Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

06

Published by Jatiya1975, 2019-12-01 23:07:49

Description: 06

Search

Read the Text Version

หน่วยท๖่ี การเรียนรู้และการปรับตัว ของสังคมไทย

๑. ความสัมพนั ธข์ องสภาพแวดล้อม ทมี่ ีผลตอ่ สังคมไทย

๑.ความสัมพนั ธข์ องสภาพแวดล้อมทม่ี ีผลตอ่ สังคมไทย โครงสร้างของสังคมไทยในปัจจุบนั มพี ฒั นาการและปรับเปลย่ี นในทกุ ระบบ โดยมีผลจากการตดิ ตอ่ กับสังคมประชาชาตติ ่างๆ ประกอบกับความเจริญก้าวหน้า ทางวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี การสือ่ สารและความกา้ วหน้าดา้ นการคมนาคม การเปิ ดเสรีทางการค้า และการเมอื ง ส่งผลใหเ้ กดิ การขยายอทิ ธิพล ทางการเมอื ง การทหาร เศราฐกจิ การศึกษา เกดิ ความ ร่วมมอื กนั และรวมตวั กนั ของประชาชาตใิ นการสร้างกลุ่มเศรษฐกจิ การเมอื ง

๑.ความสัมพนั ธข์ องสภาพแวดล้อมทมี่ ผี ลตอ่ สังคมไทย สังคม สภาพแวดล้อม การเรียนรู้ วัฒนธรรม ทางภมู ศิ าสตร์ และ ภูมปิ ัญญา ค่านิยม การปรับตวั การรับวัฒนธรรมภายนอก เพอ่ื ปรับโน้มเข้ากับวถิ ชี วี ิตทต่ี อ้ งการ

๒.วฒั นธรรมและ ขนบธรรมเนียมประเพณีไทย

๒.วัฒนธรรมและขนบธรรมเนียมประเพณีไทย ๒.๑ ความเป็ นมาและองคป์ ระกอบของวฒั นธรรมไทย องคป์ ระกอบของวฒั นธรรม มี 4 ลักษณะ คอื ๑.แนวคดิ หรือปรัชญา องคป์ ระกอบส่วนนีม้ ีท่ีมาจากความเชื่อ เรื่องปรัมปรา สภาวะแวดล้อมทเ่ี ป็ นเหตุเป็ น ผล หรือ มีหลักการ หลักวิชา เป็ นบานรองรับ แต่ส่วนมากมักมีท่ีมาจากศาสนาและ ธรรมชาติ ๒.สัญลักษณ์ คอื สิง่ ทส่ี ่อื ความหมายใหเ้ กดิ ความเข้าใจ เช่นภาษา ทา่ ทาง การแต่งกาย

๒.วัฒนธรรมและขนบธรรมเนียมประเพณีไทย ๒.๑ ความเป็ นมาและองคป์ ระกอบของวฒั นธรรมไทย องคป์ ระกอบของวัฒนธรรม มี 4 ลักษณะ คอื ๓.การจัดระเบยี บ การรวมตัวกันอาศัยระเบียบแบบแผนกากับ ซ่ึงรวมถึงการจัดระเบียบโครงสร้าง และการควบคุมใหอ้ ยใู่ นภาวะปกติ ๔.การใชป้ ระโยชน์ เป็ นการนามาใช้ใหเ้ กดิ ประโยชนแ์ ก่สังคมและผู้ปฏบิ ตั ิ

๒.วัฒนธรรมและขนบธรรมเนียมประเพณีไทย ๒.๒ ความสาคญั ของวฒั นธรรมไทย ๑.วัฒนธรรมคุม้ ครองคนและคุ้มครองสังคม ๒.วัฒนธรรมสร้างเอกลักษณใ์ หแ้ ก่สังคม ๓.วัฒนธรรมกาหนดบรรทดั ฐาน หรือ ช่วยสร้างแนวทางในการอยูร่ ่วมกันของสังคมมนุษย์ ๔.วัฒนธรรมปลูกฝังสร้างสรรคค์ ่านิยม ขัดเกลาสังคมและหล่อหลอมบุคลกิ ภาพ

๒.วัฒนธรรมและขนบธรรมเนียมประเพณีไทย ๒.๓ ความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรมไทยกบั วัฒนธรรมตะวันตก ๑.การเลือกรับวัฒนธรรม วัฒนธรรมของชาติหนึ่งอาจถ่ายทอดสู่วัฒนธรรมของอีกชาติหนึ่ง โดยการยืม วัฒนธรรมแล้วนามาปรับใช้ให้ผสมกลมกลืนกันไปโยค่อยๆ แทรกเข้าไป การเลือกรับ วฒั นธรรมของชาตติ า่ งๆตอ้ งไม่ขัดกบั คา่ นิยมและหลกั การของสังคม ในปัจจุบันซึ่งเป็ นยุคแห่งข้อมูลข่าวสารอิทธิพลของวัฒนธรรมจากแหล่งต่างๆ จะผ่านสอื่ ประเภทตา่ งๆ ไปท่วั โลกอยา่ งรวดเร็ว ในบางครั้งการรับวัฒนธรรม อาจไม่มี การคานึงถงึ ความเหมาะสม ของประเพณีและสภาพภมู อิ ากาศ ๒.ความจาเป็ นทจ่ี ะต้องมกี ารปรับเลอื กวัฒนธรรม การเลือกรับวัฒนธรรมของชาติอนื่ ต้องสอดคล้องกับวัฒนธรรมเดิมของชาติที่มี อยู่ ในอดีต การรับเลือกวัฒนธรรมของไทย ต้องผ่านผู้ปกครองประเทศ เป็ น ผู้สนับสนุนในการเปล่ียนแปลงดา้ นวัฒนธรรม

๒.วัฒนธรรมและขนบธรรมเนียมประเพณีไทย ๒.๔ ประเพณีไทย ประเพณีไทย หมายถงึ วิถที างการปฏบิ ตั ขิ องคนในสังคมทกี่ ระทาสบื ต่อกันมารช้านาน จารีตประเพณี หมายถงึ ประเพรีเกี่ยวกับศีลธรรม ประเพณีทเี่ ป็ นกฎของสังคมทที่ ุกคน ต้องทาตาม หากไมท่ าตามจะถกู ตาหนิว่าเป็ นคนเลวของสังคม ขนบประเพณี หมายถึง ประเพณีที่วางเป็ นระเบยี บแบบแผนไว้ประเพณีที่เกีย่ วข้องกับ พธิ ีการต่างๆ ธรรมเนียมประเพณี หมายถึง ประเพณีท่ีปฏิบัติตามความเคยชินที่มีมา ถ้าทาผิดก็ไม่ ถอื ว่าร้ายแรง แต่กจ็ ะแสดงว่าเป็ นคนทไ่ี มไ่ ด้รับการอบรมส่ังสอน

๒.วัฒนธรรมและขนบธรรมเนียมประเพณีไทย ๒.๕ ภมู ปิ ัญญาไทย ๑. ลักษณะของภมู ปิ ัญญาไทย ๑. ภมู ปิ ัญญาไทยมลี ักษณะเป็ นทงั้ ความรู้ ทกั ษะ ความเชื่อ และพฤตกิ รรม ๒. ภูมิปัญญาไทยแสดงถึงความสัมพันธร์ ะหว่างคนกับคน ธรรมชาติ ส่ิงแวดล้อม ส่ิง เหนือธรรมชาติ ๓. ภมู ปิ ัญญาไทยเป็ นองคร์ วมหรือกจิ กรรมทกุ อย่างในวถิ ชี วี ิตของคน ๔. ภูมิปัญญาไทยเป็ นเรื่องของการแก้ปัญหาจัดการ การปรับตัว และการเรียนรู้เพ่ือ ความอยูร่ อดของบคุ คล ชุมชน และสังคม ๕. ภมู ปิ ัญญาไทยเป็ นพนื้ ฐานสาคญั ในการมองชีวติ เป็ นพนื้ ฐานความรู้ในเร่ืองต่างๆ ๖. ภมู ปิ ัญญาไทยมลี ักษณะเฉพาะ ๗. ภมู ปิ ัญญาไทยมกี ารเปล่ียนแปลงเพอ่ื การปรับสมดุลในการพฒั นาทางสังคม

๒.วัฒนธรรมและขนบธรรมเนียมประเพณีไทย ๒.๕ ภมู ปิ ัญญาไทย ๒. มรดกภมู ปิ ัญญาไทย การเรียนรู้ ถ่ายทอด จากคนไทยรุ่นหน่ึงไปยังอกี รุ่นหนึ่งจนถึงปัจจุบนั ในเร่ืองต่างๆ ทม่ี เี อกลักษณเ์ ฉพาะเป็ นของคนไทย มรดกทตี่ กทอดมาถอื ว่าเป็ นภมู ปิ ัญญาไทย ๓. ภมู ปิ ัญญาทอ้ งถนิ่ หรือ ภมู ปิ ัญญาชาวบา้ น หมายถึงทุกสิ่งทุกอย่างท่ีชาวบ้านคิดขึน้ ได้เองและนามาใช้ในการแก้ปัญหา เป็ น เทคนิควธิ ี ซงึ่ ได้สืบทอดมาอย่างตอ่ เนื่องตงั้ แตอ่ ดตี จนถงึ ปัจจุบนั

๒.วัฒนธรรมและขนบธรรมเนียมประเพณีไทย ๒.๕ ภมู ปิ ัญญาไทย ๔. ลักษณะความสาคญั ของภมู ปิ ัญญาไทย ๑.ความสัมพนั ธอ์ ยา่ งใกล้ชดิ ระหว่างคนกบั โลก ส่งิ แวดล้อม สัตว์ พชื และธรรมชาติ ๒.ความสัมพนั ธข์ องคนกับคนอน่ื ๆ ทอี่ ยู่ร่วมกันในสังคม ๓.ความสัมพนั ธร์ ะหว่างคนกับสง่ิ ศักดสิ์ ทิ ธิส์ งิ่ เหนือธรรมชาติ โดยมพี ระมหากษัตริย์ เป็ นผู้ใช้ภมู ปิ ัญญาสร้างชาตไิ ทยใหเ้ ป็ นปึ กแผ่น

๒.วัฒนธรรมและขนบธรรมเนียมประเพณีไทย ๒.๖ คุณคา่ ของภมู ปิ ัญญาไทย เช่น คนไทยในอดีตที่มีความสามารถมาก เช่น นายขนมต้ม เป็ นนักชกที่มี ความสามารถในการใช้อวัยวะทุกส่วนในการชก ทาใหส้ ามารถชนะพมา่ ได้ ในปัจจุบัน มวยไทยยังถอื เป็ นศิลปะชั้นเยย่ี ม ทนี่ ิยมในทัง้ ชาวไทยและชาวต่างชาติ ชาวต่างชาติที่ ไดฝ้ ึ กมวยไทยจะรู้สึกยนิ ดแี ละภาคภูมิใจ ในการใช้กตกิ ามวยไทย เช่น การไหว้ครูมวย ไทย ถอื เป็ นมรดกภมู ปิ ัญญาไทย

๓. ภมู ปิ ัญญาไทย ในการแกไ้ ขปัญหาสังคม

๓.ภมู ปิ ัญญาไทยในการแก้ไขปัญหาสังคม เช่น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลปัจจุบัน พระองคท์ รงใช้ภูมิ ปัญญาสร้างคุณประโยชนแ์ ก่ประเทศชาติ และเหล่าพสกนิกรเหลือคณานับ ทรงใช้ พระปรีชาสามารถแก้ไขวิกฤติทางการเมือง ภายในประเทศ จนรอดพ้นภัยพิบัติ หลายครั้ง พระองค์ทรงมีพระปรีชาสามารถหลายด้าน แม้แต่ด้านการเกษตร พระองคไ์ ด้พระราชทาน ทฤษฎี เศรษฐกจิ พอเพยี งใหแ้ ก่พสกนิกร



๔.การปรับตัวของสังคมไทย ในยุคปัจจบุ นั

๔.การปรับตัวของสังคมไทยในยุคปัจจบุ ัน กระแสการเปล่ียนแปลงทางสังคมทีร่ วดเร็ว อิงการพัฒนาทางเศราฐกิจเป็ นสาคัญ ไดส้ ร้างปัญหาทางสังคม ไทยดา้ นวัฒนธรรม ๑.บทบาทครอบครัว เช่น เดก็ หนีเรียน ตดิ ยาเสพติด การก่อปัญหาอาชญากรรม เพราะ สถาบนั ครอบครัวมคี วามบกพร่อง ๒. ช่องวา่ งรายได้ เช่น ปัญหาทอี่ ยู่อาศัยไม่ถกู สุขลักษณะทาใหเ้ กดิ ภาวะเจบ็ ป่ วย ๓. การเปล่ียนแปลงของสภาพแวดล้อม เกิดจากการเพิ่มของประชากร และการทาลาย สงิ่ แวดล้อมทาให้ เกดิ มลพษิ ทางอากาศ เสียง ปัญหานา้ เน่าเสีย ๔.ปัญหาเรื่องอ่ืนๆ เช่น การทุจริตฉ้อราษฎรบังหลวงในระบบราชการ สิทธิทางเพศ ยาส เพตดิ

จบแล้วคะ่


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook