Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ข้อตกลงในการพัฒนางาน-PAกนกกาญจน์

ข้อตกลงในการพัฒนางาน-PAกนกกาญจน์

Published by นิรัช เพชรพรรณ, 2022-02-04 02:35:43

Description: 11. ครูกนกกาญจน์

Search

Read the Text Version

PA 1/ส ขอ้ ตกลงในการพฒั นางาน (PA) สาหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา ตาแหน่งครู โรงเรยี นบ้านดงหม้อทอง ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ระหวา่ งวันที่ 1 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2564 ถึงวันที่ 30 เดอื น กนั ยายน พ.ศ. 2565 ผจู้ ดั ทาข้อตกลง ชือ่ นางกนกกาญจน์ นามสกุล แสงสุวรรณ ตาแหนง่ ครู สถานศึกษา โรงเรียนบา้ นดงหม้อทอง สงั กดั สานกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 3 รบั เงนิ เดือนในอันดับ คศ. 1 อัตราเงนิ เดือน 19,400 บาท ประเภทห้องเรยี นทจี่ ดั การเรียนรู้  ห้องเรียนวชิ าสามญั หรือวิชาพื้นฐาน  หอ้ งเรียนปฐมวยั  หอ้ งเรียนการศึกษาพเิ ศษ  หอ้ งเรียนสายวชิ าชีพ  ห้องเรยี นการศึกษานอกระบบ / ตามอธั ยาศยั ขา้ พเจ้าขอแสดงเจตจานงในการจดั ทาข้อตกลงในการพัฒนางานตาแหนง่ ครู (ยังไม่มีวทิ ยฐานะ) ซึ่งเป็นตาแหนง่ ที่ดารงอยู่ในปัจจุบนั กับผ้อู านวยการสถานศกึ ษา ไวด้ ังต่อไปน้ี ส่วนท่ี 1 ข้อตกลงในการพฒั นางานตามมาตรฐานตาแหนง่ 1. ภาระงาน จะมภี าระงานเปน็ ไปตามที่ก.ค.ศ. กาหนด 1.1 ชั่วโมงสอนตามตารางสอน รวมจานวน 19 ชัว่ โมง/สปั ดาห์ดังนี้ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม รายวชิ าประวัตศิ าสตร์ มัธยมศกึ ษาปีที่1-6 จานวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ศลิ ปะ รายวิชาศลิ ปะ ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 1-6 จานวน 1 ชว่ั โมง/สปั ดาห์ กจิ กรรมชมุ นมุ ดนตรี-นาฏศิลป์ จานวน 2 ชั่วโมง/สัปดาห์ กจิ กรรมลูกเสือ-เนตรนารี จานวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ กิจกรรมแนะแนวคุณธรรมนาชวี ิต จานวน 1 ช่ัวโมง/สปั ดาห์ 1.2 งานส่งเสรมิ และสนบั สนุนการจัดการเรยี นรู้ จานวน 3 ชว่ั โมง/สัปดาห์ -การมีสว่ นร่วมในชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชพี -การพัฒนาตนเองตามทักษะทก่ี าหนด

1.3 งานพัฒนาคุณภาพการจดั การศึกษาของสถานศกึ ษา - งานฝ่ายบรหิ ารงานทว่ั ไป - หวั หนา้ งานโครงสง่ เสรมิ สุขภาพและอนามยั นักเรียน - หัวหน้างานโครงการสง่ เสริมศิลปะและนาฏศิลป์ -ปฏบิ ตั หิ น้าทร่ี ่วมโครงการอาหารกลางวัน -หัวหน้างานโครงการพฒั นาสุขภาพกายใจนักเรียน -ปฏิบตั ิหน้าทรี่ ่วมโครงการสง่ เสริมความเป็นเลิศทางวชิ าการ - ผรู้ บั ผิดชอบโครงการโรงเรยี นปลอดบหุ ร่แี ละแอลกอฮอล์ - ผู้รับผดิ ชอบโครงการอาหารเสริม(นม)โรงเรยี น 1.4 งานตอบสนองนโยบายและจุดเน้น -กิจกรรมลดเวลาเรียน-ทักษะชีวติ -โรงเรยี นคณุ ภาพประจาตาบล -โรงเรยี นคุณธรรม สพฐ. -โรงเรยี นสุจรติ -โรงเรยี นตน้ แบบลดเวลาเรยี นเพมิ่ เวลารู้

2. งานปฏิบัตติ ามมาตรฐานตาแหน่งครู งาน ผลลพั ธ์ ตัวชว้ี ัด 2.1 ดา้ นการจัดการเรยี นรู้ (Tasks) (Outcomes) (Indicators) ลักษณะงานท่ีปฏบิ ตั ิ ตามมาตรฐานตาแหนง่ 2.1.1การสร้างและหรือพัฒนาหลักสตู ร วิเคราะห์หลักสตู รกลุ่ม นกั เรยี นไดเ้ รียนรู้ตรง นกั เรยี นร้อยละ 80 2.1.2 การออกแบบการจดั การเรียนรู้ สาระการเรยี นรู้ศิลปะ ตามหลักสูตรต้องรู้ มีความรู้ตามตัวช้วี ัดที่ และจัดทาหนว่ ยการ หลักสูตรสมรรถนะ ตอ้ งรู้ในกลุ่มสาระศิลปะ เรยี นรจู้ ากมาตรฐาน และตัวช้ีวดั ท่ีกาหนด สาระที่ 3 นาฏศลิ ป์ การเรียนรู้ ตวั ชว้ี ัด อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ มาตรฐานการเรยี นรู้ นาไปจดั ทาหนว่ ยการ เช่น นกั เรียน มาตรฐาน ศ 2.1 เข้าใจ เรยี นรูท้ ่ีสอดคล้องกับ สามารถฝึกปฏบิ ัติ และแสดงออกทาง มาตรฐานการเรยี นรู้ นาฏศพั ท์ได้มีความ นาฏศลิ ป์อย่าง และตัวชว้ี ัด แม่นยา และเกดิ สร้างสรรคว์ ิเคราะห์ ทักษะการเรยี นรู้ที่ วพิ ากษว์ ิจารณ์คณุ คา่ ออกแบบหน่วยเรียนรู้ สามารถพฒั นาการ นาฏศิลป์ ถ่ายทอด ของกลุม่ สาระศลิ ปะ เรียนได้อย่างมี ความรสู้ กึ ความคิดอย่าง (นาฏศิลป์) ประสิทธภิ าพ อิสระชนื่ ชมและ เร่ือง นาฏศัพท์ ประยกุ ตใ์ ชใ้ น ทางด้านนาฏศิลป์ นกั เรยี นไดเ้ รียนรู้ตาม ชีวติ ประจาวนั หนว่ ยการเรยี นรกู้ ลุ่ม สาระศิลปะ นักเรยี นร้อยละ 80 มคี วามร้ตู ามหลักสตู ร ทต่ี ้องรตู้ ามตวั ช้วี ัด และ มคี ณุ ลักษะอนั พึง ประสงค์ตามทีก่ าหนดไว้ 2.1.3 การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ จดั ทาแผนการจัด นักเรยี นได้เรยี นรู้ตาม นักเรยี นร้อยละ 80 การเรียนรกู้ ลมุ่ สาระ แผนการจัดการ ไดเ้ รียนรอู้ ยา่ งมคี วามสุข ศิลปะในรปู การจดั เรียนรู้โดยรปู แบบ และมีความรูต้ ามตัวชีว้ ัด กิจกรรมการฝึกทักษะ การฝึกทักษะนาฎย ตามหลกั สตู รสมรรถนะ/ นาฎยศพั ท์แบบเพ่ือน ศัพท์แบบเพ่ือนชว่ ย หลักสตู รต้องรู้และส่งผล ช่วยเพื่อน เพื่อนระดบั ช้ัน ใหม้ คี วามเขา้ ใจใน ระดับชน้ั มธั ยมศึกษาปี มัธยมศึกษาปีท่ี 1 เนือ้ หาท่ีครูไดท้ าการ ที่ 1 และบันทกึ ผลหลงั สอน การสอนทส่ี ะท้อนผล

ลกั ษณะงานที่ปฏบิ ัติ งาน ผลลพั ธ์ ตวั ช้วี ดั ตามมาตรฐานตาแหนง่ (Tasks) (Outcomes) (Indicators) 2.1.4การสร้างและหรอื พฒั นาสอ่ื จัดหาสอื่ การสอนโดย ในการจดั กิจ นกั เรยี นรอ้ ยละ 80 นวัตกรรม เทคโนโลยีและแหล่งเรยี นรู้ ใชค้ ลปิ วดิ ิทัศน์ และ กรรมการเรยี นรู้ มีทกั ษะด้านการเรยี นรู้ การสมคั รใจและภาพ นกั เรียนได้รบั การ วธิ ีการการแยกสารเพอ่ื ชุดฝกึ กจิ กรรมนาฎย พัฒนาในการเรียน นาไปใช้ประโยชน์ในการ ศพั ท์ การสอนโดยรปู แบบ แก้ปญั หาใน การฝกึ ทักษะนาฎย ชีวติ ประจาวนั ผ่าน 2.1.5 การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ สร้างเคร่อื งมือวัด ศัพท์แบบเพื่อนช่วย เกณฑ์ทกี่ าหนดไว้ส่งผล ประเมนิ ผลการเรียนรู้ เพือ่ นระดับชนั้ ให้นกั เรียนมคี วามเข้าใจ ตามมาตรฐาน และ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 และมีสมรรถนะตาม ตวั ช้ีวัดรายวิชาตรง ตัวช้วี ดั ตรงตามหลักสตู ร ตามหลกั สตู รท่ตี ้องรู้ นกั เรียนไดร้ บั การวดั ประเมินผลโดยใช้ นกั เรยี นร้อยละ 80 เคร่อื งมือและแบบ มผี ลสัมฤทธผิ์ า่ นตาม ประเมนิ ตามตวั ชวี้ ัด เกณฑ์ทส่ี ถานศึกษา (หลกั สูตรต้องรู้) ทม่ี ี กาหนดไว้ทุกตัวช้ีวดั ประสทิ ธภิ าพและนา่ เชอื่ ถือ จัดเก็บข้อมลู เป็นระบบ 2.1.6การศึกษาวเิ คราะห์ และ ศกึ ษาข้อมูลนกั เรยี น นกั เรยี นได้รับการ นักเรียนรอ้ ยละ 80 แก้ปญั หาโดย มีทักษะการเรยี นสงั คม สังเคราะหเ์ พือ่ แก้ปญั หาหรือพัฒนาการ เปน็ รายบคุ คลเพ่ือหา กระบวน ศึกษา ผา่ นเกณฑต์ ามที่ การวจิ ัยในชัน้ เรียน กาหนดไว้ เรยี นรู้ แนวทางแก้ปัญหาและ จัดทาวจิ ัยในชน้ั เรยี น 2.1.7 การจัดบรรยากาศท่ีส่งเสริมและ จดั บรรยากาศโดย นกั เรยี นมีส่วนรว่ มใน นักเรียนร้อยละ 80 พัฒนาผูเ้ รยี น ผูเ้ รยี นมสี ่วนร่วม การจดั บรรยากาศใน มีความสนใจ และ เพอื่ ให้น่าสนใจ เอ้ือต่อ ชนั้ เรยี นมคี วามพงึ กระตือรอื ร้นในการรว่ ม การเรียนรขู้ องผู้เรียน พอใจ และได้ ทากจิ กรรมสง่ ผลให้ ช่วยเหลอื จัดปา้ ย นกั เรียนมคี วามสุขใน นเิ ทศ มมุ แสดงผล การเรยี นรูส้ ่งผลต่อการ งานของตนเอง พัฒนาผลสัมฤทธ์ิ ของนักเรียนให้สูงข้ึน

ลักษณะงานที่ปฏบิ ตั ิ งาน ผลลพั ธ์ ตัวชีว้ ัด ตามมาตรฐานตาแหน่ง (Tasks) (Outcomes) (Indicators) 2.1.8 การอบรมและพัฒนาคุณลกั ษณะ กิจกรรมโฮมรูม นกั เรียนช้นั ผู้เรยี นรอ้ ยละ 100 มี มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 คณุ ลักษณะที่พึงประสงค์ ท่ดี ขี องผเู้ รียน ผา่ น Line และ เปน็ ผู้มีคณุ ลกั ษณะท่ี ตามที่สถานศึกษาที่ ดที ัง้ ตอ่ ตนเอง ผู้อืน่ กาหนดไว้ศึกษากาหนด Google Meet กลุ่ม โรงเรยี น และสังคม ไว้ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 และบนั ทึกการเขา้ รว่ ม กจิ กรรมของนักเรยี น 2.2 ดา้ นการสง่ เสรมิ และสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ ลกั ษณะงานที่ปฏบิ ตั ิ งาน ผลลัพธ์ ตวั ช้วี ดั ตามมาตรฐานตาแหน่ง (Tasks) (Outcomes) (Indicators) 2.2.1 การจัดทาข้อมูลสารสนเทศของ จดั ทาข้อมูลในระบบ นกั เรยี นมรี ะบบ นกั เรียนร้อยละ 100 มขี อ้ มลู ในระบบ สารสน ผูเ้ รียนและรายวชิ า สารสนเทศของ ขอ้ มลู สารสนเทศ เทศครบถว้ น ในทุกดา้ น เป็นระบบและรายบคุ คล นกั เรยี นชั้น สะดวกต่อการ สามารถนาข้อมูล นกั เรยี นท่จี ดั เก็บไว้มาใช้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 และ ใชง้ านและมี งานอย่างเปน็ ระบบและ ไมเ่ อกสารสูญหาย ในรายวิชาทีท่ าการ ประสทิ ธิภาพ และ สอน เอกสารงาน สามารถนาข้อมูลมา ประจาช้นั แบบ ปพ. ใชไ้ ด้ทันที ตา่ ง ๆ 2.2.2การดาเนนิ การตามระบบดูแล การออกเยย่ี มบ้าน นกั เรียนชัน้ นกั เรียนร้อยละ100 ชว่ ยเหลือผู้เรียน นกั เรียน ระดับช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 ไดร้ บั การดูแลเอาใจใส่ มธั ยมศึกษาปีที่ 1 มีข้อมลู พืน้ ฐานเป็น ตรงตามความตอ้ งการ อย่างน้อยภาคเรียนละ รายบคุ คล และ รายบุคคล และมีความ 1 คร้ัง ทัง้ แบบเยี่ยม ช่วยเหลอื ในเร่อื ง สมั พนั ธ์อันดีระหว่างครู ตามสภาพจริง และ ตา่ งๆ จากข้อมลู การ และนักเรยี น Online เยยี่ มบา้ น จัดหาทุน

การศึกษา นักเรยี น ยากจน 2.2.3 การปฏิบัติงานวิชาการ และงาน โครงการต่างๆ นักเรียนไดเ้ รียนรู้ นกั เรยี นรอ้ ยละ100 อ่ืนๆ ของสถานศกึ ษา ที่ได้รบั มอบหมายตาม ในกิจกรรมที่ ได้รบั การพัฒนา มสี ่วน ทีโ่ รงเรียนแตง่ ตั้งให้รับ หลากหลายตาม ร่วมในกจิ กรรมทางวชิ า ผิดชอบจัดเกบ็ ข้อมลู โครงการและ การท่ีโรงเรยี นจดั ขน้ึ เกิด สารสนเทศ ของ กจิ กรรมท่ีทาง ประโยชนอ์ ย่างมรี ะบบ โรงเรียน โรงเรยี นได้กาหนด ตรวจสอบได้ ขนึ้ ตลอดปีการศึกษา 2.2.4 การประสานความร่วมมือกับ ร่วมประชุมผปู้ กครอง นกั เรียนไดร้ ับความ นักเรยี นร้อยละ100 ผู้ปกครอง ภาคีเครือข่าย และหรือสถาน ผ่านกลมุ่ ไลน์(Line) ชว่ ยเหลอื จาก ไดร้ ับการดูแลจัดสรรหา ประกอบการ ตดิ ตามการเรยี นรู้ ผู้ปกครอง หน่วยงาน ทนุ การศึกษาทาให้ หลายชอ่ งทาง อ่ืนทเ่ี กย่ี วขอ้ งและมี นกั เรยี นมคี ุณภาพชวี ติ ที่ ขอ้ มูลในระบบสาร ขน้ึ และการเรยี นของนัก สนเทศของโรงเรยี น เรียนมผี ลสัมฤทธิ์ทีส่ ูงขน้ึ (DMC) 2.3 ด้านการพัฒนาตนเองและวิชาชพี ลักษณะงานที่ปฏิบตั ิ งาน ผลลพั ธ์ ตัวชว้ี ัด ตามมาตรฐานตาแหนง่ (Tasks) (Outcomes) (Indicators) 2.3.1การพฒั นาตนเองอย่างเป็นระบบ เพอื่ พัฒนาตนเองโดย นกั เรยี นได้รบั การจดั นกั เรยี นรอ้ ยละ100 และต่อเนื่องเพื่อใหม้ ีความรคู้ วามสามารถ การเข้าอบรม/ประชมุ / กจิ กรรมการเรียน ไดร้ ับการจัดกิจกรรมการ ทักษะ โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ การใช้ภาษาไทย สัมมนาตลอด การสอนที่เน้นผูเ้ รยี น เรียนการสอนด้วยวิธีการ และภาษาอังกฤษเพอ่ื การสอ่ื สาร และการ ปงี บประมาณ 2565 เปน็ สาคัญมีกิจกรรม ทีห่ ลากหลาย และ ใชเ้ ทคโนโลยีดจิ ทิ ัลเพื่อการศึกษา ในสาขา และวชิ าท่ี ท่ีหลากหลาย เหมาะสมกบั เน้ือหา สมรรถนะวชิ าชพี ครูและความรอบรใู้ น เหมาะสมกับระดับของ เหมาะสมตามความ ส่งผลให้มผี ลสมั ฤทธิ์ เนอ้ื หาวิชาและวิธกี ารสอน ตนเองเพอ่ื นามาพฒั นา แตกตา่ งระหว่าง ทางการเรียนสูงขน้ึ สือ่ และการจดั กจิ กรรม บุคคล ทาให้ การด้านการเรียนการ นกั เรยี นมีผลสมั ฤทธ์ิ สอนท้ังรูปแบบการ ทส่ี ูงข้นึ อบรมแบบปกติ และ Online 2.3.2 การมีส่วนร่วมในการแลกเปล่ียน เข้ารว่ มกจิ กรรมกลุ่ม นกั เรยี นชั้น นกั เรยี นรอ้ ยละ 80 เรียนรู้ทางวิชาชีพ เพ่ือพัฒนาการจัดการ เพือ่ พฒั นางานวชิ าการ มัธยมศึกษาปที ่ี 1 ได้รบั การแกไ้ ขเมื่อเกิด

เรยี นรู้ และวิชาชพี นาความร้ทู ่ี ไดร้ ับการแกไ้ ขปญั หา ปัญหาทางการเรียนรู้ ไดม้ าสรา้ งส่ือและ ในการเรยี น ได้ และปัญหาอ่ืนๆ ท่ีพบ นวตั กรรมเพ่ือ เหมาะสม และความ เห็นอยา่ งต่อเนื่องและ แกป้ ญั หานักเรยี นช้ัน แตกตา่ งระหว่าง เป็นระบบ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 และ บุคคลทานักเรยี นมี ขยายผลการเรยี นรู้ ผลการเรียนทด่ี ขี ้นึ เผยแพรต่ ามกลุ่มต่างๆ 2.3.3 การนาความรู้ ความสามารถ เผยแพร่ผลงานทาง นักเรยี นได้รบั การ นักเรยี นรอ้ ยละ 80 ทักษะที่ได้จากการพัฒนาตนเองและ วชิ าการ/เป็นทป่ี รึกษา/ พฒั นาจากส่ือ มผี ลสัมฤทธทิ์ ส่ี ูงขึ้น วิชาชีพมาใช้ในการพัฒนาการจัดการ แนะนาร่วมเปน็ นวตั กรรม การเรยี น และได้รับการพัฒนา เรยี นรู้ การพัฒนาคุณภาพผเู้ รียน และการ วทิ ยากรในศูนย์ การสอนที่ครูได้ แก้ปัญหาในการเรียน พัฒนานวัตกรรมการจดั การเรยี นรู้ เครือข่าย และ สพป. พฒั นาข้นึ และ สกลนคร เขต 3 นามาใชจ้ ัดกิจกรรม และหน่วยงานอนื่ การเรียนรู้โดย รปู แบบโครงงาน หน่วยท่ี 2 การแยก สารเนือ้ ผสมอย่าง งา่ ย เร่อื ง วธิ ีการ แยกสารผสมอย่าง ง่าย

ส่วนท่ี 2 ข้อตกลงในการพัฒนางานท่เี ป็นประเด็นทา้ ทายในการพัฒนาผลลพั ธก์ ารเรียนร้ขู องผู้เรียน ประเดน็ ทท่ี า้ ทายในการพัฒนาผลลัพธก์ ารเรยี นรู้ของผูเ้ รียนของผู้จดั ทาข้อตกลง ซึ่งปจั จบุ นั ดารงตาแหน่งครู (ยังไม่มวี ิทยฐานะ) ต้องแสดงให้เหน็ ถึงระดับการปฏบิ ตั ทิ ่ีคาดหวงั คอื การปรับประยุกต์ การจัดการเรยี นร้แู ละการพัฒนาคณุ ภาพการเรยี นรู้ของผู้เรียน ให้เกดิ การเปล่ยี นแปลงไปในทางที่ดีข้นึ หรือมี การพฒั นามากขน้ึ ประเด็นท้าทาย เรื่อง การพฒั นาทักษะนาฎยศพั ท์ทางด้านนาฏศิลป(์ แบบเพอื่ นชว่ ยเพอื่ น) ระดับช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 1 1. สภาพปญั หาของผูเ้ รยี นและการจัดการเรยี นรู้ จากสภาพปัญหาในการจัดการเรียน พบว่านักเรียนยงั ขาดทักษะพ้ืนฐานทางการรา ซ่ึงขาดความร่วมมือในการ ฝึกทักษะนาฏยศัพท์ ไม่สนใจกิจกรรมนาฏศิลป์ และนักเรียนบางส่วนไม่กล้าแสดงออก ราไม่ถูกจังหวะ จาท่า ราไม่ได้ ส่งผลให้ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนที่ต่า ซึ่งครูผู้สอนคิดว่าอาจเกิดจากความแตกต่างระหว่างบุคคล ประสบการณ์ ความรูเ้ ดิม ความถนัด ความสนใจและความสามารถทางสตปิ ัญญาท่จี ะเรยี นรูไ้ ม่เท่ากนั นกั เรียน ไม่ภูมใิ จในความเป็นไทย จากสภาพปญั หาดังกล่าว ครูผู้สอนต้องพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้เหมาะสม กับผู้เรียน เนื่องจากนักเรียนมีความแตกต่างกันในเรื่อง ประสบการณ์ ความรู้เดิม ความถนัด ความสนใจ สภาพแวดล้อม และความสามารถทางสติปัญญาท่ีจะเรียนรู้ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้นาฏศิลป์เป็นกิจกรรม หนึ่งที่สร้างและพัฒนาผู้เรียนให้มีความสามารถสูงข้ึนและบรรลุตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตร ฉะน้ันครูผู้สอน ตอ้ งเปล่ียนแปลงบทบาทจากการเป็นผู้ชน้ี า ผู้ถ่ายทอดความรู้ไปเป็น ผู้ช่วยเหลือส่งเสริมและสนับสนุนผู้เรียน ในการแสวงหาความรู้จากสื่อและแหล่งการเรียนรู้ต่างๆ และให้ข้อมูลท่ีถูกต้องแก่ผู้เรียน เพ่ือนาความรู้ เหล่านั้นไปใช้สร้างสรรค์ความรู้ของตน วิธีการสอนท่ีดที ่ีสุดมีหลายวิธีด้วยกันในการท่ีจะนามาแก้ปัญหาในการ จัดการเรียนการสอน แต่พบว่า การสอนแบบเพ่ือนช่วยเพ่ือน เป็นรูปแบบท่ีมุ่งพัฒนาเด็กทุกคนที่มีความ แตกต่างกันทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญา มีความสามารถการเรียนรู้ไม่เท่ากัน การให้เด็ก เก่งใช้ความสามารถเฉพาะตนให้เป็นประโยชน์ โดยทาหน้าที่เป็นผู้สอนเด็กเรียนอ่อนหรือเด็กเรียนช้า จึงเป็น ประโยชน์และช่วยแก้ปัญหาเด็กเรียนช้าได้อีกวิธีหน่ึง วิธีการน้ีเปิดโอกาสให้เด็กทาหน้าท่ีช่วยสอน ได้แสดงถึง ความสามารถของตนในการชว่ ยเหลือผู้อน่ื ช่วยใหเ้ ขาสนใจ และเข้าใจบทเรยี นมากยิ่งขนึ้ เกิดพัฒนาดา้ นความ รับผิดชอบ ซ่ึงการสอนแบบเพ่ือนช่วยเพื่อนน้ี เป็นวิธีการสอนวิธีหนึ่งที่สืบทอดแนวคิดของ “John Dewey” ทวี่ ่า “Learning by doing” โดยเนน้ ให้นักเรยี นมีการรวมกลุ่มเพือ่ การทางาน 2. วธิ ีการดาเนินการให้บรรลผุ ล - การสมัครใจในการชว่ ยเพื่อนใหม้ ีทักทักษะนาฎยศัพทท์ างด้านนาฏศิลป์ท่ีแม่นยา และให้ผู้เรียนมี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชานาฏศิลป์ที่สูงขึ้น โดยใช้รูปแบบการสอนแบบเพื่อนช่วยเพื่อน และเกิดการพัฒนา ด้านทักษะการเรียนรู้อย่างมีประสทิ ธภิ าพมากขึน้ 3. ผลลพั ธ์การพัฒนาทค่ี าดหวงั 3.1 เชงิ ปริมาณ

- นกั เรยี นระดับช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 1 โรงเรียนบ้านดงหม้อทอง จานวน 36 คน 3.2 เชงิ คณุ ภาพ - นักเรียนระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 1 สามารถฝกึ ปฏิบตั ิทกั ษะนาฏยศัพท์ทางนาฏศลิ ป์ให้เกิดความแม่นยาและ มคี วามชานาญในการปฏิบัติไดอ้ ย่างถูกต้อง และนักเรียนมีความสามารถในการปฏบิ ตั ินาฏยศพั ท์หลงั การ จัดการเรียนรู้ได้อย่างถูกต้ นาฏยศพั ท์ หมายถึง ศัพทท์ ่ีใช้เกี่ยวกบั ลกั ษณะท่ารา ทใี่ ชใ้ นการฝึกหัดเพ่อื แสดงโขน ละคร เป็นคาทีใ่ ช้ ในวงการนาฏศิลปไ์ ทย สามารถสื่อความหมายกนั ได้ทุกฝ่ายในการแสดงต่างๆ \"นาฏย\" หมายถงึ เก่ียวกับการ ฟ้อนรา เกย่ี วกบั การแสดงละคร \"ศัพท์\" หมายถึง เสียง คา คายากที่ตอ้ งแปล เรอื่ ง เม่ือนาคาสองคามารวมกนั ทาใหไ้ ด้ความหมายข้นึ มา การศึกษาทางดา้ นนาฏศลิ ป์ไทย ไม่ว่าจะเป็นการแสดงโขน ละคร หรอื ระบาเบ็ดเตล็ดต่างๆ กด็ ี ท่าทาง ท่ีผู้แสดงแสดงออกมานัน้ ย่อมมีความหมายเฉพาะ ยิ่งหากได้ศึกษาอยา่ งดีแลว้ อาจทาให้เข้าใจในเร่ืองการ แสดงมากย่ิงข้ึนท้ังในตวั ผแู้ สดงเอง และผทู้ ีช่ มการแสดงน้นั ๆ ส่ิงท่เี ข้ามาประกอบเป็นท่าทางนาฏศิลปไ์ ทยนั้นก็ คือ เรอื่ งของนาฏยศัพท์ ซ่ึงแยกออกได้เปน็ คาวา่ \"นาฏย\" กบั คาว่า \"ศพั ท\"์ ดงั น้ี แบง่ ออกเป็น 3 ประเภท คือ 1. นามศพั ท์ หมายถึง ศัพท์ทีเ่ รียกชือ่ ทา่ รา หรอื ช่ือทา่ ที่บอกอาการกระทาของผนู้ นั้ เชน่ วง จบี สลดั มือ คลายมือ กรายมือ ฉายมือ ปาดมือ กระทบ กระดก ยกเทา้ กา้ วเท้า ประเท้า ตบเทา้ กระทุ้ง กะเทาะ จรดเท้า แตะเท้า ซอยเท้า ขยัน่ เทา้ ฉายเทา้ สะดุดเท้า รวมเท้า โยต้ ัว ยักตวั ตีไหล่ กลอ่ มไหล่ 2. กริ ยิ าศัพท์ หมายถงึ ศพั ท์ทใี่ ช้เรยี กในการปฏบิ ตั ิบอกอาการกิรยิ า ซึ่งแบ่งออกเป็น -ศัพท์เสรมิ หมายถงึ ศัพท์ทใ่ี ชเ้ รยี กเพ่อื ปรบั ปรุงทา่ ทใี หถ้ ูกต้องสวยงาม เชน่ กันวง ลดวง ส่งมือ ดึงมือ หักข้อ หลบศอก เปิดคาง กดคาง ทรงตัว เผน่ ตัว ดงึ ไหล่ กดไหล่ ดงึ เอว กดเกลยี วขา้ ง ทับตวั หลบเข่า ถีบเข่า แขง็ เขา่ กนั เขา่ เปิดส้น ชักส้น - ศัพท์เสอ่ื ม หมายถึง ศัพทท์ ่ีใชเ้ รียกชอ่ื ท่าราหรอื ทว่ งทขี องผู้ราที่ไมถ่ ูกต้องตามมาตรฐาน เพอ่ื ให้ผู้รารู้ตวั และแก้ไขท่าทีของตนให้ดีข้นึ เชน่ วงล้า วงควา่ วงเหยียด วงหกั วงล้น วงแอ้ คอดืม่ คางไก่ ฟาดคอ คอหกั เกรง็ คอ หอบไหล่ ทรดุ ตัว ขย่มตัว เหล่ียมลา้ ราแอ้ ราลน ราเลือ้ ย ราลา้ จังหวะ ราหน่วงจงั หวะ 3. นาฏยศพั ทเ์ บ็ดเตล็ด หมายถึง ศพั ทต์ ่างๆทใ่ี ชเ้ รียกในภาษานาฏศลิ ป์ นอกเหนือไปจากนามศัพท์ และกิริยา ศพั ท์ เช่น จีบยาว จีบสัน้ ลกั คอ เดินมือ เอยี งทางวง คืนตัว อ่อนเหล่ียม เหล่ยี มลา่ ง แม่ทา ท่า-ที ขึ้นท่า ยนื เขา่ ทลายท่า นายโรง พระใหญ่ - พระน้อย นางกษัตรยิ ์ นางตลาด ผเู้ มยี ยนื เคร่ือง ศัพท์ - นาฏภาษาหรือภาษาท่าทาง นาฏภาษาหรือภาษาทา่ ทาง (เปน็ สาร)ที่ใช้ในการส่ือสารอย่างหนง่ึ ทีท่ ง้ั ผู้ ถ่ายทอดสาร (ผู้รา) และผูร้ ับสาร (ผูช้ ม) จาเปน็ จะตอ้ งเข้าใจตรงกัน จงึ จะสามารถเข้าใจในความหมายของการ แสดงออกนั้นไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง การถ่ายทอดภาษาด้วยการเคลือ่ นไหวของร่างกายนี้ ชาวสยามเราร้จู ักใชแ้ ละ เขา้ ใจกันมานานแล้ว จงึ ทาให้ภาษาการฟ้อนรานี้พัฒนาดว้ ยกระบวนการทางอารยะธรรมจนกลายเป็น “วจิ ติ รศิลป์” ดังนั้น อารยะชนผู้ทจ่ี ะสามารถเข้าใจในภาษาทา่ ทางเหล่าน้ีก็จะต้องทาความเขา้ ใจให้ตรงกับผูร้ า

เสียกอ่ น จึงจะสามารถดลู ะครราของไทย ทา่ ทางไม่เหมือนคนอ่ืน ลกั ษณะต่างๆ ของนาฏยศพั ท์ แบ่งตามการ เคลื่อนไหวสว่ นตา่ งๆ ของร่างกาย ไดแ้ ก่ ๑. สว่ นศีรษะ เอียง คอื การเอยี งศรี ษะ ต้องกลมกลนื กับไหลแ่ ละลาตวั ให้เปน็ เสน้ โค้ง ถา้ เอียงซา้ ยให้หน้าเบือนทางขวา เลก็ นอ้ ย ถา้ เอียงขวาให้หนา้ เบือนทางซ้ายเล็กน้อย ลักคอ คือ การเอยี งคนละข้างกบั ไหล่ที่กดลง ถ้าเอยี งซ้ายให้กดไหลข่ วา ถ้าเอียงขวาใหก้ ดไหลซ่ า้ ยเปดิ คาง คอื ไม่ก้มหน้า เปดิ ปลายคางและทอดสายตาตรงสูงเท่าระดบั ตาตนเองกดคาง คือ ไมเ่ ชดิ หน้าหรือเงย หนา้ มากเกนิ ไป ๒. สว่ นแขน วง คือ การเหยยี ดมอื ให้ตึงทั้งห้านวิ้ แต่นวิ้ หัวแมม่ อื หักเข้าหาฝ่ามือเล็กนอ้ ยการตั้งวงท่ีสวยงาม ต้องหกั ข้อมือเขา้ หาลาแขนบนให้มาก ทอดลาแขนใหส้ ่วนโคง้ พองาม และงอศอกเล็กน้อย ลงชื่อ.......................................................... ( นางกนกกาญจน์ แสงสุวรรณ) ตาแหน่ง ครู คศ.1 ผูจ้ ัดทาขอ้ ตกลงในการพัฒนางาน ….1……/……ตุลาคม…../…..2564…… ความเห็นของผู้อานวยการสถานศกึ ษา ( ) เห็นชอบให้เปน็ ข้อตกลงในการพฒั นางาน ( ) ไมเ่ ห็นชอบให้เปน็ ข้อตกลงในการพัฒนางาน โดยมขี ้อเสนอแนะเพ่ือนาไปแก้ไข และเสนอ เพ่ือพิจารณาอีกคร้ังดังน้ี ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ลงชอื่ ................................................................... (นายกัณต์ณพฒั น์ หมายมน่ั ) ตาแหน่ง ผู้อานวยการโรงเรยี นบา้ นดงหม้อทอง ................/.............../...................


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook