รายงาน นวตั กรรมการเรียนรู้และหลกั สูตรนวตั กรรม จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั จดั ทาโดย นางสุมามาลย์ รัตนอกั ษรศิลป์ รหสั นิสิต 6381082927 เสนอ รองศาสตราจารย์ ดร.อภิภา ปรัชญพฤทธ์ิ รายงานฉบบั นเ้ี ป็นสว่ นหนงึ่ ของรายวิชา 2749669 นวตั กรรมและการเปล่ียนแปลงหลกั สตู รการเรยี นการสอนระดับอุดมศกึ ษา (Innovation and Change in Higher Education Curriculum and Instruction) ภาคการศึกษาต้น ปีการศกึ ษา 2564 หลกั สตู รครศุ าสตรดุษฎบี ัณฑติ สาขาวิชาอดุ มศกึ ษา
ก คำนำ รายงานฉบับนเี้ ป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา 2749669 นวตั กรรมและการเปล่ียนแปลงหลกั สูตรการเรียนการสอน ร ะ ด ั บ อ ุ ด ม ศ ึ ก ษ า (Innovation and Change in Higher Education Curriculum and Instruction) หลักสูตรครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาอุดมศึกษา ภาคการศึกษาต้น ปีการศึกษา 2564 ซึ่งในรายงานฉบับน้ี ผจู้ ดั ทำได้นำเสนอ “นวัตกรรมการเรยี นรู้และหลกั สูตรนวตั กรรมจฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ” ผู้จัดทำขอขอบพระคุณ รองศาสตราจารย์ ดร.อภิภา ปรัชญพฤทธ์ิ ผู้ให้ความรู้และแนวทาง ในการศึกษาค้นคว้ารายงานฉบับนี้ ผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานฉบับนี้จะให้ความรู้และเป็นประโยชน์ แก่ผู้อ่านทกุ ท่าน สุมามาลย์ รตั นอกั ษรศิลป์ ผูจ้ ดั ทำ
สารบัญ ข เรื่อง หน้า คำนำ ก สารบัญ ข บทท่ี 1 ศูนย์นวตั กรรมการเรียนรู้จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย 1 1 1.1 แนะนำ 2 1.2 วสิ ัยทศั น์ 2 1.3 ผลงานเด่น 3 1.4 ดจิ ิทัลแพลตฟอร์มเพ่ือการเรยี นรู้ตลอดชวี ิต 4 บทที่ 2 CU NEURON 4 2.1 แนะนำ 4 2.2 หลกั สตู รรปู แบบการเรียน 4 2.3 หลักการเทียบโอนผลการเรยี น 5 2.4 หลักการสะสมผลการเรยี น 5 2.5 เสน้ ทางการเรยี นรใู้ นระบบคลงั ความรดู้ ิจิตอล 6 บทท่ี 3 CHULA MOOC 6 3.1 บทนำ 7 3.2 คอรส์ เรียน CHULA MOOC 8 3.3 CHULA MOOC แตกต่างจากการเรียนบนอินเทอร์เน็ตทวั่ ไปอยา่ งไร 8 3.4 CHULA MOOC จะมาทดแทนการเรยี นในหอ้ งเรยี นหรือไม่ 8 3.5 CHULA MOOC เปดิ สอนหมวดวชิ าอะไร 9 3.6 CHULA MOOC จะเป็นโอกาสหรือวกิ ฤตของสถาบันการศึกษา 9 3.7 หลกั สตู รจฬุ าฯ ออนไลน์ Lifelong Learning 10 3.8 หลกั สูตร CHULA MOOC Achieve 10 3.9 จุดเดน่ ของ CHULA MOOC 12 บทท่ี 4 เคร่ืองมอื การสอบและเครื่องมือการเรยี นการสอน 12 4.1 LMS (Learning Management System) 12 4.2 Exam Tools 2.4 คณุ สมบัติในการสมคั ร
สารบัญ (ตอ่ ) ค บทที่ 5 หลกั สูตร BAScii 14 14 5.1 บทนำ 16 5.2 แนะนำหลักสูตร BAScii 172 5.3 องคป์ ระกอบหลักสูตร BAScii 19 5.4 สาขาวชิ าของหลกั สูตร BAScii 19 5.5 คุณสมบตั ิในการสมคั รและสัดสว่ นการพิจารณา 20 5.6 เป้าหมายของหลักสตู ร BAScii บรรณานกุ รม
1 บทที่ 1 ศนู ยน์ วัตกรรมการเรียนรู้จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย 1.1 แนะนำศูนย์นวตั กรรมการเรียนรู้ ศูนย์นวัตกรรมการเรียนรู้เป็นหน่วยงานที่ทำหน้าที่สนับสนุนการดำเนินงานที่ช่วยพัฒนาการเรียนการสอน ที่ก่อให้เกิดนวัตกรรมในการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาคณาจารย์ นิสิตให้มีความรู้และทักษะเกี่ยวกับการเรียนการสอน รูปแบบต่างๆ ประเมินผลการเรียนรูแ้ ละการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน การนำเทคโนโลยีสารสนเทศและ อปุ กรณ์ตา่ งๆ ได้แก่ 1. Chula MOOC Chula MOOC คือคอร์สเรียนออนไลน์ฟรี แบบไม่จำกัดบุคคล สถานที่ และเวลา ซึ่งเปิดให้ นักเรียน นิสิต นักศึกษา ประชาชนที่สนใจแสวงหาความรู้ในรูปแบบออนไลน์ และเมื่อผู้เรียนเรียนจบและผ่าน เกณฑ์ตามที่รายวิชากำหนดไว้จะได้รับผู้เรียนจะได้รับ Certificate of Completion จากทางจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย 2. คลงั วดี ีโอออนไลน์ คลังวีดีโอออนไลน์เพื่อเผยแพร่ความรู้สู่สังคมไทย ได้แก่ iTuneU Youtube Channel และ www.media.lic.chula.ac.th 3. ระบบ Blackboard ระบบ Blackboard เป็นระบบสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต อาจารย์ สามารถสร้างรายวิชา บันทึกข้อมูลรายวิชา และนำเนื้อหา รวมทั้งเอกสารต่างๆ ที่เกี่ยวข้องเพื่อสร้าง เป็นเว็บไซต์รายวิชาได้ด้วยตนเอง โดยผู้สอนและผู้เรียนสามารถเข้าใช้งานในฟังก์ชันต่างๆ ของระบบได้สำหรับ การใช้งานระบบ Blackboard จะแบ่งเปน็ 3 ระดบั คอื ขัน้ เตรยี มการสอน ขั้นจดั กจิ กรรมในชน้ั เรยี น ข้นั วดั และ ประเมนิ ผล
2 1.2 วิสัยทศั น์ของศูนย์นวัตกรรมการเรยี นรู้ ศูนย์นวัตกรรมการเรียนรู้ ได้กำหนดวิสัยทัศน์ของหน่วยงานทีจ่ ะเป็นเสาหลักด้านนวัตกรรมการเรยี นรู้ ของสงั คมไทย ท้ังน้ีศนู ยฯ์ มพี ันธกิจหลัก 3 ดา้ นไดแ้ ก่ 1. เครือข่ายคณาจารย์เพื่อพัฒนานวัตกรรมการเรียนการสอน ได้แก่ การสร้างบัณฑิตการสร้าง เครือข่าย/พัฒนาคณาจารย์ให้มีความรูแ้ ละทักษะเกี่ยวกับการเรียนการสอนรูปแบบใหมอ่ ย่างมีประสิทธิผลและ ส่งเสริมการวิจยั เพื่อปรับปรุง/พัฒนาการเรยี นการสอน 2. นวัตกรรมการเรียนรู้ด้วยดิจิตอล ได้แก่ การเตรียมความพร้อมประชาคมจุฬาให้เท่าทันโลกด้วย นวัตกรรมดิจิตอลและสร้างเสรมิ ประสบการณ์ ในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและอุปกรณ์ที่ทันสมัยเพื่อพัฒนา สังคมแห่งการเรยี นรูแ้ ละสร้างสรรค์ 3. นวตั กรรมการเรยี นรตู้ ลอดชีวติ ไดแ้ ก่ การสนับสนุนและพฒั นานิสติ ให้มีความสามารถในการเรียนรู้ ตลอดชีวติ และการคดิ ข้นั สูง รวมถึงขยายโอกาสการเรยี นรู้ ถ่ายทอดความรสู้ ู่สงั คมม่งุ สู่การศกึ ษาไร้พรมแดน 1.3 ผลงานเดน่ ของศูนย์นวัตกรรมการเรยี นรู้ ผลงานเด่นของศูนยน์ วัตกรรมการเรยี นรู้ในชว่ งทีผ่ า่ นมา ได้แก่ 1. ตน้ แบบการเรยี นรู้ ได้แก่ การคดิ วิเคราะห์ขั้นสงู และActive Learning 2. ตน้ แบบหอ้ งเรยี นสมัยใหม่ ไดแ้ ก่ Smart Classroom Interactive Classroom และ Multi monitor Classroom 3. ตน้ แบบคลงั วดี โี อออนไลน์เพื่อเผยแพร่ความรูส้ ่สู งั คมไทย ได้แก่ iTuneU Youtube Channel และ http://www.media.lic.chula.ac.th - สนบั สนนุ การพฒั นาหลักสูตรออนไลนเ์ พื่อส่งเสริมการเรียนรูต้ ามอธั ยาศัยของนิสติ จุฬาฯ - สนบั สนนุ การพัฒนานวตั กรรม Chula Clicker เพ่ือสง่ เสรมิ การเรียนร้แู บบ Active Learning - สนับสนุนการพฒั นานวตั กรรม Course Ville เพือ่ ส่งเสรมิ การใช้เทคโนโลยใี นการบรหิ ารจดั การการเรยี นรู้ - ผลักดันนโยบาย E-learningให้เกิดการใชง้ านและเผยแพร่ท่ัวมหาวทิ ยาลยั
3 1.4 ดจิ ทิ ลั แพลตฟอรม์ เพือ่ การเรียนรู้ตลอดชวี ติ
4 บทท่ี 2 CU NEURON 2.1 แนะนำหลกั สตู ร CU NEURON คือ ระบบสนับสนุนการเรียนการสอนรายวิชาศึกษาทั่วไปและกิจกรรม CUVIP ในระบบออนไลน์ที่มีคุณภาพของเนือ้ หาอย่างครบถว้ น ครอบคลุมกล่มุ เป้าหมาย ไดแ้ ก่ นสิ ติ /นักศกึ ษา บุคลากร ศิษย์เก่า นักเรียนระดับมัธยมศึกษา และประชาชนทั่วไป ให้สามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองผ่านช่องทาง การเรียนรู้ที่หลากหลายรูปแบบ เรียนรู้ได้จากทุกสถานที่และทุกเวลา อีกทั้งมีระบบธนาคารเครดิตรายบุคคล ที่รวบรวมข้อมูลการเรียนรู้ไว้อย่างเป็นระบบเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องและตลอดชีวิตของบุคคล ซึ่งการส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตด้วยการพัฒนาทักษะการดำเนินชีวิตและการทำงานที่สอดคล้องกับ วิถีปจั จบุ ันและในอนาคตของบุคคลถือเป็นยุทธศาสตรท์ ่สี ำคัญของศูนย์การศึกษาทวั่ ไป 2.2 หลกั สูตรรปู แบบการเรียน 1. ผู้เรียนสามารถนำผลการเรียนรู้และผลลัพธ์การเรียนรู้ ความสามารถ และ/หรือสมรรถนะ มาเทียบ หนว่ ยกติ และสะสมในระบบคลังความรดู้ จิ ติ อลของ GenEd ไดต้ ามหลักเกณฑท์ ก่ี ำหนด 2. ผู้เรียนสามารถสะสมผลการเรียนและผลลัพธ์การเรียนรู้ ความสามารถ และ/หรือสมรรถนะ ในระบบ คลังความรู้ดิจิตอลของ GenEd ได้ โดยไม่จำกัด อายุ คุณวุฒิของผู้เรียน ระยะเวลาในการสะสมหน่วย กิต และระยะเวลาในการเรยี น 3. ผู้เรียนสามารถลงทะเบียนเรียนและสะสมหน่วยกิตได้ตลอดชีวิต โดยไม่มีเงื่อนไขของระยะเวลาในการ สะสมและระยะเวลาในการศึกษา 4. เพื่อส่งเสริมให้บุคคลสามารถสะสมผลการเรียน และผลลัพธ์การเรียนรู้ที่ได้รับจากการศึกษาในระบบ คลงั ความรดู้ ิจติ อลของ GenEd 2.3 หลกั การเทียบโอนผลการเรยี น ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถพัฒนาความรู้ความสามารถของตนเองตามข้อกำหนดและเงื่อนไขของ รายวิชา และแสดงผลความรูค้ วามสามารถทต่ี รงกับข้อกำหนดและเงื่อนไขของรายวชิ าเพื่อเก็บสะสมเครดิตไว้ใน ระบบคลงั ความร้ดู จิ ติ อลของ GenEd การขอเทียบโอนความรู้ เพอื่ นับเปน็ หนว่ ยกิตเทียบเท่ากับรายวิชาตามเกณฑ์การเรียนของ GenEd และ ประกาศ/ข้อบังคับว่าด้วยการเทียบโอนผลการเรียนของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และประกาศกระทรวง อดุ มศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ วิจัยและนวตั กรรม เรือ่ งแนวทางการดำเนนิ งานระบบคลงั หนว่ ยกติ ระดบั อดุ มศึกษา
5 2.4 หลกั การสะสมผลการเรยี น หลักการสะสมผลการเรียนในระบบคลังความรู้ดิจิตอลของ GenEd จะเป็นการเก็บสะสมผลการเรียน และ/หรือผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียนที่ศึกษารายวิชาต่างๆ การเข้าร่วมกิจกรรม CUVIPs ในระดับปริญญาตรี ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยที่จัดให้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ ที่สามารถวัดและ ประเมินได้โดยวิธีการต่างๆ และผลลัพธ์การเรียนรู้นี้จะสามารถนำมาเทียบกับรายวิชาในหลักสูตรเพื่อให้ได้ หน่วยกิตตามหลักเกณฑ์การเทียบโอนผลการเรียนระดับปริญญาตรี และเก็บเป็นหลักฐานการสะสมหน่วยกิต อาทิ สมุดสะสมหน่วยกิต แฟ้มสะสมงาน หรือเก็บไว้ในลักษณะ Online electronic files และฝากไว้ในระบบ คลงั ความรู้ดิจิตอลของ GenEd 2.5 เส้นทางการเรยี นรู้ในระบบคลงั ความรดู้ จิ ิตอลศูนย์การศึกษาทั่วไป จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย
6 บทท่ี 3 CHULA MOOC 3.1 บทนำครัง้ แรกกับการเรียนออนไลน์ โมเดลการศึกษาแนวนี้เกิดขึ้นครั้งแรกเมื่อปี 2012 มหาวิทยาลัยหลายๆ แห่งในอเมริกาตระหนักว่า ระบบการรับนักศึกษา (admission) คือกำแพงหนาที่ปิดกั้นคนธรรมดาทั่วไปกับความรู้ ในสาขาวิชาต่าง ๆ ท่ีพวกเขาถืออย่ใู นมอื บทเรียนทม่ี ีคา่ เหล่านี้ควรถูกแบง่ ปนั ใหก้ บั ผู้ใฝ่รู้ท่ไี ม่ได้อยใู่ นระบบบา้ ง สถาบันเทคโนโลยแี มสซาชเู ซตส์ หรือ MIT คือสถาบันแรกท่ีคิดค้นโปรเจกต์นำร่อง OCW (Open Courseware) ที่อนุญาตให้นักศึกษาและอาจารย์ผู้พัฒนาหลักสูตรจากมหาวิทยาลัยอื่น ๆ เข้าถึงเนื้อหาวิชาท่ีพวกเขาเปิดสอนได้ นอกจากจะสรา้ งแรงกระเพ่ือมให้แวดวงการศกึ ษาในตะวนั ตกแล้ว โครงการนยี้ ังจดุ ประกายให้พวกเขาเห็นความ เปน็ ไปไดใ้ นการแบง่ ปันความรูส้ ูค่ นในสังคมมากข้ึน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเปิดตัว CHULA MOOC (Massive Open Online Courses) คอร์สเรียนออนไลน์ ทเี่ ปดิ ใหค้ นทั่วไปสามารถเรยี นวชิ าตา่ งๆ ที่เปดิ สอนในมหาวิทยาลยั ไดแ้ บบฟรๆี
7 3.2 คอร์สเรยี น CHULA MOOC ทุกวันนี้ระบบการเรียนออนไลน์ของมหาวิทยาลัยทั่วโลกพัฒนามาไกลมาก การสอนออนไลน์ไม่ได้เป็น เพียงแค่การบันทึกเทปในห้องแล้วเผยแพร่เหมือนแต่ก่อน แต่เป็นการนำเนื้อหาวิชาที่มหาวิทยาลัยมีอยู่แล้วมา ดีไซนก์ ารสอนใหมใ่ ห้เหมาะสมกับการเรียนบนอินเทอรเ์ น็ต เราเคยเรียกสิ่งนี้ว่า Online Courses เมื่อสถาบันต่าง ๆ บรรจุวิชาการเรียนการสอนเข้าไปมากขึ้น จึงพัฒนาระบบเป็น Massive Open Online Courses หรือ MOOC ซึ่งในมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงจะมีการ พัฒนาและแข่งขันกนั อยู่ตลอดเวลา แวดวงการศกึ ษาไทยเองก็ได้ผลกั ดนั โครงการมหาวทิ ยาลยั ไซเบอร์ หรือ Thailand Cyber University (TCU) ออกมาเปน็ Thai MOOC โดยรบั การสนบั สนุนจากสำนักงานคณะกรรมการการอดุ มศึกษา (สกอ.) CHULA MOOC คอื แพลตฟอรม์ การเรียนออนไลน์ท่เี อ้ือให้คนใฝเ่ รยี นสามารถเรยี นรู้ได้ตลอดชีวิต หรือ lifelong learning เราเช่ือวา่ การเรยี นรทู้ ่ีไมห่ ยุดยั้งเป็นรากฐานสำคญั ท่จี ะทำให้มนุษยก์ ้าวทันโลก และไม่ว่าคุณ จะเป็นคนวัยไหนหรือสำเร็จการศึกษาระดับไหนมา ทุกคนสามารถเก่งในเรื่องที่ตัวเองสนใจได้ถ้าศึกษาอย่าง จรงิ จงั ท้ังหมดน้ีคอื ความต้องการของคนในสังคมยุคใหม่
8 3.3 CHULA MOOC แตกต่างจากการเรยี นบนอนิ เทอร์เน็ตท่วั ไปอยา่ งไร ในแง่เทคโนโลยี e-Learning และ MOOC ต่างอยู่ในระบบ Course Ville (การบันทึกการเรียนการ สอนในห้องเรียนแล้วนำมาดูย้อนหลัง) เหมือนกัน แต่ MOOC เป็นแพลตฟอร์มที่เป็นมิตรกับการใช้งานของคน ทั่วไป สามารถออกแบบให้คนทุกวัยใช้งานได้ และมีระบบลงทะเบียนเรียนที่ไม่ซับซ้อน ดังนั้น MOOC มี ศกั ยภาพเหมาะสมที่สดุ ส่วนการสอน ความยาวของเนื้อหาแต่ละตอนจะสั้นกว่าคอร์สเรียนของที่อื่น เราเชื่อว่าความยาวของ เนื้อหามีความสอดคล้องต่อความจดจ่อของผู้เรียน เราจึงตั้งใจออกแบบบทเรียนที่กระชับเพื่อให้คนเรียนไปถึง เป้าหมายได้ไวขึ้น และเน้นเนื้อหาวิชาที่เรียนแล้วสามารถนำไปใช้ได้จริง ผู้เรียนสามารถเข้ามาเรียนได้ต าม อัธยาศยั ไมก่ ำหนดเวลาตายตวั ไม่วา่ คณุ จะเรียนเรว็ หรอื เรยี นช้า เปา้ หมายเรามีอยา่ งเดียวคอื อยากให้คณุ เกง่ ขนึ้ อีกหนึ่งทิศทางหลักคือ การเปิดให้ทุกคนมีสิทธิ์ได้เรียนฟรี ใครอยากเรียนอะไรต้องได้เรียน และไม่ใช่แค่ เฉพาะคนไทยเท่านัน้ ชาวต่างชาติกส็ ามารถเข้ามาเรียนได้ดว้ ย และยงั มกี ารสอบวัดผล หรือสอบควิซ เพื่อตรวจสอบ ความเข้าใจของผู้เรียน ถ้ายังไม่เข้าใจก็สามารถย้อนกลับไปเรียนซ้ำได้ไม่ว่ากัน เมื่อเรียนจบก็มีการสอบวัดผลใหญ่ และมีใบประกาศนียบัตรมอบใหห้ ลงั เรยี นจบคอร์ส 3.4 CHULA MOOC จะมาทดแทนการเรียนในห้องเรยี นหรอื ไม่ การเรียนออนไลน์ไม่สามารถทดแทนการเรียนแบบตัวต่อตัวในห้องเลกเชอร์ได้อย่างร้อยเปอร์เซ็นต์ เพราะเทคโนโลยีคอื เคร่ืองมือช่วยแบ่งเบาภาระในการเรียนการสอน ถา้ เนือ้ หาส่ือสารทางเดยี วก็จะขยบั ไปอยู่ใน การเรียนออนไลน์ แตใ่ นโลกความจริงต้องยอมรับว่ายังมีข้อจำกัดอยู่ เช่น คณุ จะไมส่ ามารถสนทนากับอาจารย์แบบเรยี ลไทม์ได้ หากผู้เรียนมีข้อสงสัย ผู้เรียนสามารถโพสต์คำถามในกลุ่มเฟซบุ๊กของแต่ละรายวิชาได้ ซึ่งพื้นที่ตรงนั้นคือห้องเรียน เสมอื น รวมคนที่สนใจเร่อื งที่คล้ายคลงึ กนั มาชว่ ยกนั ถาม ชว่ ยกันตอบ เกิดเป็นสงั คมการเรียนรู้ตามทตี่ ้ังใจไว้ 3.5 CHULA MOOC เปดิ สอนหมวดวิชาอะไร ตอนคัดเลือกหมวดวิชา ต้องพิจารณาก่อนว่าผู้เรียนอยากเรียนอะไร อยากพัฒนาทักษะด้านไหนบ้าง ความคาดหวังในปีแรกคือ อยากให้ทุกคนได้เรียนเพื่อปรับฐานความรู้ของตัวเองก่อนแล้วค่อยๆ ขึ้นไปยัง คอร์สเรียน และเฉพาะทางมากขึ้นในเวลาถัดไป ซึ่ง 5 หมวดวิชาที่เปิดสอนประกอบด้วยหมวดธุรกิจ หมวดไอที และหมวดภาษาที่เป็นวิชาความรู้ที่สามารถนำไปย่อยและปรับใช้กับการทำงานในชีวิตจริง รวมถึง วิชาหมวดสุขภาพ และหมวดศิลปะ เนื่องจากคนเราทำงานกันแค่หนึ่งส่วนสามของวันเท่านั้น เวลาที่เหลือคือ การใช้ชีวิต และหลังจากทีไ่ ด้ทั้ง 5 หมวดวิชาหลกั นีม้ า ต้องคิดต่อว่าควรจะสอนรายวิชาอะไรบา้ งให้ตอบรบั กบั ส่งิ ท่คี นเรยี นอยากจะเรยี น
9 วชิ าท่ไี ด้รับความสนใจมากที่สุดคือ วิชา IT พอเทคโนโลยีเจรญิ มาไกลมาก สง่ิ ทเี่ กดิ ขน้ึ คอื การท่ีมี Big Data หรอื ขอ้ มลู เยอะแยะมากมาย คนจงึ สนใจวา่ พวกเขาจะมีวธิ นี ำข้อมลู เหล่านี้มาใช้ประโยชน์ หรอื ต่อยอดกับงานใน อนาคตอย่างไร ศาสตรน์ ี้จงึ กลายเปน็ ศาสตร์ใหม่ที่ใครๆ กอ็ ยากเรียนร้แู ละเขา้ ใจ สุดท้ายคือการปรับเปลี่ยนให้วิดีโอของ CHULA MOOC เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของการเรียนการสอน ช่วยให้นิสิตนักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในบทเรียนมากกว่าการนั่งฟังบรรยายเพียงอย่างเดียว รวมทั้งช่วยให้ เกดิ การแลกเปล่ยี นความรู้ข้ามสาขาวชิ าได้งา่ ยมากขนึ้ ด้วย 3.6 CHULA MOOC จะเป็นโอกาสหรือวกิ ฤตของสถาบันการศึกษา ในวันที่คอร์สเรียนออนไลน์ได้รับความนิยมมากขึ้น มันเป็นทั้งวิกฤตและโอกาส ถ้าเราอยากพัฒนาคน เราตอ้ งให้คนเขา้ ถึงทรัพยากรความรู้ได้อยา่ งเทา่ เทยี มกนั ก่อน ภายนอกคนอาจมองวา่ คนเรียนจุฬาฯ จะต้องเป็น คนเก่งคนรวยเท่านั้น แต่จริงๆ จุฬาฯ เป็นสถาบันที่พร้อมจะช่วยผลักดันคนทุกคนในสังคมอย่างไม่ปิดกั้น การมีแพลตฟอร์มที่ทุกคนสามารถเข้ามาใช้งานได้ง่าย มีเนื้อหาที่ดี รวมทั้งมีอาจารย์ผู้สอนที่เชี่ยวชาญมาให้ ความรู้ศาสตรน์ ้นั ทๆ ดว้ ยตัวเอง น่เี ปน็ โอกาสท่ีคนไทยทกุ คนจะขยับไปข้างหนา้ พร้อมกัน 3.7 หลกั สูตรจฬุ าฯ ออนไลน์ Lifelong Learning สถานการณ์การระบาดของโควิด-19 ในชว่ งเวลาท่ีผ่านมาซ่ึงหลายคนต้องทำงาน Work from Home ส่งผลให้การเรียนรู้ทางออนไลน์เป็นที่นิยมเป็นอย่างยิ่ง เช่นเดียวกับหลักสูตร CHULA MOOC ภายใต้ การดำเนินงานของศูนย์นวัตกรรมการเรียนรู้ จุฬาฯ ซึ่งเปิดคอร์สเรียนออนไลน์ในวิชาต่างๆ มาตั้งแต่ปี 2560 ซึ่งได้รับความสนใจจากประชาคมจุฬาฯ และผู้สนใจทั่วไปอย่างล้นหลามเช่นกัน หลายวิชาใน CHULA MOOC มีผู้สมัครเรียนเต็มจำนวนในเวลาอันรวดเร็ว รวมถึงในปัจจุบันก็ยังคงมีผู้สมัครเข้าเรียนออนไลน์ในวิชาต่างๆ เป็นจำนวนมาก CHULA MOOC เป็น Lifelong Learning สำหรบั คนทวั่ ไป รวมไปถึงการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ ไดจ้ รงิ ในชว่ งทีม่ กี ารระบาดของ COVID-19 โดยเฉพาะในเดือนเมษายน มกี ารเปิดวิชาตา่ งๆ ใน CHULA MOOC ให้ผู้สนใจเรียนเพิ่มขึ้น จากเดิมที่เคยเปิดเดือนละ 5 วิชา เปิดเพิ่มเป็นสัปดาห์ละ 5 วิชา รวมเป็น 25 วิชา ในเดือนเมษายน ผลตอบรับที่ได้คือทุกวิชาในเดือนนั้น 5,000 ที่นั่งเต็มหมด หลังจากเริ่มคลาย Lockdown คนเริ่มกลับมาทำงานตามปกติ แต่วิชาต่างๆ ของ CHULA MOOC ก็ยังเป็นที่นิยมค่อนข้างสูงเนื่องจากคนเร่ิม เปดิ ใจกบั การเรยี นออนไลน์มากข้นึ
10 “วชิ าในหมวดภาษาจะเต็มเร็วมาก บางคร้งั เปดิ ไป 3 ชั่วโมงกเ็ ตม็ แล้ว แม้จะเปิดรบั ผูเ้ รยี นในหมวดวิชา นี้เพิ่มขึ้นเป็น 10,000 ที่นั่ง ผู้เรียนก็ยังเต็มเหมือนเดิม มีการแบ่งวิชาอย่างชัดเจนสำหรับกลุ่มประชาชนทั่วไป และวิชาที่เปิดเป็นพิเศษสำหรับนิสิตและบุคลากรจุฬาฯ ในทุกๆ เดือนจะมีการเปิดวิชาใหม่โดยเฉลี่ยประมาณ 2 วชิ า ดงั นั้นจะมีวิชาใหม่ผสมวิชาเก่าท่เี ปดิ ใหเ้ รยี นออนไลน์ทุกเดือนๆ ละ 5 วิชา วิชาทไ่ี ดร้ บั ความนิยมจะนำมา เปิดใหเ้ รียนใหม่ทุกๆ 3-4 เดือน ปัจจุบันมกี ารเปิดวิชาต่างๆ ใน CHULA MOOC ไปแลว้ มากกว่า 70 วิชา ซ่ึงจะ มีเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ อีกประมาณ 30 วิชา เพื่อตอบสนองนโยบายของมหาวิทยาลัยในการสร้างคลังความรู้ดิจิตอล สำหรับประชาชนทวั่ ไป” 3.8 หลักสตู ร CHULA MOOC Achieve ในส่วนของหลักสูตร CHULA MOOC Achieve เป็นหลักสูตรเพื่อให้ผู้เรียน ในภาคธุรกิจนำไปใช้ ประกอบกิจการหรือทำงานในองค์กรได้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ปัจจุบันมีวิชาที่เปิดสอนในหลักสูตรเพิ่มข้ึน มีการเปิดสอนด้วย Pathway ต่างๆ โดยในปี 2563 มีการเปิดตัว Pathway ที่มีชื่อว่า “Thinking Like a Programmer” เนื่องจากในโลกยุคดิจิทัลเช่นปัจจุบัน ทักษะเรื่อง Coding มีความสำคัญ จึงมีการพัฒนาเป็น วิชาเกย่ี วกบั Coding ผเู้ รยี นจะเริ่มตน้ จากพื้นฐานการพฒั นาการเขยี นโปรแกรม 3.9 จดุ เด่นของ CHULA MOOC ทุกวันนี้การเรียนออนไลน์ มีทั้งการจัดการเรียนสอนออนไลน์ในรายวิชาต่างๆ ในมหาวิทยาลัย นับเป็น ความท้าทายอย่างยิ่งเนื่องจากเป็นการเปลี่ยนกระบวนการการจัดเรียนการสอนใหม่ อีกส่วนหนึ่งคือการให้ ความรผู้ า่ นสอื่ ออนไลน์ ซงึ่ ได้เริม่ รบั ความนิยมอยา่ งมาก จุดเด่นที่ชัดเจนของ CHULA MOOC ก็คือ การเป็น Platform มีการประเมินผลที่แตกต่าง นอกจาก การเรียนแล้วยังมีกิจกรรมให้ทำ ผู้เรียนตอ้ งตอบคำถาม ความรู้จะเกิดข้ึนไม่ได้จากการรบั ฟังอย่างเดียว แต่ต้อง ลงมอื ปฏิบตั ดิ ว้ ย นอกจากนี้แตล่ ะบทเรียนย่อยของ CHULA MOOC เปน็ บทเรียนทผ่ี า่ นการออกแบบล่วงหน้าว่า จาก 1 ถึง 10 ผู้เรียนจะเดนิ ตามเสน้ ทางทอ่ี อกแบบไว้ โดยมีกรรมการตรวจสอบความถูกตอ้ งของเนื้อหา
11 “การเรียนออนไลน์เป็นสิ่งสำคัญ และน่าจะเป็นวิธีการที่ง่ายที่สุดในการที่จะทำให้เกิดการเรียนรู้ ทั้งในแง่ของข้อจำกัดเรื่องการเดินทาง รวมไปถึงวัฒนธรรมที่เริ่มปรับเปลี่ยน คนเริ่มเปิดใจกับการเรียน ออนไลนม์ ากขึ้น มหาวิทยาลัยส่งเสริมให้คณาจารย์นำเนื้อหาวิชาที่มีความจำเป็นในการตอบโจทย์กับสังคมไทยมา เปิดสอนใน CHULA MOOC ปัจจุบันจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีเนื้อหาวิชาที่เกี่ยวกับนวัตกรรมอยู่ พอสมควร รวมทั้งมีจัดการเรียนการสอนแบบ Blended Learning คณาจารย์ผู้สอนสามารถนำ content มาพัฒนาเป็นรายวิชาที่เป็นออนไลน์ และนำมาปรับเปลี่ยนกระบวนการจัดการเรียนการสอนให้ทันสมัย สามารถเขา้ ถงึ content ที่ไหนเม่ือไหร่กไ็ ด้”
12 บทท่ี 4 เคร่ืองมือการสอบและเครือ่ งมือการเรียนการสอน 4.1 LMS (Learning Management System) 4.1.1 ระบบ Blackboard เป็นระบบบริหารจัดการการเรียนการสอน (LMS) ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ผู้สอนสามารถ สร้างรายวิชา บันทึกข้อมูลรายวิชา และนำเนื้อหา รวมทั้งเอกสารต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องมาสร้างเป็นเว็บไซต์ รายวิชาได้ด้วยตนเอง การใช้งาน ในฟังก์ชันต่างๆ ของระบบประกอบด้วย การประกาศข่าวสาร การเผยแพร่เอกสารต่างๆ เช่น ประมวลรายวิชา และเอกสารประกอบการเรียนการสอน การรับ-ส่งการบ้าน การจัดทำแบบทดสอบความรู้ การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นผ่านกระดานสนทนา และ e-mail รวมถึง การประเมนิ ผลการเรียนรู้ เปน็ ต้น 4.1.2 ระบบ myCourseVille เป็นระบบการจัดการการเรียนการสอน (LMS) ที่เชื่อมต่อกับสังคมออนไลน์ (Facebook) โดยมีแนวคิดการพัฒนาระบบให้สอดคล้องกับทิศทางของพัฒนาการทางสังคมในปัจจุบัน ซึ่งมีแนวโน้ม การพัฒนาไปสู่เครือข่ายสังคมออนไลน์ (online social Network) มากขึ้น ดังนั้นการนำปฏิสัมพันธ์ที่เกดิ ขึ้นใน ห้องเรียนมาผสมผสานกับปฏิสัมพันธ์บนเครือข่ายสังคมออนไลน์ ผ่านระบบจัดการการเรียนการสอน ( LMS) สามารถทำให้เกิดปฏิสัมพันธ์แบบใหม่ อันจะเป็นการกระตุ้นการเรียนรู้และการร่วมกิจกรรมของผู้เรียนในยุค สมยั น้ไี ด้เป็นอย่างดี 4.2 Exam Tools Exam Plus เป็นแพลตฟอรม์ ที่ออกแบบมาเพ่ืออำนวยความสะดวกให้กบั ผู้จดั สอบและผู้เรียนแบบครบ วงจร เริ่มตั้งแต่ระบบคลังข้อสอบ ระบบการจัดสอบระบบวิเคราะห์ข้อสอบ ซึ่งสามารถนำผลการสอบมา วิเคราะห์ ต่อยอด และพฒั นาการเรียนการสอนได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ จดุ เด่นของแพลตฟอร์ม Exam Plus คือ สามารถวิเคราะห์คุณภาพข้อสอบและความถนัดของผู้สอบเชิงลึกได้อย่างรวดเร็ว ใช้งานได้สะดวกผ่าน Web- based (ผู้เรียนสามารถใช้งานได้ทั้ง Web-based และ Application บน iPad) โดยในระหว่างการสอบผู้สอบ จะไม่สามารถใช้งานโปรแกรมหรือเชื่อมต่อบลูทูธได้ ระบบรองรับข้อสอบหลากหลายประเภท ได้แก่ แบบ ตัวเลือก (Multiple Choice) แบบข้อเขียน (Essay) แบบเติมคำ (completion test) แบบเลือกถูก/ผิด (True/False) รวมถงึ ข้อสอบแบบใสภ่ าพ วิดที ัศน์ เสียง สตู รคณิตศาสตร์ และสญั ลกั ษณพ์ ิเศษได้
13 4.2.1 Capture Tools Echo360 เป็นแพลตฟอร์มที่ใช้ในการบันทึกการบรรยายของอาจารย์และนำไปเผยแพร่ผ่าน เครือข่ายต่าง ๆ เพื่อให้นิสิต สามารถศึกษาด้วยตนเองได้หลายช่องทาง เช่น ระบบ Blackboard, myCourseville, Google Classroom และเว็บไซต์อื่นๆ สื่อการสอนที่บันทึกไว้นี้สามารถนำมาใช้สำหรับให้ นสิ ติ ศึกษาด้วยตนเองก่อนเขา้ ห้องเรียนเป็นการประหยัดเวลาเพ่ือให้อาจารย์ใชเ้ วลาในห้องเรียนในการอภิปราย เนื้อหาที่ยากและซับซ้อน ช่วยให้การเรียนการสอนมีประสิทธิภาพยิ่งขึน้ และใช้ในการศึกษา ทบทวนด้วยตนเอง ภายหลังจากท่ีเรยี นแล้ว 4.2.2 Presentation Tools Canva คือแพลตฟอร์มสำหรับออกแบบชิ้นงานกราฟฟิกบนเว็บไซต์หรือสามารถดาวน์โหลด โปรแกรมมาใช้งานบนเครื่องคอมพิวเตอร์ได้ จุดเด่นของ Canva คือการใช้งานที่ง่าย ผู้ใช้งานไม่จำเป็นต้องมี ความรดู้ ้านคอมพิวเตอรแ์ ละการออกแบบ ดว้ ยการมี template และ clipart ใหเ้ ลอื กมากมาย อกี ท้งั ยงั รองรับ ขนาดชิ้นงานต่าง ๆ อาธิเช่น แผ่นพับ ใบปลิว โปสเตอร์ขนาดใหญ่ และสื่อขนาดต่าง ๆ สำหรับใช้บน social media นอกจากน้ี Canva for Education ยงั มี stock photo และ video ให้เลือกใชง้ านมากกวา่ 75 ลา้ นไฟล์ รวมถึงรองรบั การใช้ font ตา่ ง ๆ มากกวา่ 3,000 รายการ
14 บทที่ 5 หลกั สตู รศิลปศาสตรและวทิ ยาศาสตรบัณฑติ สาขาวชิ านวัตกรรมบรู ณาการ (หลักสตู รนานาชาต)ิ (Bachelor Degree of Arts and Science in Integrated Innovation – BAScii) 5.1 บทนำ ในช่วงหลายปีมานี้ ประเด็นระดับโลกที่ได้รับการพูดถึงกันมากคือ การปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่ 4 และความก้าวหน้าของเทคโนโลยีที่จะเข้ามาเขย่าโลกในทุกมิติ ทำให้ทุกภาคส่วนต้องปรับตัวอย่างรวดเร็วและ เทา่ ทัน เพือ่ จะไดไ้ ม่เดนิ ตกขบวนโลกอนาคต หนึ่งในภาคสว่ นที่ไดร้ บั ผลกระทบและตอ้ งปรับตัวคือ “ภาคการศึกษา” มหาวิทยาลัยหลายแหง่ เร่ิม เปิดหลักสูตรเพื่อตอบรับกระแสโลกดิจิทัลที่ต้องการบัณฑิตยุคใหม่ที่เรียนรู้ศาสตร์หลายแขนง และสามารถ บูรณาการทั้งวิทยาศาสตร์และศิลปศาสตร์เข้าด้วยกัน โดยไม่ละทิ้งความสำคัญของสังคมศาสตร์ เพื่อให้เกิด การพัฒนาในทุกมติ ิอยา่ งรอบด้าน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยที่เตรยี มพร้อมรับกับคลื่นความเปลี่ยนแปลงในครั้งน้ี โดยตั้ง “สถาบันนวัตกรรมบูรณาการแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย” (Chulalongkorn School of Integrated Innovation: ScII) ขึ้น และได้เปิดหลักสูตรปริญญาตรีที่เน้นการศึกษาข้ามศาสตร์ คือ หลักสูตรศิลปศาสตรและวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมบูรณาการ (หลักสูตรนานาชาติ) (Bachelor Degree of Arts and Science in Integrated Innovation – BAScii) ซึ่งเริ่มทำการเรียน การสอนภาคการศึกษาแรกในปี 2562 ทผี่ า่ นมา หลักสูตร BAScii มีการจัดการเรียนการสอนในหลายแขนง ให้การศึกษาแบบข้ามศาสตร์ (transdisciplinary) รวมถึงมีการเรียนรู้แบบ project-based จึงจำเป็นที่สถาบันฯ จะต้องมีความร่วมมือกับ หลากหลายคณะและหน่วยงานภายนอกด้วย หนึ่งในหน่วยงานที่ได้เข้ามาร่วมมือกับสถาบันฯ คือ สถาบันเพื่อการยุติธรรมแห่งประเทศไทย (TIJ) ที่เข้ามาร่วมออกแบบและจัดการเรียนการสอนใน รายวิชา Rethinking Justice in the 21st Century ให้กับนิสิตชั้นปีที่ 1 เพื่อให้พวกเขาได้เรียนรู้ สัมผัส และ ทำความเข้าใจกับคนกลุ่มเปราะบางหรือคนชายขอบในสังคม รวมถงึ หาวธิ ีต่อยอดเพ่ือเปล่ียนแปลงสังคมให้ดีข้ึน “ทศวรรษทีผ่ ่านมาถือเปน็ ชว่ งหวั เล้ียวหัวตอ่ ในการเปล่ียนแปลงของโลก เราเหน็ นวัตกรรมใหม่ๆ ทางเทคโนโลยที จ่ี ะสง่ ผลกระทบต่อการดำเนินชีวติ ของมนุษย์ แต่สถาบนั การศกึ ษาที่ควรเปน็ เสาหลักของ การพัฒนาประเทศกลบั ยังใช้ระบบแบบเกา่ คือให้เด็กวัยเรียนเก็บสะสมความรู้ และนำไปใช้ในการทำงาน จนกระท่ังเกษียณ ซงึ่ ไมต่ อบโจทย์โลกปจั จบุ ันแต่อย่างใด”
15 “มหาวิทยาลัยต่างๆ ทั่วโลก กำลังปรับเปลี่ยนรูปแบบใหเ้ หมาะสมกบั โลกดิจิทัลเพือ่ ให้ตัวเองคง บทบาทสำคัญได้ แต่การเปลี่ยนแปลงจะได้ผลต่อเมื่อเราเปลี่ยนแปลงในองค์รวม ตั้งแต่วัฒนธรรมและ โครงสรา้ งขององคก์ ร กระบวนการทำงาน ไปจนถงึ mindset ของผูท้ ีเ่ กย่ี วขอ้ งในองคก์ รด้วย” เพื่อพร้อมรับพายุแห่งการเปลี่ยนแปลง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยจึงใช้วิธีที่เรียกว่า Speedboat Model ท่มี ที ้ังความคลอ่ งตัวและความรวดเรว็ คอื การตงั้ หนว่ ยงานท่ีเปน็ อิสระจากคณะต่างๆ และใหอ้ ิสระใน การจัดการเรียนการสอน จึงเกิดเป็นสถาบันนวัตกรรมบูรณาการแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยขึ้น พร้อมท้ัง เปิดหลกั สตู รปริญญาตรคี ือ BAScii ข้นึ มา เป้าหมายสูงสดุ ของการตงั้ สถาบันฯ คอื การสรา้ งบัณฑิตพันธ์ใุ หม่ เพอ่ื ตอบสนองความต้องการของ โลกแห่งอนาคต มีทักษะทั้งในเรื่องเทคโนโลยี ธุรกิจ STEM และศิลปศาสตร์ รวมถึงได้มีโอกาสพัฒนาทักษะ ทางดา้ นการหาความรู้ (hard skill) และทักษะดา้ นจติ ใจอารมณ์ (soft skill) ด้วย “เราหวังว่า บัณฑิตพันธุ์ใหม่ของเราจะเป็นพลเมืองโลก (global citizen) ที่สามารถทำงาน ร่วมกับคนจากทุกมุมโลกได้ และเป็นบุคคลที่สมบูรณ์ (full person) ที่มีความรับผิดชอบต่อโลก มี ความรู้ทางเทคโนโลยี ทางธุรกิจ รวมถึงความรู้พื้นฐานต่างๆ ที่ครอบคลุม และสามารถเผชิญกับโลกที่ เปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลา”
16 5.2 แนะนำหลักสตู ร BAScii หลักสูตร BAScii (Bachelor of Arts and Science in Integrated Innovation) ชื่อไทยคือ “นวัตกรรมบูรณาการ” หลักสูตรนี้อยู่ใน School of Integrated Innovation ซึ่งตั้งขึ้นมาใหม่ เป็นการทลายกำแพงของคณะต่าง ๆลง ผู้เรียนสามารถมีอิสระในการเลือกหัวข้อที่ตัวเองอยากเรียนมากข้ึน อย่างเช่น เก่งวิทยาศาสตร์ แล้วยังชอบในการดีไซน์ด้วย หรือ เก่งทางภาษาไม่ชอบวิทยาศาสตร์ แต่ก็สนใจ เรอื่ งสขุ ภาพ สามารถท่จี ะเอาความถนัดหรือความชอบ ความสนใจของผเู้ รยี นมารวมกันจากหลายหลายสาขา ในหลักสูตรน้ี แนวโน้มของหลักสูตรที่เปิดใหม่ช่วงใกล้ปี 2560 อย่างเช่น บริหารธุรกิจหรือภาษา ตอนนี้โลกของ การศึกษาได้เปลี่ยนไปเป็นแบบ “สหสาขา” (Integrated major หรือ Trans disciplinary) มากขึ้น คือ ในหนงึ่ หลกั สตู รมีการเรยี นการสอนในหลาย ๆ ศาสตร์ ไม่วา่ จะเป็น ภาษา ธุรกจิ สงั คม ฯลฯ อยใู่ นหลักสูตรเดียว ซึ่งสอดคล้องการทำงานของโลกปัจจุบันในศตวรรษที่ 21 ไม่ได้มองหาคนที่เก่งเพียงด้านเดียวอีกต่อไป แตเ่ น้นผทู้ ่ีมีความรู้รอบตวั สงู สามารถทำงานเขา้ กบั ผู้อนื่ ได้ มีความเป็นผู้นำ ผรู้ ิเริ่ม มคี วามเป็นผปู้ ระกอบการ และรอบรู้ดา้ นเทคโนโลยี สามารถที่จะนำพาธุรกิจหรอื องค์กรไปสเู่ ป้าหมายท่ีวางไว้ หลักสูตร BAScii ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อรองรับกับโลกปัจจุบันที่มีความผันผวนแลกเปลี่ยนข้อมูลที่ รวดเร็ว หรือที่เราเรียกวา่ ยุค “Disrupt” ในส่วนรายวชิ าในหลักสูตร (Curriculum) ของหลักสูตร BAScii จะเน้นนวัตกรรมใหม่ ๆ ซึ่งจะเป็นโปรเจคให้นิสิตมีอิสระได้ครุ่นคิดริเริ่มนวัตกรรมใหม่ ๆ ตามความถนัดของ นิสิต หรือในแบบที่นิสิตต้องการ โดยหลักสูตรจะถูกออกแบบให้มีการเรียนการสอนเกี่ยวกับสังคมศึกษา ศิลปศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และการออกแบบ โดยคณาจารย์จากต่างประเทศทั้งหมดเป็นผู้ให้คำแนะนำแล้ว ช่วยหาเงินทุนในการทำโปรเจคต่างๆ ที่นิสิตคิด เน้นให้ผู้เรียนเชื่อมั่นว่าความคิดของนิสิตสามารถที่จะสร้าง ผลกระทบต่อประเทศและโลกของเราในทางที่ดีได้ จึงเป็นเหตุผลให้หลักสูตรนี้กลายเป็นหลักสูตรที่ คา่ เล่าเรียนแพงทสี่ ุดในจุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย
17 5.3 องค์ประกอบหลกั สตู ร BAScii องค์ประกอบหลกั สตู รจะถูกแบ่งเป็น Core Course และ Specialization 5.3.1 Core Course 5.3.1.1 วิชา Core business วิชา Business ที่บังคับลงจะเรียนในช่วงปี 1 – 3 โดยวิชา น่าสนใจ เช่น Marketing, Branding sales velocity / Financial and accounting Entrepreneurship Management and Social Enterprise 5.3.1.2 วิชา Core technology ที่บังคับลงเรียนในช่วงปี 1 – 3 วิชาน่าสนใจ เช่น Computer Programming & Data Structure, Algorithm & Applied Artificial Intelligence, Data Analysis, Interpretation and Visualization/ Data structure and algorithm design 5.3.1.3 วิชา Free elective ที่สามารถลงเรียนวิชาเลือกอื่น ๆ ที่หลักสูตรนานาชาติของ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั เปิดการเรียนการสอนได้ 2 วิชา ในตอนปี 2 5.3.2 วชิ า Specialization ประกอบด้วย 3 ส่วน เปน็ องคป์ ระกอบหลักของการเรียนที่น่ี 5.3.2.1 วชิ า Project จะมีการทำโปรเจคต้งั แต่ปี 1 – 4 เปน็ การเปิดโอกาสใหน้ สิ ติ สามารถสร้าง โปรเจคที่ตวั เองอยากทำขน้ึ มาโดยเริ่มตั้งแตก่ ารวางแผนในปีที่ 1 ออกแบบในปีท่ี 2 และนำไปปรบั ใช้จนสามารถเห็น ผลจริงในปีที่ 4 โดยมีคณะคอยให้การสนับสนุนทั้งด้านการให้คำปรึกษาและสนับสนุนเงินทุนโดยการติดต่อ หนว่ ยงานทเ่ี กี่ยวข้องให้ ซึง่ หมายความวา่ ตอนเรียนจบ นิสติ ทุกคนจะมนี วัตกรรมทเี่ ปน็ ผลงานของตนเอง 1 ช้ิน 5.3.2.2 วิชา Practice การเรียนแบบลงมือปฏิบัติจริงตั้งแต่ปี 1 – 4 โดยทางคณะจะประสาน กบั หน่วยงานท่เี กี่ยวข้องกับดา้ นทเ่ี ราสนใจท้งั ในและนอกจุฬาฯเพื่อส่งเราไปเรียนรู้งานในสถานทแ่ี ละบรรยากาศจริง โดยเรม่ิ ตัง้ แต่ - Study เรยี นในห้องโดยใชก้ าร Workshop brainstorm รูปแบบงาน - Internship ไปฝึกงานกบั บรษิ ัทท่ีเกย่ี วข้องกับโปรเจคท่ีสนใจเพ่ือหา idea ใหม่ ๆ - Field study การไปดงู านจริงท่ีต่างประเทศตามชั้นปีทุกๆ ปี เพอ่ื ไปดูนวัตกรรม ในประเทศตา่ ง ๆ โดยมกี าร Workshop, Internship, และ Field study จะเปน็ การกระตุ้นให้นิสติ ไม่หยุดนิ่ง และเปล่ียนสภาพแวดล้อมท่ีเอื้อต่อการพฒั นาแนวคิดของตนเอง 5.3.2.3 วิชา special course หรอื specialization ที่จะมกี ารเรียนตลอดหลกั สตู ร “4 วชิ าเลือก” - Health and Wellbeing ปจั จุบันปฏเิ สธไม่ไดว้ า่ “สุขภาพ” เปน็ สิง่ ที่คนส่วนใหญ่ใหค้ ำสำคญั เป็นลำดบั ต้น ๆ เพราะปจั จุบนั ตลาดการ “ปอ้ งกนั ” มาแรงกว่าตลาดของ “การรักษา” การเรียนเกี่ยวกับการประยุกต์เอา ความรู้เกี่ยวกับโรคและพฤติกรรมของมนุษย์ยุคปัจจุบันต่างๆ มาเข้ากับการใช้เทคโนโลยีและการบริหาร จัดการข้อมูลยุคปัจจุบันเพื่อตอบสนองสังคมที่มีความตื่นตัวทางด้านสุขภาพ มากขึ้นและกำลังเข้าสู่สังคมสูง วยั นั่นเอง วิชาเลือกทนี่ ่าสนใจเชน่ Food and Drugs Technology for Wellbeing/ Human body and Mind Wellness / Managing Information in Health Care
18 - Inclusive Community & Smart City วิชาเฉพาะที่เกี่ยวกับการออกแบบไม่ว่าจะเป็นตั้งแต่เมืองใหญ่ๆ หรือจะเป็น พวก package หรือ branding ต่าง ๆ ก็มีให้เลือก การออกแบบปัจจุบันจะเน้นให้ผู้ใช้ได้รับผลประโยชน์ สูงสุดด้วยวิธีการที่ง่ายที่สุด อย่างเช่นแปรงสีฟันที่สามารถแปรงได้ทั่วถึง Velcro ที่ใช้แทนซิป หรือเมืองท่ี ปราศจากฝุ่นควันและรถติด นิสิตหลักสูตรนี้จะเน้นการออกแบบ สร้างนวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์ที่ตอบโจทย์กับ ประชากรในยุคปัจจุบัน วิชาเลือกที่น่าสนใจเช่น Packaging and Branding design / Digital construction technology / Strategic and Creative Ideation - Sustainable Development กระแสรักษ์โลกในปัจจุบันมาแรงขึ้นเรื่อย ๆ ในต่างประเทศมีการใหเ้ งินทุนกบั คนที่ทำโปรเจคในการอนุรักษ์ธรรมชาติ สินค้าที่เกี่ยวกับการรักษ์โลกหรือธุรกิจที่สามารถตอบแทนสังคมได้ อย่างเช่น Boyan Slat ผู้ก่อตั้งและ CEO ของ The Ocean Cleanup ในวัย 19 ปี ออกไอเดียสำหรับ การกำจัดขยะในมหาสมุทรต่างๆ ทั่วโลก สามารถท่ีจะระดมทนุ ได้ถึง 2.2 พนั ล้านดอลล่าห์ ในเวลาแค่ร้อยวัน และกำลงั จะทำการเก็บขยะจากมหาสมุทรเร่ิมในปี 2020 ทีจ่ ะถงึ นี้ วิชาเลือกท่ีน่าสนใจ Clean technology entrepreneurship / Sustainability of Food Production and Supply Chain/ Financing the Clean Energy Economy - Digital Economy and AI Robotics อีกหน่งึ สาขาที่เปน็ สาขาแห่งโลกอนาคตอยา่ งแท้จริง ปัจจบุ นั มกี ารใช้สมองกล หรือปัญญาประดิษฐ์ (AI) เข้ามาในชีวิตประจำวันเป็นอย่างมากผ่านทาง smartphone หรือแม้แต่ตอนนี้ ทป่ี ระเทศจนี ก็มี AI ทสี่ ามารถประเมนิ การกู้เงินผา่ นทาง smartphone ได้แล้ว โดย AI จะทำการวิเคราะห์ผู้มี คุณสมบัติ และวงเงินในการกู้ของแตล่ ะคนโดยไมต่ ้องใชม้ นุษย์มาดูแลเลย และตอ่ ไปในอนาคต ความต้องการ จะยิ่งเพิ่มขึ้นอีกเป็นทวีคูณ วิชาเลือกที่น่าสนใจ Applied artificial intelligence / Robot and cybernetics operation management / Big data and analytics / Digital trust, privacy & security (Blockchain) / Mixed reality (AR/VR/MR) ทั้งหมดนี้คือข้อมูลโดยสังเขปของหลักสูตร BAScii ถือได้ว่าเป็นสาขาที่ใหม่มาก ๆ ไม่ใช่แค่ เฉพาะของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แต่สำหรับของประเทศไทยถือว่าเป็นหลักสูตรที่ปฏิวัติการเรียนการ สอนจากแบบเดิม ทลายกำแพงของคณะโดยให้ผู้เรียนสามารเลือกด้านที่ตัวเองต้องการแสวงหาส่ิงที่ ตวั เองชอบได้
19 5.4 สาขาวชิ าของหลกั สตู ร BAScii หลกั สูตร BAScii จะแบง่ สาขาวชิ าให้เลือกเรยี นออกเป็น 4 สาขาวิชา ไดแ้ ก่ 1. กลมุ่ สขุ ภาวะและการอย่ดู มี สี ุข (Health and Wellbeing) 2. กลุม่ ชมุ ชนเสมอภาคและเมืองอัจฉริยะ (Inclusive Community and Smart City) 3. กลุม่ การพัฒนาอย่างยง่ั ยืน (Sustainable Development) 4. กลมุ่ ปัญญาดิจิทลั เชิงประยกุ ต์ (Applied Digital Intelligence) 5.5 คณุ สมบตั ใิ นการสมคั รและสดั สว่ นการพจิ ารณา 5.5.1 ผทู้ ีส่ นใจจะต้องมคี ุณสมบัติ ดังน้ี - มคี ะแนนการสอบวดั ความสามารถภาษาอังกฤษอยา่ งใดอย่างหนงึ่ ดังนี้ TOEFL / IELTS / SAT / CU-AAT / CU-TEP - มคี ะแนนสอบวัดความถนัดทางคณิตศาสตรอ์ ย่างใดอย่างหนึ่ง ดังน้ี SAT / CU-AAT - มี Portfolio ไมเ่ กิน 10 หนา้ และขนาดไฟล์ไม่เกิน 10 MB เพ่อื แสดงประวัติผลงานทาง วชิ าการ โครงการ กิจกรรม ประสบการณต์ ่างๆ ทเ่ี คยได้ทำมา เพื่อประกอบการพจิ ารณา และเมื่อผ่านสู่เข้ารอบสัมภาษณ์และการสอบทักษะด้านการเขียน การวิเคราะห์ การแก้ปัญหา การ คิดสร้างสรรค์และการคิดเชิงวิพากษ์ คะแนนส่วนนี้ก็นับว่าเป็นส่วนสำคัญต่อคะแนนรวมทั้งหมดเช่นกัน เพราะเปน็ สัดส่วนเกือบคร่งึ ๆ กบั คะแนนท่ผี ู้สมัครยื่น 5.5.2 สัดสว่ นการพจิ ารณา 4 ด้าน ดังน้ี 1. ผลคะแนนคณติ ศาสตร์ (รอ้ ยละ 30) สำหรับนกั เรียนชาวไทย เลอื กยื่นระหว่าง SAT (Math) หรอื SAT (Math Level 2) และสำหรบั นักเรียนต่างชาติ เลือกยนื่ ระหว่าง IB ACT หรอื A-Level Math 2. ผลคะแนนภาษาอังกฤษ (ร้อยละ 20) เลือกยื่นระหว่าง IELTS, TOEFL, SAT (Eng) หรือ CU- TEP 3. การพิจารณา Portfolio (ร้อยละ 20) ซึ่งจะต้องแสดงความสามารถที่หลากหลาย ประสบการณ์ การมีส่วนร่วมและความสำเร็จหรือรางวัลที่ผ่านมาในงานต่างๆ ทั้งวิชาการและผลงานส่วนตัว โดยรวมแล้วไม่เกนิ 10 หน้า 4. ผลทดสอบ Aptitude Test และการสัมภาษณ์ (ร้อยละ 30) ซึ่งจะต้องแสดงถึง การวเิ คราะหเ์ ชิงเหตผุ ล การแกป้ ัญหา และความคดิ สรา้ งสรรคใ์ นด้านเทคโนโลยีและธุรกิจ
20 5.6 เปา้ หมายของหลกั สตู ร BAScii “Changes calls for innovation, and innovation leads to progress” หลักสูตร BASCII CU น้ี เกิดขึ้นด้วยความเข้าใจการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของโลกยุคดิจิทัล ทุกๆ ธุรกิจล้วนต้องปรับตัวเข้าสู่ ยุคนวัตกรรมและการเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยีอยา่ งรวดเร็ว ต้องคิดเร็ว ทำเร็ว และต้องมีวิธแี ละเครื่องมอื ทจี่ ะทำให้ธรุ กิจเติบโตอยา่ งม่ันคงและยั่งยนื ดังนั้น หลักสูตรนี้ จึงต้องการสร้างบุคลากรที่มีความรู้และทักษะ และตระหนักถึงประเด็นปัญหา เกี่ยวกับโลกในปัจจุบันว่าสำคัญกับพวกเขาอย่างไร และสร้างให้พวกเขาเข้าถึงชุมชน ชาติ และระดับโลก พร้อมรับความท้าทาย รับผิดชอบและแก้ไขปัญหาต่างๆ เพื่อทำให้สังคมดีขึ้น น่าอยู่ขึ้น และทำให้เกิดผล กระทบในทางบวกกับสงั คมแวดล้อมโดยรวม BAScii เป็นหลักสูตรแห่งอนาคต ผู้ที่สนใจสังคมในยุคศตวรรษที่ 21 กลุ่มคน Gen Z ที่ ต้องการ สร้างความเปลี่ยนแปลงโดยใช้เทคโนโลยี และการคิดคน้ นวัตกรรมต่างๆ ร่วมพฒั นาสังคมทก่ี ำลังเปล่ียนแปลง อย่างรวดเร็ว ซึ่งคนที่สนใจเหล่านี้จะต้องการพัฒนาทักษะของตัวเองทั้งด้านเทคโนโลยี นวัตกรรมและธุรกิจ เพอ่ื เตรยี มความพร้อมเขา้ สู่โลกในอนาคตในบริบทนานาชาติ BAScii เนน้ สรา้ งทักษะที่จำเปน็ ในศตวรรษที่ 21 ผ่านการทำโครงการเสมือนการปฏิบัติจริง การเรียนรู้อย่างยั่งยืนแบบบูรณาการสหสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องกัน การเรียนรูผ้ ลกระทบของสงั คมระดับโลก และบทบาทของมนษุ ยชาติในยุคใหม่ทต่ี ้องคำนึงถึงความรับผิดชอบ ต่อสังคม บัณฑิตจะมีความสามารถในการเป็นผู้ประกอบการ เป็นผู้นำในยุคใหม่ และสามารถตอบโจทย์ ความต้องการของแวงวงอุตสาหกรรมและสังคมได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพราะจะถูกหล่อหลอมด้วย จุดมุ่งหมายที่ว่า “การเปลี่ยนแปลงต้องการนวัตกรรม และนวัตกรรมก็นำไปสู่กระบวนการเพื่อการ เปลยี่ นแปลงนน่ั เอง” เรียนหลักสูตรนี้แล้วจะไปทำอะไร : หลักสูตรออกแบบมาโดยคำนึงถึงความต้องการของคนรุ่นใหม่ หรือ Gen Z ซึ่งอาชีพในอนาคตของผู้คนเหล่านี้จะสนใจ การเป็นผู้นำเทคโนโลยี การเป็นผู้ที่มี Multi-Skill กลุ่ม Start Up นักลงทุน การประกอบอาชีพอิสระ หรือกลุ่มที่มีความคาดหวังที่จะเติบโตมากไปกว่านั้นใน บริบทนานาชาติ ก็ย่อมได้ เพราะเริ่มตั้งแต่การเข้ามาเรียน ผู้เรียนสามารถออกแบบหลักสูตรเองตามด้านท่ี ตนเองสนใจ โดยหลักสูตรมุ่งเนน้ ให้ผู้เรยี นเปน็ ศูนย์กลางเพื่อใหเ้ ห็นวา่ พวกเขาสามารถสร้างความเปลี่ยนแปลง ให้เกิดผลกระทบอะไรใหก้ ับโลกในอนาคตได้บ้าง ผ่านการศึกษาและการค้นควา้ วิจัยของพวกเขา BAScii ได้รับ ความร่วมมือจากทั้งกระทรวงพาณชิ ย์ ภาคอุตสาหกรรมต่างๆ โครงการที่น่าสนใจจากทั้งภาคธุรกิจและเอกชน มากมาย รวมถึงการเป็นพาร์ทเนอร์กับมหาวิทยาลัยในต่างประเทศ ซึ่งเปิดโอกาสให้มีการทำ Workshop รว่ มกนั และการศกึ ษาดูงานตา่ งๆ ซึ่งจะสร้างโอกาสในการเรยี นรูแ้ ละเปดิ โลกทัศนใ์ หก้ ับบัณฑติ อย่างมาก
21 บรรณานกุ รม aims. (2564). เปิดหอ้ งเรยี น BAScii: BAScii หลักสตู รนเ้ี รียนอะไร [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: https://www.aims.co.th/229567-2/, [22 พฤศจกิ ายน 2560] BASCII CHULA. (2020). BASCII CHULA Bachelor of Arts and Science in Integrated Innovation (International Program) [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: https://www.chulatutor.com/blog/bascii- chula/, [22 พฤศจิกายน 2560] Beyond Training. ( 2 0 2 0 ) . Leading Innovation [อ อ น ไ ล น์ ]. แ ห ล ่ ง ท ี ่ ม า : https://www.beyondtraining.in.th/%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%8 1%E0%B8%AA%E0%B8%B9%E0%B8%95%E0%B8%A3_Leading_Innovation/60011d4d 3b0e1f00126b7613?gclid=Cj0KCQjw5JSLBhCxARIsAHgO2Sdt8bQApwbWNhRjxD4ibWX6 epXsZLqZRchdHlCsN1RMJ0qbHpHcQXEaAoMNEALw_wcB, [22 พฤศจิกายน 2560] chulamoocachieve. (ม.ป.ป.). [ออนไลน์].แหล่งที่มา:https://www.chulamoocachieve.com/, [22 พฤศจกิ ายน 2560] SCHOOL OF INTEGRATED INNOVATION. ( n.d. ) . BACHELOR OF ARTS AND SCIENCE IN INTEGRATED INNOVATION (INTERNATIONAL PROGRAM) (BASCII) [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: https://www.chula.ac.th/program/arts-and-science-in-integrated-innovation/, [22 พฤศจกิ ายน 2560] scii. ( n.d. ) . Chulalongkorn School of Integrated Innovation [อ อ น ไ ล น์ ]. แ ห ล ่ ง ท ี ่ ม า : https://scii.chula.ac.th/, [22 พฤศจิกายน 2560] Taey Ch. (2560). เรียนออนไลน์ฟรี ! CHULA MOOC คอร์สฟรีจากอาจารยจ์ ุฬา ลงทะเบียนเรยี นฟรี 8 ก.ย.- 15 ต.ค. นี้ [ออนไลน์]. แหลง่ ท่มี า: https://www.mangozero.com/chula-mooc/, [24 พฤศจิกายน 2560] กานต์ธีรา ภูริวิกรัย. (ม.ป.ป.). เปิดห้องเรียน BAScii: หลักสูตรที่ผู้เรียนร่วมออกแบบความยุติธรรมได้ [ออนไลน์]. แหล่งท่ีมา: https://www.the101.world/bascii-and-tij-interview/, [20 พฤศจกิ ายน 2560]
22 พมิ พพ์ ญา เจรญิ ศิรพิ นั ธ์. (2560). CHULA MOOC คอรส์ เรียนฟรีจากจุฬาฯ ที่ให้คนไทยทุกวยั เข้าถึงและ เรยี นร้ไู ด้ [ออนไลน์]. แหลง่ ที่มา: https://adaymagazine.com/chula-mooc, [20 พฤศจิกายน 2560] ศนู ยน์ วัตกรรมการเรียนรู้. (ม.ป.ป.). [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: https://www.chula.ac.th/academics/life-at- cu/learning-innovation-center/, [22 พฤศจิกายน 2560] สยามรัฐออนไลน์. (2563). เติมเต็มความรู้กับ “CHULA MOOC” หลักสูตรจุฬาฯออนไลน์ Lifelong Learning [ออนไลน์]. แหลง่ ท่ีมา: https://siamrath.co.th/n/172376, [20 พฤศจิกายน 2560]
Search
Read the Text Version
- 1 - 26
Pages: