คู่มือการใช้งานบอร์ดไมโครคอนโทรลเลอร์ KidBright เบื้องต้น ELECTRONIC BOOK เล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา การสื่อสาร และการนำเสนอ ภาคภูมิ ศรีจันทร์นวน
สารบัญ เรื่อง หน้า ตำแหน่งอุปกรณ์บนบอร์ดไมโครคอนโทรลเลอร์ KidBright 1 หน้ าต่างโปรแกรม KidBright IDE 2 ความหมายของเครื่องมือแต่ละชนิด 3-12 ทดลองการเขียนโปรแกรม 13-16
1 ตำแหน่งอุปกรณ์บน บอร์ดไมโครคอนโทรลเลอร์ KidBright 1. พอร์ต I/O (Input/Output) 2. เซนเซอร์วัดอุณหภูมิ 3. พอร์ต I/O I2C (Input/Output) 4. เซนเซอร์วัดแสง LDR 5. ไฟแสดงสถานะการเชื่อมต่อ 6. Dot Matrix 7. ปุ่มกด 1 และ 2 8. พอร์ต Micro USB 9. Buzzer 10. ปุ่ม Reset 11. KidBright Chain 12. พอร์ต USB 13. พอร์ต Servo
2 หน้าต่างโปรแกรม KidBright IDE 1. แถบบล็อกเครื่องมือ 2. สร้างงานใหม่ 3. เปิดไฟล์ 4. บันทึกไฟล์ 5. อัพโหลดโปรแกรมเข้าบอร์ด 6. เปลื่ยนภาษา 7. ย่อ-ขยาย และลบบล็อก 8. พื้นที่วางบล็อก
3 ความหมายของเครื่องมือแต่ละชนิด 1. แถบ Basic : แถบการแสดงผลโดยใช้ Dot Matrix แถบแสดงผลโดยใช้ Dot Matrix แบบกำหนดเอง เคลียร์สถานะ Dot Matrix แสดงผล 2 ตัวอักษร แสดงผลแบบเลื่อน แสดงผลแบบเลื่อนเมื่อพร้อมทำงาน หน่วงเวลาทำงาน วนทำงานซ้ำตลอดเวลา กำหนดข้อความ
4 ความหมายของเครื่องมือแต่ละชนิด 2. แถบ Math : แถบเครื่องมือดำเนินการทางคณิตศาสตร์ กำหนดค่าคงที่ ดำเนินการทางคณิตศาสตร์ กำหนดค่าตัวแปร ตัวแปร ดำเนินการยกกำลัง ดำเนินการรากที่สอง ดำเนินการตรีโกณมิติ ดำเนินการปัดทดศนิยม ดำเนินการแปลงค่าองศา ดำเนินการสุ่มตัวเลข ดำเนินการจำนวนคู่-คี่
5 ความหมายของเครื่องมือแต่ละชนิด 3. แถบ Logic : แถบเครื่องมือตัดสินใจ ถ้าเงื่อนไขเป็นจริง ให้ทำ ถ้าเงื่อนไขเป็นจริง ให้ทำ เป็นเท็จ ให้ทำ เทีบบค่าแบบคณิตศาสตร์ เทีบยค่าแบบตรรกศาสตร์ Inveres ค่าคงที่แบบตรรกะ ตั้งค่าสถานะให้ Dot Matrix เมื่อปุ่ม 1 กดจะให้ค่าจริง เมื่อปุ่ม 1 ปล่อยจะให้ค่าจริง เมื่อปุ่ม 2 กดจะให้ค่าจริง เมื่อปุ่ม 2 ปล่อยจะให้ค่าจริง
6 ความหมายของเครื่องมือแต่ละชนิด 4. แถบ Loop : แถบเครื่องมือใช้ในการทำงานแบบวนซ้ำ วนซ้ำเงื่อนไขเป็นจริง ออกจากบล็อค ทำงานในบล็อคต่อ
7 ความหมายของเครื่องมือแต่ละชนิด 5. แถบ Wait : แถบรอสถานะของอุปกรณ์ รอจนกว่า Dot Matrix พร้อมทำงาน รอจนกว่าปุ่ม 1 จะถูกกด รอจนกว่าปุ่ม 1 จะถูกปล่อย รอจนกว่าปุ่ม 2 จะถูกกด รอจนกว่าปุ่ม 2 จะถูกปล่อย
8 ความหมายของเครื่องมือแต่ละชนิด 6. แถบ Music : แถบควบคุมการทำงานของ Buzzer เลือกโน๊ต และความยาวเสียง เงียบตามความยาวเสียง เลือก Scale ของเสียง ตั้งค่าความดังเสียง อ่านค่าความดังเสียง
9 ความหมายของเครื่องมือแต่ละชนิด 7. แถบ Sensor : แถบที่ใช้อ่านค่าเซนเซอร์ที่อยู่บนบอร์ด อ่านค่าเซนเซอร์วัดแสง อ่านค่าเซนเซอร์วัดอุณหภูมิ อ่านค่าปุ่ม 1 อ่านค่าปุ่ม 2
10 ความหมายของเครื่องมือแต่ละชนิด 8. แถบ Clock : แถบที่ใช้อ่านค่าเวลาจาก Real Time Clock อ่านค่าวัน-เวลาแบบเต็ม อ่านค่าวันแบบเต็ม อ่านค่าเวลาแบบเต็ม อ่านค่าวันที่ อ่านค่าเดือน อ่านค่าปี อ่านค่าเวลา(ชั่วโมง) อ่านค่าเวลา(นาที) อ่านค่าเวลา(วินาที)
11 ความหมายของเครื่องมือแต่ละชนิด 9. แถบ I/O : แถบที่ใช้ในการควบคุม Input/Output เขียนสถานะ Output Inveres สถานะ Output อ่านสถานะ Output เขียนสถานะ USB Inveres สถานะ USB อ่านสถานะ USB อ่านสถานะ Input
12 ความหมายของเครื่องมือแต่ละชนิด 10. แถบ Advance : แถบที่ใช้สร้าง Multi-tasking สร้าง Task เรียก Task เรียก Function
13 ทดลองการเขียนโปรแกรม 1. โปรแกรม Hello World โปรแกรม Hello World! เป็นโปรแกรมพื้นฐานไม่ว่าจะเขียนด้วย ภาษาใดก็ตาม ในโปรแกรม Kid Bright IDE เราสามารถเขียนได้ตาม รูปด้านล่าง โดยแต่ละบล็อกที่ประกอบเป็นโปรแกรมมีการทำงานดังนี้
14 ทดลองการเขียนโปรแกรม 2. โปรแกรมกดปุ่มมีเสียง โปรแกรมนี้เป็นตัวอย่างของการเขียนโปรแกรมแบบมีการตัดสิน ใจเมื่อกดปุ่ม 1 Buzzer จะมีเสียง และเมื่อปล่อยปุ่ม 1 จะไม่มีเสียง
15 ทดลองการเขียนโปรแกรม 3. โปรแกรมนาฬิกาปลุกตามแสง ปกติแล้วนาฬิกาปลุกจะปลุกจามเวลาที่ตั้งไว้ล่วงหน้า แต่ โปรแกรมนี้เป็นการปลุกโดยมีแสงเป็นตัวกระตุ้นการปลุก
16 ทดลองการเขียนโปรแกรม 4. โปรแกรมรถบังคับ โปรแกรมรถบังคับเป็นโปรแกรมที่ใช้องค์ความรู้หลายด้าน เช่น ด้านการต่อวงจรไฟฟ้ากระแสตรง โดยที่นักเรียนนำองค์ความรู้ที่ได้ เรียนยานยนต์ และขนส่งสมัยใหม่มาประยุกต์ร่วมกันบอร์ดไมโคร คอนโทรลเลอร์ KidBright เพื่อสร้างชิ้นงานใหม่
Search
Read the Text Version
- 1 - 18
Pages: