และความ เหมาะสมของปรมิ าณขอ มลู ที่แสดงผล ในระดบั มากท่สี ุด มีคา เฉลย่ี 4.8 ในขณะทป่ี ระเด็นรปู แบบการ แสดงผลบนจอภาพทเี่ หมาะสมและสวยงาม มคี า เฉล่ียต่ำที่สดุ คือมคี า เฉลย่ี 4.2 ซึง่ แสดงวา ผวู ิจัยควร ปรับปรุงรปู แบบใหสวยงาม เหมาะสมยิ่งข้นึ

19 บทที่ 5 สรุปผลการวจิ ยั อภปิ รายผลและขอ เสนอแนะ สรุปผลการวจิ ัย การวจิ ยั ครงั้ นี้ ระบบติดตามการเขารวมกจิ กรรมนักเรียนนกั ศกึ ษา มวี ัตถุประสงคเ พื่อพัฒนา ระบบเว็บแอพพลิเคชันสำหรับบันทึก และรายงานสรุปขอมูลการเขารวมกิจกรรมของนักเรียน นักศกึ ษา ซ่ึงชวยอำนวยความสะดวก ในการตรวจสอบ และดขู อ มลู การเขารว มกจิ กรรมยอ นหลงั เพื่อ ติดตามและดูแลพฤติกรรมของนักเรียนนักศึกษา ชวยในการพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอนใหมี ประสิทธิภาพ โดยมีลำดับขั้นตอนการทำงานคือ ศึกษาขอมูลและออกแบบและพัฒนาระบบ Web Application ใหสามารถเชื่อมขอมลู บนเวบ็ แอพพลเิ คชันได และประเมินประสิทธิภาพระบบติดตาม การเขา รว มกจิ กรรมนักเรียนนกั ศึกษา ทดลองใชกับ โรงเรยี นทิพยปาละวิทยานุสรณ ในโครงการตาม พระราชดำริสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจา กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี โรงเรียนพระปริยตั ิธรรม แผนกสามัญศึกษา ทำการใชระบบตดิ ตามการเขารวมกจิ กรรมนกั เรยี น ทุก สัปดาห จำนวนทั้งสิ้น 20 สปั ดาห ต้ังแตวันที่ 15 พฤศจิกายน 2562 – วันท่ี 18 ตลุ าคม 2562 ไดให ครู จำนวน 20 รูป/คน ทดลองใชระบบติดตามการเขารว มกิจกรรมนักเรียน โดยมี พระอธิการสนั ติสุข าณเมธี ผจู ดั การโรงเรยี นทิพยป าละวทิ ยานุสรณ (ผูร ับผดิ ชอบหนว ยงาน) พบวา การประเมินประสทิ ธิภาพระบบติดตามการเขา รวมกิจกรรมนกั เรียนนักศกึ ษา ผใู ชงาน เห็นวาระบบสามารถใชงานไดในระดับมากที่สุด มีคาเฉลี่ย 4.5 สวนประเด็นที่ไดรับการยอมรับมาก ท่ีสุด คอื ความสามารถในการคนหาหรือเขาถึงขอมลู ท่ตี องการไดงาย และความเหมาะสมของปริมาณ ขอมูลที่แสดงผล ในระดับมากที่สุด มีคาเฉลี่ย 4.8 แสดงวาระบบเว็บแอพพลิเคชันสามารถทำงานได อยางมีประสิทธิภาพ ระบบสามารถบนั ทกึ และรายงานสรุปขอมูลการเขา รว มกจิ กรรมของนกั เรยี นชวย อำนวยความสะดวกในการตรวจสอบ และดูขอ มูลการเขารวมกิจกรรมยอนหลงั เพื่อติดตามและดูแล พฤติกรรมของนกั เรียน ชว ยในการพฒั นากิจกรรมการเรียนการสอนใหม ปี ระสทิ ธภิ าพ อภปิ รายผล อภิปรายผลการใชระบบติดตามการเขารวมกิจกรรมนักเรียนนักศึกษา มีวัตถุประสงคเพื่อ พัฒนาระบบเว็บแอพพลิเคชนั สำหรับบนั ทึก และรายงานสรปุ ขอ มูลการเขารว มกิจกรรมของนักเรียน นกั ศกึ ษา ซงึ่ ชวยอำนวยความสะดวก ในการตรวจสอบ และดขู อ มลู การเขา รวมกจิ กรรมยอนหลัง เพื่อ ติดตามและดูแลพฤติกรรมของนักเรียนนักศึกษา ชวยในการพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอนใหมี ประสิทธภิ าพ โดยนำไปใชจรงิ กบั โรงเรยี นทพิ ยปาละวิทยานุสรณ ในโครงการตามพระราชดำริสมเด็จ พระกนิษฐาธิราชเจา กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี โรงเรียนพระปริยัติ

20 ธรรม แผนกสามัญศึกษา จังหวัดลำปาง พบวา ระบบเว็บแอพพลิเคชันสามารถทำงานไดอยางมี ประสิทธิภาพ ระบบสามารถบันทึกและรายงานสรุปขอมูลการเขารวมกิจกรรมของนักเรียนชวย อำนวยความสะดวกในการตรวจสอบ และดูขอ มลู การเขารว มกิจกรรมยอนหลัง เพื่อติดตามและดูแล พฤติกรรมของนักเรียน ชวยในการพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอนใหมีประสิทธิภาพ ระบบที่ได พัฒนานี้เปนเว็บเบสตแอพพลิเคชันที่ใชงานบนเครือขายอินเทอรเน็ต โดยไดผานกระบวนการ วิเคราะห ขอกำหนด เงื่อนไขความตองการ และออกแบบการทำงานใหสอดคลองกับการปฏิบัติงาน จริง การพฒั นาระบบไดใชภาษาพีเอชพี (PHP) และระบบจดั การฐานขอมูลมายเอสควิ แอล (MySQL) จากการทดสอบการทำงานของระบบดวยขอมูลจริงบางสวนนัน้ พบวาการทำงานของระบบสามารถ ทำงานไดอ ยา งถกู ตอ ง และเปน ไปตามวัตถุประสงคท่ีไดก ำหนดไว ขอ เสนอแนะในการนำผลการวจิ ยั ไปใช ในการออกรายงานของระบบติดตามการเขารวมกิจกรรมนักเรยี นนักศึกษา ควรเพิม่ เตมิ ทาง เลืกของรูปแบบไฟลท ่หี ลายหลาย เชน ไฟลเ อกสารเวิรด ไฟลเอกสารตารางทำการ หรือเอกสาร PDF เพื่ออำนวยความสะดวกในการใชง าน

21 บรรณานุกรม จรี าวธุ วารินทร. (2556). Basic + Advanced HTML5 CSS3 + JavaScript ฉบับสมบูรณ. กรุงเทพฯ:รไี ววา. ชะอรสนิ สขุ ศรวี งศ. (2559). อานฉลากยาดี ๆ มีประโยชน [ขอมลู อเิ ล็กทรอนกิ ส] . คณะเภสชั ศาสตร, มหาวิทยาลัยมหิดล. บญั ชา ปะสีละเตสัง. (2556). สรา งเวบ็ ไซตดวย HTML5 รวมกบั CSS3 และ jQuery. กรงุ เทพฯ: ซเี อด็ ยูเคช่ัน. นิพนธ แกว เกิด. (2555). การพฒั นาระบบการดูแลสนบั สนุนนักเรยี นเพอ่ื ลดจำนวนการออก กลางคันของนักเรียนอาชีวศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ สังกัดสำนักงาน คณะกรรมการการอาชีวศึกษา. กรุงเทพฯ:บัณฑิตวิทยาลยั มหาวทิ ยาลัยรังงสิต. ประเวศ วะสี. (2541). บนเสน ทางใหมก ารสงเสริมสุขภาพ:อภวิ ฒั นช วี ิตและสังคม. กรุงเทพมหานคร: สำนกั พิมพห มอชาวบาน. ปภาวี จรูญรตั น. (2556). พลงั งานและสิง่ แวดลอม. กรงุ เทพมหานคร: สำนกั พิมพศ ูนยส ง เสรมิ อาชีวะ. วรรณวิภา ดิตถะสิร.ิ (2554). คูม อื เรยี น SQL ดว ยตัวเอง. กรุงเทพฯ:โปรวชิ น่ั . วชิ วาวัณ ชมภนู ุช และ พรหมเมศ วรี ะพันธ. (2560). การพัฒนาระบบติดตามพฤตกิ รรมการ เขา เรยี นของนักเรยี น กรณีศึกษาโรงเรยี นโคง ไผว ิทยา. กำแพงเพชร:สถาบนั วิจยั มหาวิทยาลยั ราชภฏั กำแพงเพชร. โอภาส เอีย่ มสริ ิวงศ. (2558). ระบบฐานขอมูล (Database Systems). กรงุ เทพฯ:ซเี อ็ดยูเคช่นั .

22 ภาคผนวก

23 ภาคผนวก ก คมู อื ประกอบการใชง าน

24 ภาคผนวก ข แบบรบั รองการนำผลงานสงิ่ ประดิษฐฯ ไปใชงานจรงิ

25

26 ภาพแสดงการนำผลงานไปทดลองใช/ทดสอบ

27 ภาคผนวก ค แบบแสดงคุณลกั ษณะผลงานส่ิงประดษิ ฐ

28

29 ภาคผนวก ง รูปภาพประกอบ

30 ภาพแสดงหนา แอพพลเิ คชัน/หนาโปรแกรม ภาพแสดงการนำผลงานไปทดลองใช/ทดสอบ

31 ภาคผนวก จ แบบแสดงขน้ั ตอนการเขียนโปรแกรม

32 ประวตั ผิ วู ิจัย 1. ชื่อ นางสาวอรนชิ า นามสกุล เชยี งของ ตำแหนง นักศกึ ษา ระดับชน้ั ปวส.1 สาขาวิชา คอมพวิ เตอรธ ุรกิจ ท่ีอยู 285 หมู 5 ตำบลสบปาด อำเภอแมเมาะ จงั หวดั ลำปาง 52220 2. ชอ่ื นางสาวศรตุ ติญา นามสกลุ แกว ขาว ตำแหนง นกั ศึกษา ระดบั ชน้ั ปวส.1 สาขาวชิ า คอมพิวเตอรธรุ กิจ ทอี่ ยู 158 หมู 4 ตำบลจางเหนือ อำเภอแมเมาะ จังหวดั ลำปาง 52220 3. ชื่อ นางสาวปริฉตั ร นามสกลุ กันธยิ าใจ ตำแหนง นกั ศึกษา ระดับชน้ั ปวส.1 สาขาวิชา คอมพิวเตอรธรุ กจิ ท่อี ยู 161 หมู 3 ตำบลจางเหนอื อำเภอแมเมาะ จังหวดั ลำปาง 52220 4. ช่อื นางสาวปรชิ าติ นามสกลุ จนั มะโน ตำแหนง นักศกึ ษา ระดบั ชั้น ปวส.1 สาขาวิชา คอมพิวเตอรธรุ กจิ ทอี่ ยู 15/5 หมู 5 ตำบลนาสกั อำเภอแมเมาะ จังหวดั ลำปาง 52220 5. ช่อื นางสาวเขมิกา นามสกลุ สุรยิ ะแปง ตำแหนง นกั ศกึ ษา ระดบั ชน้ั ปวช.2 สาขาวิชา คอมพิวเตอรธรุ กิจ ทอี่ ยู 281 หมู 5 ตำบลแมเ มาะ อำเภอแมเมาะ จังหวดั ลำปาง 52220 6. ช่อื นางสาวมณีทิพย นามสกลุ ทายะรินทร ตำแหนง นกั ศกึ ษา ระดับชนั้ ปวช.2 สาขาวิชา คอมพวิ เตอรธ รุ กจิ ทีอ่ ยู 18 หมู 5 ตำบลนาสัก อำเภอแมเมาะ จังหวัด ลำปาง 52220 7. ชือ่ นางสาวศิรญิ าภรณ นามสกลุ ปุดทะวงค ตำแหนง นกั ศกึ ษา ระดบั ช้ัน ปวช.2 สาขาวชิ า คอมพิวเตอรธ ุรกิจ ท่อี ยู 97 หมู 5 ตำบลสบปาด อำเภอแมเ มาะ จงั หวัด ลำปาง 52220 8. ช่ือ นางสาวอริศา นามสกุล เทพพรมวงศ ตำแหนง นกั ศกึ ษา ระดบั ชน้ั ปวช.2 สาขาวชิ า คอมพวิ เตอรธรุ กิจ ท่อี ยู 107 หมู 5 ตำบลสบปาด อำเภอแมเ มาะ จังหวดั ลำปาง 52220 9. ชอื่ นางสาวนนั ชนชั นามสกุล พุธศิริ ตำแหนง นกั ศกึ ษา ระดบั ช้ัน ปวช.1 สาขาวชิ า คอมพวิ เตอรธุรกิจ ทอี่ ยู 118 หมู 4 ตำบลนาสัก อำเภอแมเ มาะ จังหวดั ลำปาง 52220


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook