Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เอกสารประกอบการอบรม

เอกสารประกอบการอบรม

Published by EducationTechnology BRU, 2020-08-14 02:48:26

Description: เอกสารประกอบการอบรม

Search

Read the Text Version

สารบญั 2 คูม่ ือแนวคดิ ในการสรา้ งวิดีโอ Story board หน้า คู่มอื การใช้งานโปรแกรม InShot คมู่ อื การใช้งานโปรแกรม Corel VideoStudio เบอ้ื งตน้ 3 11 29 สาขาวชิ าเทคโนโลยแี ละนวตั กรรมการศกึ ษา

3 คู่มือแนวคิดในการสร้างวดิ โี อ Story board การเขียนสตอรบี่ อรด์ (Storyboard) ความหมายของสตอร่บี อร์ด (Story Board) สตอรบี่ อร์ด (Story Board) คือ การเขยี นกรอบแสดงเรื่องราวที่สมบูรณ์ของภาพยนตร์หรือ หนังแตล่ ะเรื่อง โดยมีการแสดงรายละเอียดท่ีจะปรากฏในแตล่ ะฉากหรือแตล่ ะหนา้ จอ เช่น ขอ้ ความ ภาพ ภาพเคล่ือนไหว เสยี งดนตรี เสยี งพูดและแต่ละอย่างน้นั มีลำดับของการปรากฏวา่ อะไรจะปรากฏขึ้นกอ่ น-หลัง อะไรจะปรากฏพร้อมกัน เปน็ การออกแบบอย่างละเอยี ดในแตล่ ะหน้าจอก่อนทีจ่ ะลงมอื สร้างเอนเิ มชันหรอื หนงั ข้นึ มาจริง ๆ • Storyboard คือ การสร้างภาพใหเ้ หน็ ลำดบั ขนั้ ตอนตามเนือ้ เร่ืองที่ ต้องการ โดยเฉพาะภาพเคล่อื นไหว • รายละเอยี ดทีค่ วรมีใน Storyboard ได้แก่ คำอธบิ ายแต่ละสื่อท่ีใช้ (ข้อความ รปู ภาพ ภาพเคลื่อนไหว เสียง วดี ิโอ) สาขาวชิ าเทคโนโลยีและนวตั กรรมการศกึ ษา

4 หลกั การเขียนสตอรบี่ อร์ด (Storyboard) รปู แบบของสตอร่บี อร์ด จะประกอบไปดว้ ย 2 สว่ นคอื สว่ นภาพกบั ส่วนเสยี ง โดยปกติการเขียนสตอร่ี บอร์ด ก็จะวาดภาพในกรอบส่ีเหลย่ี ม ต่อดว้ ยการเขยี นบทบรรยายภาพหรือบทการสนทนา และส่วนสดุ ทา้ ยคือ การใสเ่ สียงซ่งึ อาจจะประกอบดว้ ยเสียงสนทนา เสยี งบรรเลง และเสียงประกอบต่าง ๆ เทคนิคในการเขียนบทหรือเนือ้ เรอ่ื ง 1. ตอ้ งมกี ารบรรยายสภาพและบรรยากาศของสถานที่ หรือการพรรณนาภาพอย่างใดอย่างหนง่ึ เพ่ือนำ ความคดิ ของผู้อา่ นใหซ้ าบซ้ึงในทอ้ งเรื่อง ให้เหน็ ภาพฉากท่เี ราวาดดว้ ยตัวอักษรนนั้ ให้ชัดเจน 2. การวางโครงเรื่องมีการดำเนินเร่ืองต้งั แตเ่ รม่ิ นำเร่ืองจนถึงปลายยอดเร่ือง หรือท่ีเรยี กว่า ไคลแมกซ์ (Climax) และจบเรือ่ งลงโดยให้ผู้อ่านเข้าใจและมีความรู้สึกตามเนื้อเรื่อง 3. การจดั ตวั ละครและให้บทบาทแก่ตวั ละครท่สี ำคัญในเร่ือง เพื่อแสดงลักษณะนิสัยอย่างหนึง่ อย่างใด ท่ี กอ่ ให้เกดิ เร่ืองราวตา่ ง ๆ ขึน้ 4. การบรรยายเรอ่ื ง แบบการมตี วั ตนท่เี ขา้ ไปอยู่ในตวั เรอ่ื ง และการเปน็ บรุ ุษทส่ี าม ได้แก่ ตัวละครแสดง บทบาทของตนเอง เปน็ วธิ ที ด่ี ีที่สดุ 5. การเปิดเรื่อง อาจใชว้ ิธกี ารใหต้ ัวละครสนทนากนั การบรรยายตวั ละคร การวางฉากและการบรรยาย ตวั ละครประกอบ การบรรยายพฤติกรรมของตวั ละครแต่ละตัวละคร ก็ได้ สง่ิ สำคัญทอ่ี ยูภ่ ายในสตอร่ีบอรด์ (Storyboard) ประกอบด้วย - ตวั ละครหรือฉาก ไมว่ า่ จะเปน็ คน สัตว์ สิง่ ของ สถานทห่ี รอื ตวั การ์ตนู และที่สำคัญ คือ พวกเขากำลัง เคลือ่ นไหวอย่างไร - มุมกล้อง ท้ังในเร่ืองของขนาดภาพ มุมภาพและการเคล่ือนกล้อง - เสียงการพูดกันระหว่างตัวละคร มเี สียงประกอบหรอื เสียงดนตรีอย่างไร สาขาวชิ าเทคโนโลยีและนวตั กรรมการศกึ ษา

5 ขอ้ ดีของการทำ Story Board 1. ชว่ ยให้เนอ้ื เรื่องลื่นไหล เพราะไดอ้ ่านทวนตง้ั แตต่ ้นจนจบก่อนจะลงมือวาดจริง 2. ชว่ ยใหเ้ นื้อเรอ่ื งไมอ่ อกทะเล เพราะมีแผนการวาดกำกบั ไว้หมดแล้ว 3. ช่วยกะปริมาณบทพูดใหพ้ อดแี ละเหมาะสมกบั หนา้ กระดาษและบอลลูนนัน้ ๆ 4. ช่วยใหส้ ามารถวาดจบไดใ้ นจำนวนหนา้ ที่กำหนด (สำคญั สดุ !) ขั้นตอนการทำ Story Board 1. วางโครงเร่ืองหลัก ไมว่ า่ จะเปน็ Theme, ตัวละครหลัก, ฉาก ฯลฯ 1.1 แนวเร่อื ง สาขาวชิ าเทคโนโลยแี ละนวตั กรรมการศกึ ษา

6 1.2 ฉาก 1.3 เน้ือเรอื่ งย่อ 1.4 Theme/แก่น (ข้อคิด/สิ่งทต่ี ้องการจะสื่อ) 1.5 ตวั ละคร ส่ิงสำคัญคือกำหนดรูปลักษณ์ของตวั ละครแตล่ ะตวั ให้โดดเด่นไมค่ ลา้ ยกนั จนเกนิ ไป ควรออกแบบรูปลกั ษณข์ องตัวละครให้โดดเด่นแตกต่างกัน และมองแล้วสามารถสอ่ื ถึงลักษณะนิสยั ของตวั ละครได้ทันที 2. ลำดับเหตุการณค์ ร่าว ๆ จุดสำคญั คอื ทกุ เหตกุ ารณจ์ ะเปน็ เหตุเป็นผลซึ่งกนั และกนั เหตุการณ์ก่อนหนา้ จะทำให้เหตุการณ์ ต่อมามนี ้ำหนักมากขนึ้ และต้องหา จดุ Climax ของเรือ่ งใหไ้ ด้ จุดน้จี ะเปน็ จดุ ท่ีน่าตืน่ เต้นทสี่ ดุ ก่อนท่ีจะเฉลยปม ทุกอย่างในเรื่อง การสร้างปมใหผ้ ู้อา่ นสงสัยกเ็ ปน็ จุดสำคญั ในการสรา้ งเรอื่ ง ปมจะทำใหผ้ ู้อ่านเกิดคำถามในใจและ คาดเดาเนื้อเร่ืองรวมถึงตอนจบไปต่าง ๆ นานา 3. กำหนดหน้า 4. แตง่ บท เป็นขนั้ ตอนสดุ ทา้ ยก่อนลงมือวาดสตอรี่บอรด์ ควรเขียนบทพูดและบทความคิดทีจ่ ะใช้เขียนลงใน หนงั ออกมาโดยละเอียดเพ่ือท่ีจะได้กำหนดขนาดของบอลลูนและจัดวางลงบนหน้ากระดาษได้อย่าเหมาะสม 5. ลงมอื เขยี น Story Board แบบฟอร์มการเขยี นสตอรี่บอรด์ แบบต่างๆ แบบที่ 1 สาขาวชิ าเทคโนโลยแี ละนวตั กรรมการศกึ ษา

7 แบบท่ี 2 ข้ันตอนการเขียนบท การเขียนบทคือนำโครงเรอ่ื งมาเลา่ เปน็ Screen Shot แยกภาพและเสียง ด้วยศัพท์เทคนิค กำหนด ระยะเวลา ตามหลกั การเขียนบทวทิ ยโุ ทรทศั น์ซ่งึ มีพนื้ ฐานท่คี วรรูก้ อ่ นการเรม่ิ เขยี นบทวีดที ศั นด์ ังนี้ มมุ ภาพ มุมมองระดบั สายตา EYE LEVEL เปรยี บได้กับการมองในระดบั เดยี วกับสายตาของคนเราเสมือนเรายืน มองอย่ใู นลักษณะปกติ มักจะเปน็ การถา่ ยภาพทวั่ ไป มุมมองจากมุมสูง (นกมอง) BIRD EYE VIEW เปน็ ภาพจากมมุ สงู กวา่ ระดบั การมองแบบปกติ เสมอื นเรา เปน็ นกที่กำลังมองลงมายังเบื้องลา่ ง ภาพลักษณะน้ีจะทำใหท้ ุกสงิ่ ดเู ล็กกวา่ ความเป็นจริงหรอื ดตู ำ่ ต้อย บางคร้ัง อาจถา่ ยจากเครื่องบินหรือเครน มมุ มองจากมุมตำ่ (มดมอง) ANT EYE VIEW เป็นภาพจากมมุ ตำ่ กวา่ ระดบั การมองแบบปกติ เสมือนเรา เปน็ มดที่กำลงั เงยหน้ามองขน้ึ เบื้องบน จะเห็นทกุ สิง่ ดูใหญ่โตภาพลกั ษณะน้จี ะทำใหท้ กุ สิ่งดยู ิง่ ใหญ่ สง่างามหรอื นา่ เกรงขาม สาขาวชิ าเทคโนโลยแี ละนวตั กรรมการศกึ ษา

8 ขนาดภาพ Long Shot. (LS) ภาพระยะกว้าง แสดงรายละเอยี ดทงั้ หมดแบบมุมมองกว้างวตั ถุมขี นาดเลก็ Medium Shot (MS) ภาพระยะกลาง แสดงรายละเอียดเจาะจงลงมาขนาดกลางวตั ถุมีขนาดกลาง Close Up (CU) ภาพระยะใกล้ แสดงรายละเอยี ดเจาะจงพเิ ศษวตั ถุมีขนาดใหญ่ การเคล่ือนไหวของภาพ Movement การเคลื่อนไหวของภาพมี 3 ลกั ษณะ คือ 1 การเคล่อื นไหวปฐมภูมิ (Primary Movement) เป็นการเคลอ่ื นไหวของสงิ่ ทีอ่ ยู่หนา้ กล้อง 2 การเคลอ่ื นไหวทตุ ยิ ภูมิ (Secondary Movement) เปน็ การเคลือ่ นทข่ี องตวั กล้อง เชน่ ZOOM , PAN , TILT 3 การเคล่ือนไหวตติยภมู ิ (Tertiary Movement) เปน็ การเคลอ่ื นทีด่ ้วยการสับเปลี่ยนจากกล้อง ตั้งแต่ 2 กล้องขนึ้ ไป ซ่งึ ทำได้ด้วยเทคนคิ การเปล่ยี นภาพ โดยใชเ้ คร่ืองสบั เปลีย่ นภาพ (Switcher) รปู แบบบท รูปแบบรายการวทิ ยโุ ทรทศั น์ เราสามารถแบ่งได้โดยอาศยั ลักษณะการดำเนนิ รายการ แบบที่ 1 “ รายการบรรยาย ” รายการแบบน้ีมีลักษณะคลา้ ยคลึงกบั การบรรยายของ ครูหน้าช้ันเรียน ถา้ ผู้บรรยายไมม่ ีเทคนิคทด่ี ีในการบรรยาย กจ็ ะทำใหร้ ายการนั้นไม่น่าสนใจ แบบที่ 2 “ รายการสนทนา ” เป็นการสนทนาระหวา่ งผรู้ ว่ มรายการตงั้ แตส่ องคนขึ้น ไป โดยมผี ู้ดำเนนิ รายการเป็นผรู้ ่วมสนทนาหรอื เชือ่ มโยงเร่ืองสนทนา ซึ่งมีการกำหนดขอบเขต การสนทนาเอาไวล้ ว่ งหนา้ แล้ว แบบที่ 3 “ รายการอภปิ ราย ” มีลักษณะคล้ายกับรายการสนทนา แตกต่างกนั ตรงท่ีมี ผรู้ ่วมรายการมากกว่า มกี ารต้ังข้อคำถามไว้แล้ว ผู้รว่ มอภิปรายตอ้ งพูดในเวลาท่ีกำหนด ผู้ดำเนนิ การอภิปรายช่วยเน้น / สรปุ แตไ่ มร่ ่วมอภิปราย แบบท่ี 4 “ รายการสัมภาษณ์ ” เปน็ รูปแบบรายการทน่ี ิยมนำเสนอทัง้ รายการ วิทยุกระจายเสยี งและวทิ ยุโทรทศั น์ การวางแผนในการสมั ภาษณ์ไว้ดตี ั้งคำถามให้ตรงเป้า เลอื ก ภาพประกอบที่ดจี ะทำให้รายการน่าสนใจย่งิ ขึ้น แบบท่ี 5 “ รายการเกมและตอบปัญหาภาพ ” มกั จะมผี ู้รว่ มรายการ ร่วมเล่นเกม ผู้ ดำเนินรายการต้องมีความสามารถ แก้ปัญหาเฉพาะหนา้ ได้ดจี งึ จะทำใหร้ ายการสนกุ และนา่ ตดิ ตาม สาขาวชิ าเทคโนโลยแี ละนวตั กรรมการศกึ ษา

9 แบบที่ 6 “ รายการสาธติ ทดลอง ” เป็นการแสดงให้เห็นจริงในสงิ่ ใดส่ิงหนงึ่ โดยทำให้ ดเู ช่น การทดลองทางวทิ ยาศาสตร์ รายการสาธิตทำกับข้าว แบบที่ 7 “ รายการเพลงและดนตรี ” วตั ถุประสงค์ของรายการประเภทน้ีคือการให้ ความบนั เทงิ แก่ผชู้ ม มที ้ังรปู แบบการแสดงเป็นวงอยา่ งเช่น ดนตรีคลาสสคิ การแสดงคอนเสริ ์ต เนน้ การจัดฉากและนำเสนอนักร้องเป็นหลัก แบบที่ 8 “ รายการถ่ายทอดสด ” เปน็ รายการที่มีจดุ มงุ่ หมายในการรายงานเหตกุ ารณ์ ทเ่ี กดิ ขนึ้ ในขณะเกดิ เหตุ มีการบรรยายหรอื เลา่ เร่อื งพรอ้ มทง้ั ถา่ ยทอดสงิ่ ที่เกดิ ข้นึ อยา่ งทนั ทที ันใด แบบท่ี 9 “ รายการสารคดี ” เป็นรายการทีน่ ำเสนอเน้ือหาสาระเก่ยี วกับเรื่องใดเรื่อง หนงึ่ โดยเป็นรายการท่ใี ห้ทัง้ ความรู้และความเพลดิ เพลนิ อาจมีรายละเอยี ดแง่มมุ เดียวหรือหลาย แง่มุมและมวี ธี ีการนำเสนอได้หลายลักษณะ การนำเสนออาจประกอบด้วยรปู แบบท่ีหลากหลาย รวมไวใ้ นรายการสารคดีเดียวกไ็ ด้ แบบท่ี 10 “ รายการนิตยสารทางอากาศ ” เปน็ รปู แบบรายการท่นี ำเสนอเร่ืองราว ตา่ ง ๆ เหมือนนติ ยสารของสื่อสง่ิ พิมพ์ โดยเปน็ การนำเสนอเรื่องราวย่อย ๆ หลายเรอ่ื งในรายการ เดียวกันหรือกลมกลนื กนั เรียกวา่ รายการนติ ยสารเฉพาะด้าน ถ้ามีเนื้อหาหลากหลายแตกตา่ ง กนั ไปเรยี กว่า นติ ยสารทัว่ ไป ลักษณะสำคญั ของรายการนิตยสารอยู่ทีก่ ารเชื่อมโยงเรอ่ื งย่อย แต่ ละเรอ่ื งใหเ้ ข้ากนั ได้อยา่ งสอดคลอ้ งกลมกลืน แบบท่ี 11 “ รายการละคร ” หรือแบบแสดงบทบาท เป็นรูปแบบที่ดงึ ดดู ความสนใจได้ ดที ่ีสุด อาจจะใช้วธิ กี ารผูกเรอ่ื ง มุ่งเน้นใหผ้ ู้ชมได้รับความบันเทงิ มีการแสดงสถานการณ์จำลอง เป็นตอนๆ โดยต้องมีการวางแผนเขียนบท จัดเวที จดั ฉากให้ดเู ปน็ จรงิ มากท่สี ดุ อีกทั้งตัวผแู้ สดงก็ ตอ้ งเลือกใหเ้ หมาะสมกบั บทบาท แนวการเขยี นบทโทรทัศน์ ประกอบด้วยสว่ นสำคญั 3 ส่วน คือ 1. ส่วนนำเรื่อง ต้องเขียนบทให้ผชู้ มอยากติดตามดว้ ยการเร้าความสนใจ เช่นใชก้ ารเกริ่นอยา่ ง กว้างๆใชภ้ าษางา่ ยๆ ทึง้ ปมปริศนาให้ผชู้ มอยากตดิ ตามต่อไป 2. สว่ นเนอื้ หา ผ้เู ขียนบทควรมคี วามรูแ้ ละประสบการณเ์ พียงพอที่จะใช้ในการเขียนบท มีทกั ษะ ในการลำดับเร่ือง โดยเริ่มตน้ จากแนวคดิ แลว้ ขยายเป็นโครงเรอ่ื งและใส่รายละเอียดตามลำดับ สาขาวชิ าเทคโนโลยีและนวตั กรรมการศกึ ษา

10 3. สว่ นสรปุ เป็นการนำเอาเนือ้ หาสำคัญท่ตี อ้ งการเนน้ มาสรปุ ให้แนวคิดหรอื ฝากแนวคดิ ให้ผ้ชู ม คิดต่อ แนวทางการเขยี นบท 1. จดั ทำผงั ความคิดโดยแบ่งส่วนที่จะนำเสนออกเป็นสามส่วนเรม่ิ ผงั ความคิดแบบกวา้ งแล้วจงึ คอ่ ยลงรายละเอยี ดเพม่ิ เตมิ ข้ึน 2. แยกภาพและเสียง ดว้ ยศัพท์เทคนิค กำหนดระยะเวลา ตามหลกั การเขยี นบทวทิ ยุโทรทศั น์ เพื่อช่วยใหก้ ารดำเนินงานในการผลติ วีดทิ ศั นส์ ะดวกงา่ ยและมีประสทิ ธิภาพมากยง่ิ ข้นึ ตวั อยา่ งบทวีดีทศั น์แบบคร่าว บทวิดีทัศนเ์ ทคนิคการสอนแบบ Project Base วชิ า การผลิตรายการโทรทัศน์ เวลา 15 นาที สาขาวชิ าเทคโนโลยแี ละนวตั กรรมการศกึ ษา

11 คูม่ อื การใชง้ านโปรแกรม InShot แนะนำโปรแกรม InShot แอฟตัดต่อวีดีโอและรูปภาพ สำหรับแอปพลิเคชันนี้มีชื่อว่า InShot สารพัดประโยชน์ด้านงานตัดต่อวีดีโอ และตกแต่งแก้ไขภาพยอดนิยม สามารถปรับหมุน พลิกภาพ หรือ คลิปวีดโี อให้ได้ประสบการณ์การรับชมอย่างถูกตอ้ ง สามารถตัดสว่ นที่ไม่ต้องการของคลิปออกให้เหลือเฉพาะส่วน ที่ต้องการด้วยฟังก์ชั่น Trim & Cut และไม่เพียงเลือกตัดได้เฉพาะส่วนหัวหรือส่วนท้ายของคลิป สามารถตัดตรง กลางคลิปได้ด้วย ให้ได้คลิปที่กระชับ สามารถบอกเล่าเรื่องราวได้อย่างน่าประทับใจ มีฟิลเตอร์ปรับโทนสีสวยๆ สำหรบั การแตง่ ภาพ ให้เลอื กใช้หลายแบบ อาทิ วินเทจ ความงาม ขาวดำ หรอื Glitch เปน็ ต้น และยงั สามารถเพ่ิม ข้อความ และอีโมจิลงในภาพและวีดีโอ สามารถซิงค์ข้อความและอีโมจิ ให้ตรงจังหวะกับคลิปได้ เพิ่มเพลง MP3 หรือไฟล์เพลงรูปแบบอื่น ๆ เพื่อสร้างบรรยากาศให้คลิปของเราสนุกสนานยิง่ ขึ้น ควบคุมระดับเสียงของคลิปวดี โี อ และระดับความดังของเสียงเพลงได้ตามต้องการ ทำให้เสียงเพลงไม่ดังกลบเสียงบรรยากาศหรือเสียงพูดของเรา และสำหรับการโพสต์ภาพหรอื วีดีโอลง Instagram แอปฯ ตวั นี้ก็มฟี ีเจอรใ์ ส่เส้นขอบแบบเบลอ หรอื เส้นขอบแบบสี เพื่อให้ได้สัดส่วนภาพหรือคลิปที่สวยงามสำหรับการโพสต์ลง Instagram กำหนดความละเอียดของไฟล์วีดีโอท่ี ตอ้ งการได้เอง เสรจ็ แลว้ แชรไ์ ปยงั Facebook Instagram หรือสอ่ื โซเชยี ลอน่ื ๆ ได้ ความสามารถของการใช้งานโปรแกรม 1. ใชต้ ัดต่อคลปิ วดี โี อได้ตามท่ีต้องการ 2. ใช้ตัดตอ่ เสยี ง หรอื เพลงได้ตามที่ต้องการ 3. สามารถแชร์ผลงานไปยงั โซเชยี ลเน็ตเวริ ค์ ไดท้ นั ที เช่น Instagram , Facebook สาขาวชิ าเทคโนโลยีและนวตั กรรมการศกึ ษา

12 4. เพ่ิมเพลงท่ีเปน็ Mp3 หรือไฟลเ์ สยี งเพลงรปู แบบอ่นื ๆ หรอื เลอื กจากภายในเครือ่ ง 5. มฟี ิลเตอร์ปรับโทรสสี วยๆ ให้กับภาพ หรือปรับการตบแต่งภาพ 6. สามารถกาหนดความละเอียด หรอื ขนาดของไฟลว์ ดี ีโอได้ตามต้องการ วธิ ีการดาวนโหลดโปรแกรม * สามารถดาวนโ์ หลดได้ที่ Google Play สาหรบั ระบบปฏิบัติการ Android * สามารถดาวนโ์ หลดได้ที่ App Store สาหรับระบบปฏิบตั กิ าร iOS โดยการพมิ พค์ ำว่า InShot สาขาวชิ าเทคโนโลยแี ละนวตั กรรมการศกึ ษา

13 เร่มิ ตน้ การใช้งาน 1. เมือ่ เร่มิ ตน้ เข้าส่โู ปรแกรมจะขึ้นหน้าจอเมนดู งั นี้ สาขาวชิ าเทคโนโลยแี ละนวตั กรรมการศกึ ษา

14 2. วธิ ีการตัดต่อเลอื กคำส่งั วีดีโอ จะขนึ้ หนา้ จอดงั รปู สาขาวชิ าเทคโนโลยแี ละนวตั กรรมการศกึ ษา

3. เลือกเมนคู ำส่งั ใหม่ 15 นำมาใช้งาน จะมภี าพวดี โี อท่ีอยใู่ นเคร่ืองโทรศัพท์มือถือใหเ้ ลือก 4. ถ้าต้องการใส่ตัวหนงั สอื ที่คลิปวีดีโอเพอื่ ทำการบรรยายให้เลอื กคำสัง่ ขอ้ ความหรอื รูปตัว T สาขาวชิ าเทคโนโลยแี ละนวตั กรรมการศกึ ษา

16 5. ถา้ ตอ้ งการเลอื กเพลงหรือเสยี งเพลงจากตัวโปรแกรมใหเ้ ลือกคำสัง่ ตวั โนต๊ 6. ถา้ ต้องการเลอื กเพลงจากตัวโปรแกรมให้เลือกจากคำสัง่ แนะนำ สาขาวชิ าเทคโนโลยีและนวตั กรรมการศกึ ษา

17 7. ถา้ ตอ้ งการเลือกเพลงจากตัวโปรแกรมให้เลอื กจากคำสั่งเพลงของฉนั 8. เม่อื มีการเลอื กเพลงหรือแทรกเพลง แลว้ จะขน้ึ หนา้ จอดงั รปู ดา้ นลา่ ง สาขาวชิ าเทคโนโลยแี ละนวตั กรรมการศกึ ษา

18 9. ถ้าตอ้ งการเพิ่มภาพนิง่ หรือภาพเคล่อื นไหวใหเ้ ลือกเคร่ืองหมายบวก 10. การตัดต่อภาพเคลื่อนไหวหรอื คลปิ วีดีโอใหเ้ ลอื กคำส่งั กรรไกร แล้วจะเกดิ กรอบสเี ขียวข้ึน * ใหเ้ ล่อื นวงกรมสีเขียวท่ีอย่ดู า้ นหนา้ กบั ดา้ นหลงั เขา้ -ออกเพ่ือกาหนด และ ตดั ภาพเคลื่อนไหวตามตอ้ งการ เม่อื ได้ แลว้ ใหเ้ ลอื กเครื่องหมายถูกเพ่อื ตดั ขอ้ ความท่กี าหนดไว้ สาขาวชิ าเทคโนโลยีและนวตั กรรมการศกึ ษา

19 คู่มอื การใชง้ านโปรแกรม Corel VideoStudio เบอ้ื งต้น โปรแกรม Corel VideoStudio มกี ารทำงานเปน็ ขั้นตอนทีง่ า่ ย ต้ังแต่จบั ภาพ ตดั ต่อไปจนถงึ เขียนลงแผ่น นอกจากนี้แล้ว โปรแกรมยงั มีเอ็ฟเฟ็กต์ตา่ งๆ อีกมากมาย ไตเติล้ สำเรจ็ รูปแบบมืออาชีพ รวมทัง้ มีเคร่ืองมือท่ีใช้ สำหรบั สร้างซาวดแ์ ทร็คอย่างง่ายๆ อกี ด้วยในการสร้างวดิ ีโอนัน้ เริม่ แรกจับภาพวดิ ีโอจากกลอ่ งหรอื ว่าดงึ ไฟลว์ ิดโี อ จากแผ่น VCD/DVD เขา้ มาจากน้นั ก็ตดั แต่งวดิ ีโอท่ีจบั ภาพมา เรียงลำดับเหตุการณ์ ใส่ทรานสิช่ัน (Transtion– เอ็ฟเฟก็ ต์ทีใ่ สร่ ะหว่างคลิปวดิ ีโอ ทำให้การเปลี่ยนคลปิ วดิ โี อจากคลิปหนง่ึ ไปยงั อีกคลิปหน่ึงนา่ ดูยงิ่ ข้ึน) ประโยชนข์ องงานวิดโี อ 1. แนะนำองค์กร และหนว่ ยงานการสร้างงานวิดโี อ เพือ่ แนะนำสถานที่ตา่ งๆ หรอื ในการนำเสนอข้อมลู ภายในหนว่ ยงานและองคก์ ร เพือ่ สรา้ งความนา่ สนใจให้กบั ผ้ชู มผ้ฟู งั และยังกอ่ ใหเ้ กิดความเขา้ ใจในตวั งานไดง้ ่ายขึ้น 2. บันทกึ ภาพความทรงจำและเหตกุ ารณส์ ำคญั ต่างๆ เช่น การเดนิ ทางไปท่องเทย่ี วในสถานทีต่ ่างๆงานวนั เกิด งานแตง่ งาน งานรบั ปรญิ ญา งานเลย้ี งของหน่วยงานหรอื องคก์ ร ซึ่งเดิมเราจะเก็บไวใ้ นรปู แบบภาพนิ่ง 3. การทำส่ือการเรยี นการสอน คณุ ครสู ามารถสร้างสอื่ การสอนในรูปแบบวดิ ีโอไว้นำเสนอไดห้ ลายรูปแบบ เช่น เป็นวิดีโอโดยตรง เปน็ ภาพวดิ ีโอประกอบในโปรแกรม POWER POINT เป็นภาพวดิ โี อประกอบใน Homepage และอน่ื ๆ 4. การนำเสนอรายงาน วิทยานิพนธ์ และงานวิจัยต่างๆ ซ่ึงปรบั เปลีย่ นการนำเสนองานจากรปู แบบเดิมที่ เปน็ เอกสารภาพประกอบ แผ่นชาร์จแผน่ ใส ให้ทนั สมัยเหมาะสมกบั สถานการณป์ จั จบุ นั สาขาวชิ าเทคโนโลยแี ละนวตั กรรมการศกึ ษา

20 5. วิดโี อสำหรบั บุคคลพิเศษ บุคคลสำคัญในโอกาสพเิ ศษ อาจหมายถึง วทิ ยากรที่เชิญมาบรรยายผู้ทจ่ี ะ เกษยี ณอายุจากการทำงาน เจ้าของวันเกิดคู่บา่ วสาว โอกาสของบุคคลท่ีได้รับรางวลั ตา่ งๆ ขัน้ ตอนในการสรา้ งงานวิดโี อ แทจ้ รงิ แลว้ การตดั ต่อวดิ โี อเป็นเพียงส่วนหน่ึงของการทำงานวดิ โี อเท่านั้น กวา่ ท่ีเราจะได้ผลงานวิดีโอ คณุ ภาพดีๆ ออกมาจำเป็นตอ้ งผ่านขั้นตอนอน่ื ๆ ที่สำคัญมาก่อน ขอแนะนำขนั้ ตอนต่างๆ เพอื่ ใหเ้ ราสามารถไดง้ าน ที่ตรงตามความต้องการ และมปี ระสทิ ธิภาพมากขนึ้ เลียงลำดบั แนวคิดในการสร้างงานวิดีโอ ดังนี้ ขั้นตอนท่ี 1 : การวางแผนและเตรยี มการ ขน้ั ตอนท่ี 2 : การถา่ ยทำและเตรียมขอ้ มูลอ่นื ๆ ทตี่ ้องใชป้ ระกอบ ข้ันตอนท่ี 3 : การตดั ตอ่ วดิ ีโอ ขนั้ ตอนที่ 4 : การนำงานวิดีโอทีไ่ ด้ออกไปเผยแพร่ ขั้นตอนท่ี 1 : การวางแผนและเตรยี มการ สิง่ แรกของการทำงานวดิ โี อทุกงาน ไม่วา่ จะเป็นการถ่ายงานพิเศษตา่ งๆ ทำสารคดี หนังสนั้ หรือ ทำส่อื การเรียนการสอน สงิ่ ที่ขาดไมไ่ ด้กค็ ือการวางแผน การวางแผนทำใหร้ ู้ว่าควรจะถ่ายอะไร อะไรท่ี จำเปน็ ต้องเกบ็ ภาพ เชน่ ถ้าจะถ่ายงานบวช แต่ไม่ได้ศึกษามาก่อนวา่ ควรจะถ่ายภาพในช่วงใดบ้าง หรอื ควรจะถา่ ยใครที่เปน็ แขกพิเศษหรอื ไม่ เมื่อถึงเวลาก็อาจจะพลาดไม่ได้ถ่ายบางส่วนมา สงิ่ ท่สี ามารถทำใน การวางแผนมี ดังน้ี - จัดทำสครปิ ตก์ ารถ่ายทำ หรือสตอรี่บอรด์ (Storyboard) จะชว่ ยทำใหร้ วู้ ่าจะต้องถ่าย ทำอะไรบา้ งและถ่ายทำในเวลาใดเรยี งลำดับ บางครงั้ การถ่ายอาจจะขา้ มไปขา้ มมาไม่เรยี งตาม เน้อื หาจรงิ ๆ เพราะขึ้นอยู่กบั เงอื่ นไขของเวลาในการถ่ายทำ สครปิ ต์ และสตอร่ีบอร์ดก็จะช่วยเรา ไดม้ ากในตอนนี้ - จดั เตรยี มอุปกรณใ์ ห้พร้อมก่อนการออกไปถา่ ยทำ ตรวจสอบแบตเตอร่ีชาร์จแล้วหรือ ยัง สามารถถ่ายพอหรอื ไม่ จะต้องใช้มว้ นวดิ โี อมว้ นไหนในการถา่ ยหรือต้องเตรียมไฟไปด้วยเผื่อ ชว่ งกลางคืนหรือไม่ นดั หมายเรยี บร้อยหรอื ยงั สง่ิ เหล่าน้ี จะช่วยทำใหเ้ ราไม่ผดิ พลาดในการ ถา่ ยทำ สาขาวชิ าเทคโนโลยแี ละนวตั กรรมการศกึ ษา

21 ขนั้ ตอนที่ 2 : การถา่ ยทำและเตรยี มข้อมูลอนื่ ๆ ที่ตอ้ งใช้ประกอบ ในการงานวดิ ีโอหนึ่งเรื่อง บางครัง้ ไม่ได้อาศัยข้อมูลจากการถา่ ยทำดว้ ยตวั เองเพียงอย่างเดยี ว เรา อาจจะใช้แหล่งอนื่ ๆภาพข่าวรวมท้ังอาจจะต้องใช้งานทางด้าน 3 มติ ทิ ีแ่ ปลงเปน็ ไฟล์วดี ิโอมาใช้รว่ มด้วย ข้ันตอนท่ี 3 : การตดั ตอ่ วดิ โี อ หลังถ่ายวดิ ีโอตามที่ตอ้ งการแล้ว ขัน้ ตอนต่อไปของกระบวนการทำงานวิดีโอ คอื กระบวนการตดั ต่อวิดโี อน้ี แบง่ ข้ันตอนย่อยๆ ดงั น้ี - นำขอ้ มูลวิดโี อจากกลอ้ งลงในคอมพวิ เตอรเ์ ป็นข้นั ตอนการโอนย้ายข้อมูลจากกล้อง ดจิ ติ อลวิดีโอไปยงั คอมพิวเตอร์ซงึ่ ตอ้ งใช้สายเช่ือมต่อ มาตรฐานท่ีใชใ้ นปัจจุบนั ก็มีสาย USB ปจั จบุ ันกลอ้ งแบบพกพารนุ่ ใหมจ่ ะเก็บไฟล์วดิ ีโอไวใ้ นการ์ดความจำหรอื แผ่นดวี ดี ี สามารถนำมา ใส่เคร่ืองคอมพวิ เตอร์เพ่ือโอนไฟลว์ ิดโี อ และสามารถนำมาตดั ตอ่ โปรแกรมตัดต่อวิดโี อได้เลย - ตัดต่อและลำดับภาพ เมื่อได้ไฟลว์ ิดโี อทั้งหมดแลว้ ขน้ั ตอนต่อไปคอื การนำข้อมูล ท้ังหมดมาเรยี งลำดบั และตัดตอ่ สว่ น ท่ไี ม่จำเป็นออกไป ซึ่งเราเรยี กว่า “การลำดบั ภาพ” ซึ่งหาก เรา มีสครปิ ตก์ ารถา่ ยทำการลำดบั ภาพกจ็ ะงา่ ยขึน้ ขั้นตอนที่4 : การนำงานวิดโี อทไี่ ดอ้ อกไปเผยแพร่ ขน้ั ตอนสุดท้าย ก็คือการแปลงไฟล์งานของเราใหเ้ หมาะสมกับการเผยแพร่เพราะปัจจบุ ันมสี ่อื ให้เลือกเผยแพร่งาน วดิ โี ออย่างมากมาย เชน่ ทำเป็นแผน่ ดวี ีดี หรอื บลเู รย์ ทำเปน็ ไฟล์ MP4 เพ่ือใชใ้ นเครื่องเลน่ MP4 หรือนำไป เผยแพรบ่ นอินเทอรเ์ น็ต ไฟล์วดิ โี อประเภทตา่ งๆ ไฟลว์ ดิ โี อท่ีใช้งานอบบู่ นเครอ่ื งคอมพวิ เตอรน์ น้ั มีอยู่หลายรปู แบบ ข้ึนอยู่กับมาตรฐานการบีบอัดของวิดีโอ ประเภทน้นั ซง่ึ แตล่ ะประเภทก็จะมีคณุ สมบตั ิ หรือความละเอียดภาพตา่ งๆ กันไปนอกน้นั เมื่อเราสร้างงานวดิ โี อ เรียบรอ้ ยแล้ว ขัน้ ตอนสดุ ทา้ ย กค็ ือการแปลงงานออกมาใหเ้ ป็นไฟลว์ ิดีโอหากทำความเข้าใจกนั กบั ประเภทของ ไฟล์วิดีโอตา่ งๆ ได้ดีก็จะสามารถเลอื กไฟลว์ ิดโี อ ท่ีต้องการนำเสนอในงานต่างๆ ได้อยา่ งเหมาะสม ซ่งึ โดยท่ัวไป ดงั ตอ่ ไปน้ี สาขาวชิ าเทคโนโลยแี ละนวตั กรรมการศกึ ษา

22 - AVI (Audio Video Interactive) เป็นไฟล์วิดโี อที่เปน็ มาตรฐานของคอมพิวเตอรท์ วั่ ไป (ใน เคร่อื งแมคอินทอจะมไี ฟลว์ ิดโี อมาตรฐานเปน็ MOV) ซ่ึงไฟลว์ ิดโี อจะมีขนาดใหญม่ าก โดยขนาดของไฟล์ วดิ โี อจะขนึ้ อยูก่ ับการกำหนดของเราหรือเครื่องมือในการจับภาพวดิ โี อ - DV (Digital Video) ในกรณที เี่ ราใชก้ ล้องดิจิตอลวดิ ีโอ เช่น MiniDV จับภาพวิดโี อเข้ามา ซึง่ ใน ไฟล์DV นีจ้ ะมีนามสกุลเป็น AVI เช่นเดียวกนั แตจ่ ะมกี ารกำหนดขนาดความละเอียดของภาพ (Resolution) เท่ากับ720×576 พกิ เซล และค่าอัตราการส่งข้อมูล (Bit rate) เทา่ กบั 36000 Kb/s ซง่ึ นับวา่ มีขนาดใหญ่มากเหมาะสำหรบั เก็บไฟล์ตน้ ฉบับมากกวา่ เพราะจะทำให้ได้ภาพทค่ี มชัดมาสร้างเปน็ งานในรูปแบบอ่ืนๆ เช่น ดวี ดี ี หรอื บลเู รย์ เป็นตน้ - HDV (High Definition Video) กระแสวีดโี อความละเอยี ดสงู กำลังไดร้ บั ความนิยมเพิ่มข้ึน เทคโนโลยตี ่างๆ กำลังปรับตวั เข้าหาการแสดงภาพในระดับความชดั สูง เชน่ ทวี แี บบ HD, ภาพยนตร์บลู เรย์ทีม่ ีคุณภาพของภาพระดับ HD รวมถงึ กลอ้ งถา่ ยวิดโี อรุ่นใหมท่ ่รี องรบั การถา่ ยภาพความละเอยี ดสูง - MPEG เป็นฟอรแ์ มตไฟล์วิดโี อท่ถี กู บีบอดั ซ่งึ ได้รบั ความนิยมมากท่ีสุด ไปจนถึงคมชัดในระดับที่ พอใช้โดยมีรูปแบบดงั นี้MPEG-1เป็นไฟลว์ ดิ ีโอทเ่ี หมาะสำหรับเปน็ ไฟล์พื้นฐานทจี่ ะนำไปสร้างเป็นแผ่น ภาพยนตรว์ ซี ดี มี ีความละเอยี ดของภาพปานกลางMPEG-2เปน็ ไฟล์วดิ โี อท่ีมคี ุณภาพสงู มีความคมชัดของ ภาพในระดับดี เหมาะสำหรบั นำไปใช้เปน็ ตน้ ฉบับสำหรับสร้างแผน่ ภาพยนตรด์ วี ดี ี เพราะภาพความชดั สูงสุดเมื่อเทยี บกบั ไฟลต์ ระกลู MPEG ด้วยกนั - MPEG-4 เรียกสั้นๆ วา่ M เป็นไฟล์ที่กำลังรบั ความนิยมเพิม่ มากขึน้ เน่ืองจากคุณภาพการ แสดงผลใกลเ้ คยี งกบั ดีวดี แี ต่มีขนาดไฟลเ์ ล็กเหมาะสำหรับนำไปเผยแพรบ่ นอนิ เทอรเ์ น็ต หรอื บนเคร่ือง สมารท์ โฟน เช่น iPhone, โทรศพั ท์ Android - WMV (Windows Media Video) เปน็ ไฟลว์ ิดโี อทท่ี างบริษทั ไมโครซอฟท์ใช้ร่วมกับ ระบบปฏิบัตกิ ารWindows โดยจะให้มาเป็นไฟล์วดิ ีโอมาตรฐานที่ใชร้ ่วมกบั โปรแกรม Windows Media Player - FLV (Flash Video) ไดร้ ับการพฒั นาจากบริษทั Adobe เปน็ รูปแบบไฟลว์ ิดโี อที่ใชเ้ ผยแพรท่ าง อนิ เทอรเ์ น็ต หรอื เรียกว่า Streaming มกั ถูกใช้สำหรับการเผยแพร่ทางอินเทอรเ์ น็ต โดยกอ่ นเล่นวดิ ีโอตงั้ Adobe Flash Player ลงเครือ่ งก่อน สาขาวชิ าเทคโนโลยแี ละนวตั กรรมการศกึ ษา

23 - MOV เป็นไฟลว์ ิดีโอท่ีใชร้ ว่ มกับโปรแกรม QuickTime ผลิตเพ่ือใชก้ บั เคร่ือง แอปเปลิ เป็นหลัก แตก่ ็สามารถทำงานร่วมกับ Windows ไดด้ ว้ ย - DivX เป็นรูปแบบการบบี อดั วิดโี อที่กำหนดไดร้ ับความนยิ ม เน่อื งจากไฟลว์ ิดีโอท่ไี ด้มขี นาดเล็ก และคุณภาพที่ได้อยใู่ นระดับดีมาก ใกล้เคยี งกับภาพยนตรจ์ ากแผ่นดวี ีดโี ดย DivX เปน็ รปู แบบวดิ ีโอที่ ได้มาจากการนำไฟลว์ ิดโี อดวี ดี มี าบีบอัดซ่ึงจะใชน้ ามสกุล .avi เชน่ เดียวกับไฟล์วิดโี อ AVI ทั่วไป - XviD มีรปู แบบการพัฒนาที่คลา้ ยคลงึ กับ DivX แตกต่างกันท่ี XviD เป็นแบบ Open Source หรอื เปน็ ของฟรีนัน่ เอง สามารถนำไปพฒั นาเพิ่มเตมิ ต่อได้ ไฟลว์ ดิ โี อทง้ั แบบ DivX และ XviD น้ันจะมี นามสกลุ .AVIโดยการเลน่ ไฟล์วดิ ีโอบนเคร่อื งคอมพิวเตอรน์ ัน้ ตอ้ งติดตงั้ โปรแกรมเสรมิ สำหรบั การ เขา้ รหสั วิดีโอก่อน ความละเอียดของภาพ (Resolution) ความละเอยี ดของภาพ คอื ส่วนที่บอกว่างานวดิ โี อท่ีออกมานั้นจะมคี ุณภาพ และความคมชดั มากนอ้ ย เพียงใดคา่ Resolution น้ีจะเป็นตัวเลขแสดงขนาดความยาวต่อความก้าวของหน้าจอ ซ่ึงจะมขี นาดแตกต่างกนั ไป ตวั เลขยงิ่ มากความคมชดั กจ็ ะสูงขน้ึ ตามลำดับ ดงั ต่อไปน้ี สาขาวชิ าเทคโนโลยแี ละนวตั กรรมการศกึ ษา

24 ความเร็วในการแสดงภาพ (Frame Rate) ความเร็วในการแสดงภาพท่เี ราใช้ในภาพยนตร์ นนั้ จะมหี น่วยเป็นภาพตอ่ วนิ าที ซึ่งเราจะเรยี กว่าFrame Rate โดยความเร็วในการแสดงภาพท่จี ะทำให้เกิดภาพเคลื่อนไหวน้ัน อย่างน้อยจะต้องมี Frame Rateประมาณ 7-10 ภาพต่อวินาที (fps : Frame per Second) ซ่ึงภาพยนตรก์ าร์ตูนสมัยก่อนจะใชภ้ าพตอ่ เนื่องแสดงการเล่ือน ไหวอย่ปู ระมาณ 12 เฟรม ต่อวนิ าที ปจั จุบันการแสดงภาพท่ีใช้เป็นภาพยนตรจ์ ะมี Frame Rateอยทู่ ป่ี ระมาณ 24 เฟรมต่อวนิ าที นอกจากนีย้ งั ขึ้นอยกู่ ับการกำหนดในแต่ละระบบท่ีไดก้ ล่าวถงึ ข้างตน้ ดว้ ย การเรยี กไฟลต์ ่างๆ ท่ีนำมาใชง้ านตัดตอ่ วดิ โี อ เราเรยี กไฟลท์ ่นี ำมาใช้ในงานตัดตอ่ วดิ ีโอแต่ละไฟลว์ า่ คลปิ (Clip) ในกรณีท่ีเราเรียก คลิปวิดีโอก็หมายถึง ไฟลว์ ดิ ีโอท่ีเรานำเข้ามาในโปรแกรมตัดต่อวิดโี อ เพื่อใชเ้ ป็นองคป์ ระกอบในการตดั ต่อวิดีโอนน่ั เอง สาขาวชิ าเทคโนโลยแี ละนวตั กรรมการศกึ ษา

25 คำสั่งและเครื่องมอื ในการใชง้ าน Corel VideoStudio เบ้ืองต้น การเปดิ ใชง้ านโปรแกรม การเปดิ ใชง้ านโปรแกรม สามารถทำได้ 2 วธิ ดี ้วยกนั วธิ แี รกคอื ดับเบิลคลกิ ทีไ่ อคอน ที่ อยใู่ นหนา้ จอเดสทอ็ ป หรอื ถา้ ไม่มีไอคอนนี้อยทู่ ่หี น้าจอเดสท็อป สามารถเขา้ ไปที่ Start > เลือกโฟลเดอร์ Corel VideoStudio > Corel VideoStudio สาขาวชิ าเทคโนโลยแี ละนวตั กรรมการศกึ ษา

26 ขณะท่กี ำลงั เปิดโปรแกรม ภาพหน้าจอของโปรแกรม Corel VideoStudio สาขาวชิ าเทคโนโลยแี ละนวตั กรรมการศกึ ษา

2 กลมุ่ เคร่อื งมือของโปรแกรม 1 27 6 4 3 4 5 7 1. Step Panel เป็นกลมุ่ ของปมุ่ ทีใ่ ชส้ ลับไปมาระหว่างโหมดต่างๆ คือ Capture , Edit และ Share ดงั น้ี – Capture เปน็ โหมดการจบั ภาพวีดโี อเขา้ มาในเครื่อง ไมว่ ่าจะเป็นการจบั ภาพจากกล้องดจิ ิตอล วดี ีโอผา่ นการ์ด Fire Wire จบั ภาพจากกล้องอะนาล็อควดี ีโอผา่ น Capture Card หรือจะเป็นการจับภาพ ผ่านกล้อง Web Cam ที่ต่อผ่าน USB Port เปน็ ต้น – Edit เปน็ โหมดท่ีผ้ใู ช้ ใชใ้ นการตัดต่อวดี โี อ เรยี งลำดบั คลิปต่างๆ ตามท่ีผู้ใชต้ อ้ งการ รวมถงึ ใส่ Effect ต่างๆ โดยคลิกเลือก Effect ท่ีจะใชแ้ ละลากเอามาวางบนภาพ การใส่ Overlay Track ซงึ่ เปน็ การ ซอ้ นภาพเข้าดว้ ยกนั การใส่ Title ซงึ่ โปรแกรมจะใหใ้ ส่ข้อความตา่ งๆ โดยการเลอื กฉากท่ีตอ้ งการแลว้ พมิ พข์ ้อความลงไป และใสเ่ สียงลงในวีดโี อ – Share เปน็ ขนั้ ตอนสดุ ทา้ ยของการตัดต่อวิดโี อ โดยโปรแกรมสามารถสรา้ งไฟล์สกุลต่างๆ ตามท่ผี ใู้ ช้ต้องการ 2. Menu Bar คือชดุ คำส่งั ต่างๆ ที่ใชค้ วบคมุ โปรแกรม โดยมคี ำสัง่ ทสี่ ำคัญ อาทิ สรา้ งโครงการใหม่ เปิด โครงการ บนั ทึกโครงการ เป็นต้น สาขาวชิ าเทคโนโลยีและนวตั กรรมการศกึ ษา

28 3. Options Panel ส่วนนีจ้ ะมีปมุ่ และข้อมูลอ่ืนๆ ท่ใี ห้ผูใ้ ชไ้ ดป้ รบั แต่งวดิ ีโอทเ่ี ลือก โดยฟงั ชนั กต์ า่ งๆ ใน สว่ นน้ีจะเปล่ยี นไปตามข้นั ตอนที่ผใู้ ช้ใช้งานอยู่ เช่น ถา้ เลอื กวีดีโอกจ็ ะมีฟังก์ช่นั ตา่ งๆ สำหรบั จัดการกับวดี ีโอ หรือ ถา้ เลือกเสยี งกจ็ ะมีฟังก์ชั่นสำหรบั การจัดการเร่ืองเสียง เป็นต้น 4. Preview Window เป็นหน้าตา่ งแสดงวิดีโอปจั จบุ นั 5. Navigation Panel ปุม่ สำหรับควบคุมวดี ีโอ เชน่ เลน่ วีดโี อ หยุด หยุดช่ัวขณะ เลอ่ื นไปข้างหนา้ เลื่อน กลับ เปน็ ตน้ 6. Library เป็นส่วนทีใ่ ช้เก็บและรวบรวมทกุ อยา่ งทีจ่ ะใชใ้ นการตัดต่อวิดีโอไมว่ ่าจะเป็น วดี ีโอ, เสยี ง, ภาพนิ่ง, เอฟเฟ็กตต์ า่ งๆ เป็นตน้ เพื่อความสะดวกในการเรียกใช้งาน 7. Timeline แสดงคลปิ , ตวั หนงั สือและเอฟเฟ็กต์ต่างๆ ท่ีอยู่ในโปรเจค็ การเพิม่ ไฟลเ์ พอ่ื เตรียมใชง้ านใน Options Panel ในส่วนของ Options Panel เลือก Media หลงั จากเลือกจะเห็นว่ามีตัวอยา่ งของมเี ดยี อยู่ ซง่ึ ในสว่ นน้ี ผใู้ ชส้ ามารถเพิ่มไฟล์มเี ดยี ต่างๆ เขา้ มาได้ ไม่ว่าจะเป็น วดิ ีโอ ภาพน่ิง หรือเสยี ง โดยการคลิกที่ป่มุ “Import Media Files” (จากภาพคือปุ่มท่ีมีวงกลมสสี ้ม) สาขาวชิ าเทคโนโลยแี ละนวตั กรรมการศกึ ษา

29 เม่ือคลิกทป่ี ุ่ม “Import Media Files” แล้ว จะมหี นา้ ตา่ งคน้ หาไฟลข์ ้ึนมา ให้ทำการเลือกไฟลว์ ดิ โี อ ภาพนง่ิ หรือเสยี ง ตามต้องการ(สามารถกดปุ่ม Ctrl เพอื่ เลือกหลายไฟลพ์ ร้อมกนั หรือกดปุ่ม Shift เพื่อเลอื ก หลายไฟลท์ ีเ่ รียงตดิ กัน) เมอ่ื เลือกเสรจ็ แลว้ กดปุ่ม “Open” เป็นอันเสร็จข้นั ตอนการเพิ่มไฟล์ สาขาวชิ าเทคโนโลยีและนวตั กรรมการศกึ ษา

30 การนำไฟล์เขา้ สู่ Timeline สามารถทำไดโ้ ดยการแดรกไฟลท์ ี่ต้องการมาวางไวใ้ น Timeline (ดังภาพ) การแทรก Transition สาขาวชิ าเทคโนโลยแี ละนวตั กรรมการศกึ ษา

31 เมื่อมีการนำภาพหรือวดิ โี อหลายๆ ไฟลม์ าต่อกัน จะทำใหก้ ารเปลยี่ นภาพหรือวิดโี อมีความกระด้าง ดไู ม่ลนื่ ไหล ผู้ใช้สามารถแก้ไขไดโ้ ดยการใส่ Transition ให้กบั วิดีโอ โดยมวี ิธีการดังน้ี 1. คลิกที่ป่มุ Transition ในส่วนของ Options Panel 2. แดรกเมาสต์ ัว Transition ทต่ี อ้ งการมาวางไวก้ ึง่ กลางระหว่างไฟล์มเี ดยี (ดังภาพ) 3. นำเมาสม์ าเลอื กท่ี Timeline แลว้ ทดลองกดปุ่ม Play เพอ่ื ดผู ลลพั ธ์ การแทรกขอ้ ความ 1. คลิกที่ป่มุ “Title” ในสว่ นของ Options Panel 2. เลอื กแบบข้อความท่ีต้องการ 3. แดรกเมาสเ์ ลอื กแบบขอ้ ความมาวางใน Timeline สาขาวชิ าเทคโนโลยแี ละนวตั กรรมการศกึ ษา

32 4. ดบั เบลิ คลิกที่ข้อความในส่วนของ Preview Window แล้วพิมพ์ข้อความตามต้องการ ในข้นั ตอนน้ี สามารถปรับแตง่ แบบอักษร ขนาด สี และอื่นๆ ไดใ้ นส่วนขวามอื การแทรก Filter 1. คลกิ ท่ีปุ่ม “Filter” หรอื รูปสญั ลกั ษณ์ FX สาขาวชิ าเทคโนโลยแี ละนวตั กรรมการศกึ ษา

33 2. เลอื กรูปแบบ Filter ตามต้องการ 3. คลิกเลือกแล้วแดรกเมาส์มาวางในภาพหรอื วดิ โี อตามต้องการ 4. ในกรณที ผี่ ้ใู ช้ต้องการปรบั แตง่ Filter สามารถทำไดโ้ ดยคลกิ ทีภ่ าพหรือวิดโี อท่ีใส่ Filter (ตามภาพ หมายเลข 1) แลว้ เลอื ก “Customize Filter” 5. จะได้หนา้ ต่าง Average ขึ้นมา ผ้ใู ช้สามารถปรบั แตง่ ได้ตามต้องการ (ในท่ีนี้ไม่ขอแนะนำการปรับแต่ง เพราะแตล่ ะ Filter จะมกี ารปรับแตง่ ไม่เหมอื นกนั ) การเคลอื่ นไหวของภาพ โปรแกรมนน้ี อกจากจะสามารถตดั ตกแต่ง ต่อ เพ่มิ ส่ิงตา่ งๆ ในวดิ ีโอแล้ว ยงั มีความสามารถทโี่ ดดเดน่ และงา่ ยอีกหน่งึ ออฟชน่ั คือ การทำให้ภาพสามารถเคล่ือนที่ได้ มีวธิ ีการทำดังน้ี สาขาวชิ าเทคโนโลยีและนวตั กรรมการศกึ ษา

34 1. คลิกท่ปี ุ่ม “Path” ในส่วนของ Options Panel 2. เลอื กรปู แบบการเคล่ือนที่ทีต่ อ้ งการ 3. แดรกเมาส์เลอื กรูปแบบการเคลื่อนทีม่ าวางในภาพ สาขาวชิ าเทคโนโลยแี ละนวตั กรรมการศกึ ษา

35 การนำไฟล์วดิ โี อไปใชง้ าน เมอื่ เสร็จสิน้ การปรบั แตง่ และตดั ต่อวิดีโอตามตอ้ งการแลว้ กม็ าถึงข้ันตอนสดุ ท้ายของการดำเนินงานหรอื การสรา้ งไฟล์หลังการตัดต่อ เรยี กวา่ เป็นขนั้ ตอนการ Share เป็นการกำหนดรูปแบบให้กับวิดีโอ มีวธิ กี ารดังน้ี 1 2 3 4 1. คลิกท่ีปมุ่ “Share” ในสว่ นของ Step Panel 2. เลือกรูปแบบไฟลต์ ามต้องการ 3. พมิ พช์ ่ือของไฟล์ในช่อง File name และเลือกที่จดั เก็บในชอ่ ง File location 4. คลิกปุม่ “Start” แล้วโปรแกรมจะเริ่มต้นการบบี อัดไฟล์เพอ่ื นำไปใชง้ าน ซ่ึงขั้นตอนนี้จะชา้ หรอื เร็ว ข้ึนอยูก่ ับสเปกของคอมพวิ เตอร์ และความยาวของวิดีโอ สาขาวชิ าเทคโนโลยีและนวตั กรรมการศกึ ษา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook