การท่ีระบบเครือข่ายมีบทบาทและความสาคัญเพิ่มข้ึน เพราะไมโครคอมพิวเตอร์ได้รับ การใช้งานอย่างแพร่หลาย จึงเกิดความต้องการท่ีจะเช่ือมต่อคอมพิวเตอร์เหล่านั้นถึงกับ เพ่ือเพิ่มขีด ความสามารถของระบบให้สูงขน้ึ เพ่ิมการใช้งานด้านตา่ ง ๆ และลดตน้ ทุนระบบโดยรวมลง มีการแบ่งใช้ งานอุปกรณแ์ ละข้อมูลตา่ ง ๆ ตลอดจนสามารถทางานร่วมกนั ได้ 1. แสดงความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกบั 1. บอกความหมายของระบบเครือข่ายได้ หลกั การของระบบเครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์ 2. สรุปพื้นฐานของการส่อื สารข้อมลู ได้ 3. เข้าใจบทบาทหนา้ ท่ีของหน่วยงานกาหนด 2. ตระหนักในความสาคัญของระบบ เครอื ข่ายคอมพิวเตอร์ มาตรฐานได้ 4. บอกหนา้ ทแ่ี ตล่ ะชนั้ สือ่ สารแบบจาลองOSI ได้ 1. ความหมายของระบบเครือขา่ ย 5. อธิบายความแตกตา่ งของเครือข่าย 2. พ้ืนฐานการสอ่ื สารข้อมูล 3. หนว่ ยงานกาหนดมาตรฐาน คอมพิวเตอร์แตล่ ะประเภทได้ 4. แบบจาลอง OSI สาหรบั เครอื ขา่ ย 6. บอกลักษณะการเช่ือมโยงเครือข่ายได้ 5. ประเภทของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 7. อธิบายรูปแบบการเชื่อมโยงเครอื ขา่ ยได้ 6. ลกั ษณะการเช่ือมโยงเครือขา่ ย 8. อธบิ ายความแตกต่างของสถาปตั ยกรรม 7. รปู แบบการเช่อื มโยงเครือข่าย 8. สถาปัตยกรรมเครือข่าย เครอื ข่ายได้ 9. โปรโตคอลควบคุมการเขา้ ถงึ สอ่ื กลาง 9. สรุปกลไกการทางานของโปรโตคอลควบคุม 10. ระบบเครือขา่ ยทอ้ งถน่ิ การเข้าถงึ สือ่ กลางได้ 10. เปรยี บเทียบความแตกตา่ งของระบบ เครือข่ายท้องถ่ินได้ 11. มกี ิจนิสัยในการทางานด้วยความเปน็ ระเบยี บ เรยี บร้อย ประณีตรอบคอบและปลอดภัย
26 คาช้ีแจง ให้ทำเครอื่ งหมำยกำกบำท () บนตวั เลอื กข้อท่ีถูกท่ีสุด 1. ข้อใด คือ ควำมหมำยของเครอื ข่ำยคอมพิวเตอรท์ ีถ่ กู ต้องท่ีสุด ก. การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เขา้ กันดว้ ยสายเคเบิล ข. การเชื่อมต่อคอมพวิ เตอรต์ ้ังแต่ 2 เครือ่ งขึ้นไปเข้าด้วยกัน ค. การเชื่อมต่อคอมพวิ เตอรต์ ้งั แต่ 2 เครอื่ งขน้ึ ไปเข้าด้วยกนั ด้วยสายไฟฟ้า ง. การเช่ือมตอ่ คอมพวิ เตอรต์ ั้งแต่ 2 เครอื่ งข้นึ ไปเข้าดว้ ยกนั ดว้ ยสายเคเบลิ 2. กำรเชื่อมโยงคอมพิวเตอรเ์ ข้ำดว้ ยกันทำให้เกิดประโยชนใ์ นดำ้ นใด ก. สะดวกและประหยดั คา่ ใช้จ่าย ข. เกดิ การทางานในลักษณะกลุ่มของเคร่อื งคอมพวิ เตอร์ และอปุ กรณค์ อมพวิ เตอร์ ค. ลดความซ้าซ้อนและสามารถกาหนดมาตรฐานการรักษาความปลอดภัยให้แก่แฟม้ ขอ้ มลู ง. ติดตอ่ ส่ือสารกบั เคร่ืองคอมพิวเตอร์อนื่ โดยอาศัยโปรแกรมสอ่ื สารทมี่ คี วามสามารถใชเ้ ป็น เคร่ืองคอมพิวเตอร์ได้เชน่ เดยี วกัน 3. ขอ้ ใดไมใ่ ช่องค์ประกอบของระบบกำรสื่อสำรขอ้ มลู ก. โมเด็ม ข. ผ้สู ่งสาร ค. สื่อกลาง ง. ข้อมูลข่าวสาร 4. สญั ญำณใดเปน็ สัญญำณทม่ี ักจะเกิดข้ึนตำมธรรมชำติ เปน็ สญั ญำณทีม่ คี วำมต่อเนอ่ื งไมไ่ ด้ เปลย่ี นแปลงอยำ่ งรวดเร็ว คือ สญั ญำณใด ก. สญั ญาณดิจิตอล ข. สัญญาณอนาล็อก ค. สัญญาณดาวเทยี ม ง. สัญญาณทวี ดี จิ ิตอล 5. ข้อใด คอื กำรส่งสัญญำณทำงเดยี ว ก. วิทยุสนาม ข. วทิ ยุสื่อสาร ค. โทรศัพทม์ ือถือ ง. วทิ ยุกระจายเสียง หนว่ ยที่ 1 หลกั การของระบบเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์
27 6. องคก์ รทจ่ี ัดมำตรฐำนท่ีรวบรวมเทคโนโลยตี ่ำง ๆ ของสหรฐั อเมรกิ ำ คือ สถำบันมำตรฐำนใด ก. OSI ข. ISO ค. IEEE ง. ANSI 7. หน่วยงำนท่สี ร้ำงข้อกำหนดมำตรฐำนบนระบบเครอื ข่ำย คอื หน่วยงำนใด ก. OSI ข. ISO ค. IEEE ง. ANSI 8. องค์กรทีส่ รำ้ งข้อกำหนดมำตรฐำนระบบเปิดข้ึนมำ คอื องค์กรใด ก. OSI ข. ISO ค. IEEE ง. ANSI 9. กำรจัดกำรติดต่อสื่อสำรข้ำมเน็ตเวิร์ตเป็นหน้ำที่ของโมเดลในข้อใด ก. Network Layer ข. Physical Layer ค. Application Layer ง. Presentation Layer 10. Repeater ทำงำนในระดับช้ันใด ก. Network Layer ข. Physical Layer ค. Application Layer ง. Presentation Layer 11. เครือขำ่ ยทเี่ ชื่อมโยงกันเฉพำะในเขตเมืองเดยี วกัน หรือใกลก้ ัน กลำ่ วถงึ เครอื ขำ่ ยใด ก. LAN ข. MAN ค. WAN ง. LMW 12. กำรเชอื่ มโยงระหวำ่ งเคร่ืองเทอร์มินอล หรอื คอมพิวเตอรเ์ พียง 2 เครอ่ื ง โดยผำ่ นทำงสำย สอื่ สำรเพยี งสำยเดยี วและควำมยำวของสำยไมจ่ ำกัดเป็นกำรเชอ่ื มโยงแบบใด ก. การเช่อื มโยงแบบจดุ ตอ่ จุด ข. รูปแบบการเชอื่ มโยงทั่วไป ค. การเชอื่ มโยงแบบหลายจดุ ง. รูปการเชอ่ื มโยงแบบหลายจุด หนว่ ยที่ 1 หลักการของระบบเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์
28 จงใชค้ าตอบตอ่ ไปนตี้ อบคาถามขอ้ 13- 15 ก. การเชอ่ื มต่อท่ีทุก ๆ work Station มาเช่ือมกันซึง่ มีลักษณะคลา้ ยวงกลม ข. การเชอ่ื มตอ่ ท่ีทุก ๆ work Station จะใช้สายในการเดนิ ทางข้อมลู ร่วมกัน ค. การเชอื่ มต่อท่ีทุก ๆ work Station มาเช่ือมต่อรวมกนั กบั อุปกรณ์ตัวกลาง ง. การเชอ่ื มต่อทท่ี ุก ๆ work Station มารวมกนั โดยใชร้ ปู แบบวธิ กี ารของข้อ ก ข ค มาตอ่ แบบ ผสมผสาน 13. กำรเช่อื มต่อเครือขำ่ ยแบบ Ring มีลกั ษณะกำรเชื่อมต่อแบบใด 14. กำรเช่ือมต่อเครอื ขำ่ ยแบบ Bus ลักษณะกำรเชอื่ มต่อแบบใด 15. กำรเช่ือมต่อเครือข่ำยแบบ Star ลกั ษณะกำรเชอ่ื มต่อแบบใด 16. เครือขำ่ ยชนิดใดไมจ่ ำเปน็ ตอ้ งมเี คร่อื งเชริ ฟ์ เวอร์ ก. อเี ทอร์เน็ต ข. เพยี ร์ทูเพยี ร์ ค. ไคลเอนต/์ เซริ ฟ์ เวอร์ ง. เครอื ขา่ ยแบบวงแหวน 17. เครือข่ำยชนดิ ใดมรี ะบบควำมปลอดภัยทีม่ ีประสทิ ธิภำพสงู ทีส่ ดุ ก. อเี ทอร์เนต็ ข. เพยี รท์ เู พียร์ ค. เครือขา่ ยแบบบสั ง. ไคลเอนต์/เซิร์ฟเวอร์ 18. เม่ือมีกลมุ่ ข้อมลู ชนกนั บนสำยสง่ จะต้องดำเนนิ กำรในขัน้ ตอนต่อไปอย่ำงไร ก. ทาอะไรไม่ได้ เน่ืองจากระบบจะแฮงก์ทันที ข. ตอ้ งรอสักครู่ ให้โหนดอ่ืนสง่ ข้อมลู ล่วงหน้าไปกอ่ น ค. โหนดทีช่ นกันจะสุ่มเวลาให้ตา่ งกัน และสง่ ขอ้ มลู รอบใหม่ ง. ต้องแจ้งใหผ้ ูบ้ ริการเครือขา่ ยรบั ทราบ เพื่อดาเนนิ การแก้ไขโดยทนั ที 19. เครอื ข่ำยอเี ทอร์เน็ตใดต่อไปนที้ เ่ี ช่อื มโยงบนระยะทำงไดไ้ กลที่สดุ ก. 10Base5 ข. 10Base2 ค. 10BaseT ง. Token Ring 20. เครอื ข่ำยอีเทอรเ์ นต็ ตำมมำตรฐำนใดต้องใช้กำรด์ เครือขำ่ ยที่มีซอกเกต็ แบบ RJ-45 ก. 10Base5 ข. 10Base2 ค. 10BaseT ง. Token Ring หน่วยที่ 1 หลกั การของระบบเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์
29 ข้อ คำตอบ ข้อ คำตอบ ขอ้ คำตอบ ขอ้ คำตอบ 1 ง 6 ง 11 ข 16 ข 2 ง 7 ค 12 ก 17 ง 3 ก 8 ข 13 ก 18 ค 4 ข 9 ก 14 ข 19 ก 5 ง 10 ข 15 ค 20 ค หน่วยท่ี 1 หลักการของระบบเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์
30 การที่ระบบเครือข่ายมีบทบาทและความสาคัญเพ่ิมขึ้น เพราะไมโครคอมพวิ เตอร์ได้รบั การใช้ งานอย่างแพร่หลาย จึงเกิดความต้องการท่ีจะเช่ือมต่อคอมพิวเตอร์เหล่านั้นถึงกับเพ่ือเพ่ิมขีด ความสามารถของระบบใหส้ ูงข้ึน เพ่ิมการใช้งานด้านตา่ ง ๆ และลดต้นทุนระบบโดยรวมลง มีการแบ่ง ใช้งานอุปกรณ์และขอ้ มลู ต่าง ๆ ตลอดจนสามารถทางานร่วมกนั ได้ สิ่งสาคัญที่ทาให้ระบบข้อมูลมีขีดความสามารถเพ่ิมข้ึน คือ การโอนย้ายข้อมูลระหว่างกัน และการเช่ือมต่อหรือการส่ือสาร การโอนย้ายข้อมูลหมายถึงการนาข้อมูลมาแบ่งกันใช้งาน หรือการ นาข้อมูลไปใช้ประมวลผลในลักษณะแบ่งกันใช้ทรัพยากร เช่น แบ่งกันใช้ซีพียู แบ่งกันใช้ฮาร์ดดิสก์ แบ่งกันใช้โปรแกรม และแบ่งกันใช้อุปกรณ์อื่น ๆ ที่มีราคาแพงหรือไม่สามารถจัดหาให้ทุกคนได้ การ เช่ือมต่อคอมพิวเตอร์เป็นเครือข่ายจึงเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้งานให้กว้างขวางและมากขึ้น จากเดิมการเชื่อมต่อในความหมายของระบบเครือข่ายท้องถ่ิน ไม่ได้จากัดอยู่ที่การเชื่อมต่อระหว่าง เครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ แต่ยังรวมไปถึงการเชือ่ มต่ออปุ กรณ์รอบข้าง เทคโนโลยที ่ีกา้ วหน้าทาให้การ ทางานเฉพาะมีขอบเขตกว้างขวางย่ิงขึ้น มีการใช้เครื่องบริการแฟ้มข้อมูลเป็นที่เก็บรวบรวม แฟ้มข้อมูลต่างๆ มีการทาฐานข้อมูลกลาง มีหน่วยจัดการระบบส่ือสารหน่วยบริการใช้เครื่องพิมพ์ หน่วยบริการการใช้ซีดี หน่วยบริการปลายทาง และอุปกรณ์ประกอบสาหรบั ต่อเข้าในระบบเครอื ข่าย เพื่อจะทางานเฉพาะเจาะจงอย่างใดอย่างหน่ึง ในรูป เป็นตัวอย่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ท่ีจัดกลุ่ม เชื่อมโยงเปน็ ระบบ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network) คือ กลุ่มของคอมพิวเตอร์จานวนตั้งแต่สอง เครื่องขึ้นไป และอปุ กรณ์ต่าง ๆ ที่ถูกนามาเชื่อมต่อกัน เพื่อใหผ้ ู้ใช้ในเครือข่ายสามารถติดตอ่ สื่อสาร แลกเปลย่ี นข้อมูล และใช้อุปกรณต์ า่ ง ๆ ในเครอื ข่ายร่วมกันได้ เครอื ข่ายนั้นมหี ลายขนาด ต้ังแต่ขนาด เล็กท่ีเชื่อมต่อกันดว้ ยคอมพวิ เตอร์เพียงสองสามเคร่ืองเพ่ือใชง้ านในบา้ น หรือในบรษิ ัทเล็ก ๆ ไปจนถึง เครอื ขา่ ยขนาดใหญท่ ี่เชอื่ มต่อกนั ทว่ั โลก เรียกวา่ เครือข่ายอนิ เทอร์เนต็ ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network System) หมายถึง การเช่ือมต่อ คอมพิวเตอรต์ ั้งแต่ 2 เครอ่ื งขึ้นไปเข้าดว้ ยกันด้วยสายเคเบิล หรือสื่ออ่ืน ๆ ทาให้คอมพิวเตอร์สามารถ รับส่งข้อมลู กนั ได้ หน่วยท่ี 1 หลักการของระบบเครอื ข่ายคอมพิวเตอร์
31 รูปท่ี 1.1 ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ท่มี า : นายยุทธวิธ ชูสวน พ.ศ. 2560 ระบบเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์หนง่ึ เครือข่ายจะมีการทางานรวมกันเป็นกลุ่มท่ีเรียกวา่ กลุ่มงาน (Workgroup) แต่เมื่อเชื่อมโยงหลาย ๆ กลุ่มงานเข้าด้วยกัน ก็จะเป็นเครือข่ายขององค์กร และถ้า เช่อื มโยงระหว่างองคก์ รก็จะไดเ้ ครอื ข่ายขนาดใหญข่ ึน้ การประยุกต์ใช้งานเครือข่ายคอมพิวเตอร์เป็นไปอย่างกว้างขวางและสามารถใช้ประโยชน์ได้ มากมาย ทั้งน้ีเพราะระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทาให้เกิดการเชื่อมโยงอุปกรณ์ต่าง ๆ เข้าด้วยกัน และส่อื สารข้อมลู ระหว่างกันได้ ประโยชนข์ องระบบเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์ มีดงั น้ี 1. ทาใหเ้ กดิ การทางานร่วมกันเป็นกลุ่มและสามารถทางานพร้อมกนั 2. สามารถใช้ขอ้ มูลตา่ ง ๆ ร่วมกนั ซงึ่ ทาให้องค์การไดร้ บั ประโยชนม์ ากขึ้น 3. สามารถใช้ทรัพยากรได้คุ้มค่า เช่น ใช้เคร่ืองประมวลผลร่วมกันแบ่งกันใช้แฟ้มข้อมูลใช้ เครอ่ื งพมิ พแ์ ละอปุ กรณ์ที่มรี าคาแพงรว่ มกนั 4. ลดต้นทุนเพราะการลงทุนสามารถลงทุนใหเ้ หมาะสมกบั หนว่ ยงานได้ 5. สามารถขยายอาณาเขตในการสื่อสารข้อมูลได้ ครอบคลุมกว้างไกลย่ิงข้ึนจากเครือข่าย ขนาดเล็กท่ีเชื่อมต่อกันด้วยคอมพิวเตอร์เพียงสองสามเคร่ืองภายในหน่วยงาน หรือบริษัทเล็ก ๆ ไป จนถึงเครือข่ายท่ีเช่ือมต่อคอมพิวเตอร์นับล้าน ๆ เครื่องทั่วโลก ครอบคลุมไปเกือบทุกประเทศท่ีรู้จัก กนั ดี คอื เครอื ขา่ ยอนิ เทอรเ์ น็ตซึ่งเป็นเครอื ข่ายทีใ่ หญ่ที่สดุ ในโลก 6. ช่วยลดความซ้าซ้อนและสามารถกาหนดมาตรฐานการรักษาความปลอดภัยให้กับ แฟม้ ขอ้ มูลต่าง ๆ ได้สะดวก หนว่ ยที่ 1 หลกั การของระบบเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์
32 การส่ือสาร (Communication) คือ กระบวนการแลกเปล่ียนข่าวสารเกิดขึ้นโดยการ ถา่ ยทอดขอ้ มูลขา่ วสารจากบคุ คลฝ่ายหนึ่งซ่ึงทาหน้าท่ีส่งสารผ่านสอ่ื หรือช่องทางต่าง ๆ ไปยังผู้รบั สาร โดยมี วตั ถปุ ระสงคอ์ ย่างใดอยา่ งหน่ึง องค์ประกอบหลักของการสื่อสารมี 5 ส่วนได้แก่ ผู้ส่งสาร (Sender) ผู้รับสาร (Receiver) ขอ้ มูลขา่ วสาร (Message) สอ่ื กลาง (Media) และโปรโตคอล (Protocol) 3 ข้อมลู ขำ่ วสำร (Message) 1 ผสู้ ่งสำร (Sender) 5 โปรโตคอล 2 ผ้รู บั สำร (Receiver) (Protocol) 4 ส่ือกลำง (Media) รูปท่ี 1.2 องคป์ ระกอบของการสอ่ื สาร ทมี่ า : นายยทุ ธวิธ ชูสวน พ.ศ. 2560 ผู้ส่งสาร คือ คนหรืออุปกรณ์ที่ใช้สาหรับส่งข้อมูลข่าวสารซึ่งอาจเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ โทรศพั ท์ กลอ้ งวดี ที ัศน์ เป็นตน้ ผู้รับสาร คือ บุคคล หรือกลุ่มบุคคล ท่ีรับเร่ืองราวข่าวสาร จากผู้ส่งสารและแสดงปฏิกิริยา ตอบกลับต่อผู้ส่งสารหรือสง่ สารต่อไปถงึ ผรู้ ับสารคนอื่น ๆ ตามจุดมุ่งหมายของผ้สู ่งสาร เชน่ ผู้เขา้ ร่วม ประชุม ผ้ฟู ังรายการวทิ ยุ กลุม่ ผฟู้ ัง การอภิปราย ผู้อา่ นบทความจากหนงั สือพมิ พ์ เปน็ ตน้ ข้อมูลข่าวสาร คือ ข้อมูลหรือสารสนเทศต่าง ๆ ที่ต้องการส่งไปยังผู้รับโดยข้อมูลข่าวสาร ประกอบด้วย ขอ้ ความ ตัวเลข รปู ภาพ เสยี ง วดี ที ศั น์ หรือสื่อประสม สื่อกลาง คือ ส่งิ ท่ีทาหนา้ ทใี่ นการรับสง่ ข้อมลู ข่าวสารไปยังจดุ หมายปลายทาง โดยส่ือกลางใน การส่งข้อมูลจะมที ้ังแบบมีสาย เช่น สายเคเบิล สายยูทีพี สายไฟเบอร์ออฟติก และสื่อกลางในการส่ง ขอ้ มลู แบบไรส้ าย เชน่ คลน่ื วิทยุ ไมโครเวฟ และดาวเทียม เปน็ ตน้ โปรโตคอล คือ กฎเกณฑ์ ระเบียบ หรือข้อปฏิบัติต่าง ๆ ที่กาหนดข้ึนมาเพื่อเป็นข้อตกลงใน การสื่อสารขอ้ มลู ระหว่างผู้รับ และผูส้ ่ง หนว่ ยท่ี 1 หลักการของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
33 1.2.1 ประเภทของสัญญำณในกำรสื่อสำร ขอ้ มลู อาจจะเปน็ ข้อความ เสยี ง หรือ ภาพเคลอ่ื นไหว ซง่ึ ไม่สามารถสง่ ไปในระยะทางไกลด้วยความเรว็ สูง ดังน้ันข้อมลู จะต้องถูกแปลงเปน็ สญั ญาไฟฟ้าท่ีเรยี กวา่ สัญญาณขอ้ มลู (Data Signal) ทาให้สามารถสง่ ผา่ นสอ่ื ไปได้ในระยะทางไกล ดว้ ยความเร็วสูง ขอ้ มูลจะถกู แปลงเป็นสัญญาณข้อมลู ได้ 2 ประเภท ดังนี้ 1.2.1.1 สัญญาณอนาล็อก (Analog Signal) สามารถเขียนแทนได้ด้วยรูปกราฟ คล่ืนไซน์ (Sine Wave) ลักษณะเป็นสัญญาณแบบต่อเนื่อง ข้อเสียของสัญญาณแบบอนาล็อก คือ สัญญาณถูกรบกวนได้ง่ายทาให้เกิดข้อผิดพลาดในการรับส่งข้อมูล เม่ือต้องส่งข้อมูลออกไปในระยะ ทางไกลระดับของสัญญาณจะอ่อนลงและมีสัญญาณรบกวน ดังน้ันจึงต้องมีเครื่องทวนสัญญาณเพื่อ เพิ่มระดบั สัญญาณและส่งต่อไป เช่น สัญญาณเสียงในสายโทรศัพท์ สัญญาณเสียงท่ีส่งจากสถานีวิทยุ เป็นต้น ระดบั สญั ญำณ เวลำ รปู ท่ี 1.3 สัญญาณอนาลอ็ ก ที่มา : นายยุทธวิธ ชสู วน พ.ศ. 2560 1.2.1.2 สัญญาณดิจิตอล (Digital Signal) สามารถเขียนแทนด้วยกราฟส่ีเหล่ียม (Square Graph) เป็นสัญญาณแบบไม่ต่อเน่ือง กล่าวคือ มีบางช่วงที่ระดับสัญญาณเป็น 0 การแปลง ข้อมูลให้อยู่ในรูปของสัญญาณดิจิตอลต้องทาการแปลงข้อมูลให้ข้อมูลเป็นแบบดิจิตอลก่อน น่ันคือ ตอ้ งแปลงข้อมูลให้อย่ใู นรปู แบบเลขฐานสอง คือ 0 และ 1 แล้วทาการแปลงข้อมูลน้ันให้เป็นสัญญาณ ดิจิตอล ระดับสญั ญำณ 1 0 1 1 0 01 เวลำ รปู ที่ 1.4 สัญญาณดจิ ิตอล ทีม่ า : นายยุทธวิธ ชูสวน พ.ศ. 2560 หน่วยที่ 1 หลักการของระบบเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์
34 1.2.2 กำรสง่ สัญญำณข้อมูล หมายถงึ การส่งข้อมลู จากเครอ่ื งสง่ หรือผู้สง่ ผ่านส่ือกลางไป ยังเครอ่ื งรบั หรือผ้รู ับ สญั ญาณทใ่ี ช้สง่ ก็ไดแ้ ก่ สัญญาณคลื่นแมเ่ หลก็ ไฟฟ้า สญั ญาณเสยี ง หรอื แสงก็ได้ 1.2.2.1 แบบซิมเพล็กซ์ (Simplex) การส่งสัญญาณข้อมูลแบบซิมเพล็กซ์ เป็นการ สื่อสารแบบทางเดียว เน่อื งจากมีทศิ ทางในการสือ่ สารแบบทศิ ทางเดียว เมอ่ื ฝ่ายหน่งึ ทาหน้าทเี่ ปน็ ผสู้ ่ง เเละในเวลาเดยี วกนั อีกฝ่ายหนงึ่ ทาหน้าที่เปน็ ผู้รบั โดยไม่สามารถส่งข้อมลู ย้อนกลับมาได้ ตวั อยา่ งเช่น การกระจายเสยี งของสถานวี ิทยุ หรือการแพร่ภาพทางโทรทศั น์ Simplex รูปที่ 1.5 การส่งสญั ญาณข้อมลู แบบซิมเพลก็ ซ์ ที่มา : นายยุทธวธิ ชูสวน พ.ศ. 2560 1.2.2.2 แบ บ ฮาล์ ฟ ดู เพ ล็ ก ซ์ (Half Duplex) ก ารส่ งสั ญ ญ าณ ข้ อ มู ล แ บ บ ฮาล์ฟดูเพลก็ ซ์เป็นการสอ่ื สารแบบทางใดทางหน่ึง เป็นรูปแบบการสื่อสารที่ท้ังสองฝ่ายสามารถเป็นได้ ท้ังผสู้ ่งและผู้รบั แต่ทิศทางทางการสือ่ สารจะส่งสญั ญาณขอ้ มูลผา่ นทางช่องสญั ญาณเพียงช่องเดยี ว ใช้ วธิ ีการสลับกันส่งข้อมูลโดยท้ังผู้ส่งและผู้รับไม่สามารถส่งข้อมูลได้พร้อมกัน เมื่อฝ่ายใดเป็นผู้ส่งข้อมูล จะต้องกดสวิตซ์ เพื่อขอเปลี่ยนสถานะของตนเองเป็นผู้สง่ ข้อมูลและอีกฝ่ายก็จะถกู เปลี่ยนสถานะเป็น ผ้รู บั ขอ้ มลู ทันที ตัวอยา่ งเชน่ วทิ ยุส่อื สาร Half Duplex รูปท่ี 1.6 การส่งสญั ญาณข้อมูลแบบฮาล์ฟดูเพลก็ ซ์ ท่ีมา : นายยุทธวธิ ชูสวน พ.ศ. 2560 1.2.2.3 แบบฟูลดูเพล็กซ์ (Full Duplex) การส่งสัญญาณข้อมูลแบบฟูลดูเพล็กซ์ เปน็ การส่ือสารแบบสองทาง เปน็ ทศิ ทางการส่ือสารทสี่ ามารถส่งขอ้ มูลได้สองทางในเวลาเดียวกัน โดย ท้ังฝ่ายผู้รับและฝ่ายผู้ส่งสามารถส่ือสารร่วมกันได้ โดยที่คู่สนทนาสามารถพูดคุยโต้ตอบกันได้ในเวลา เดียวกัน ไม่ต้องกดสวิตซ์เพื่อแลกเปลี่ยนสถานะก่อนที่จะสื่อสาร ตัวอย่างเช่น การสนทนาทาง โทรศัพท์ หน่วยท่ี 1 หลักการของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
35 Full Duplex รูปท่ี 1.7 การส่งสญั ญาณขอ้ มูลแบบฟูลดูเพลก็ ซ์ ที่มา : นายยทุ ธวธิ ชูสวน พ.ศ. 2560 หน่วยงานกาหนดมาตรฐาน เป็นหน่วยงานที่ก่อต้ังข้ึนจากแนวคิดท่ีต้องการให้ผู้บริโภค สามารถเลือกซื้อผลิตภัณฑ์เครือข่ายท่ีมาจากบริษัทผู้ผลิตต่าง ๆ มาใช้งานร่วมกันได้ โดยปกติแล้ว ผลิตภัณฑ์หรืออุปกรณ์เครือข่ายทั่วไปสามารถผลิตข้ึนโดยบริษัทผู้ผลิตมากมายและหากผู้ผลิตได้ พัฒนาผลิตภัณฑ์เป็นไปตามข้อกาหนดเกณฑ์มาตรฐานแล้ว เม่ือผู้บริโภคซื้อผลิตภัณฑ์ต่างย่ีห้อแล้วก็ สามารถมาใช้งานร่วมกันได้ เนื่องจากอุปกรณ์เหล่านั้นได้ผลิตตามมาตรฐานสากลน่ันเอง ในที่น้ีขอ กล่าวถึงหน่วยงานสาคญั ๆ ซึ่งประกอบด้วย 1.3.1 องค์ ก รก ำห น ด ม ำต รฐำน ระห ว่ำงป ระเท ศ (International Standards Organization : ISO) เป็นมาตรฐานอุตสาหกรรม ที่ประกอบไปด้วยมาตรฐานครอบคลุมอยู่หลาย สว่ นดว้ ยกนั แต่สาหรับมาตรฐานด้านเครอื ขา่ ยแล้ว หน่วยงาน ISO ได้มกี ารสรา้ งข้อกาหนดมาตรฐาน ระบบเปิดขึ้นมาท่ีเรียกว่า OSI (Open Systems interconnection) หรือเรียกแบบจาลอง OSI ทีใ่ ช้ เปน็ มาตรฐานระบบเปดิ สาหรบั การสอ่ื สารบนเครอื ขา่ ย 1.3.2 สถำบันมำตรฐำนแห่งชำติสหรัฐอเมริกำ (American National Standards Institute : ANSI) หน่วยงาน ANSI (อ่านว่า “แอน-ซี”) ประกอบไปด้วยกลุ่มสมาชิกที่มาจากหลาย กลุ่มด้วยกัน ทั้งภาคอุตสาหกรรม หน่วยงานรัฐบาล สถาบันการศึกษา หน่วยงานวิจัย และกลุ่ม ผู้บริโภคทั่วไป หน่วยงาน ANSI เป็นหน่วยงานท่ีก่อตั้งขึ้นโดยไม่มุ่งแสวงผลกาไร ตัวอย่างมาตรฐาน ของ ANSI ที่กาหนดขึ้นมา เช่น มาตรฐาน ANSI-COBOL, ANSI-C และข้อกาหนดมาตรฐานการ สื่อสารเครือข่ายแบบ FDDI บนเครือข่ายท้องถนิ่ เป็นตน้ 1.3.3 สถำบันอิเล็กทรอนิกส์และวิศวกรรมไฟฟ้ ำ (Institute of Electrical and Electronics Engineers : IEEE) หน่วยงาน IEEE (อ่านว่า “ไอ-ทริปเปิล-อี”) เป็นอีกหน่วยงานหนึ่ง ท่ีได้สร้างข้อกาหนดมาตรฐานบนระบบเครือข่ายหลายมาตรฐานด้วยกัน IEEE เป็นหน่วยงานขนาด ใหญท่ ี่ประกอบด้วยกลุ่มผเู้ ชยี่ วชาญมากมาย โดยเฉพาะผูเ้ ชย่ี วชาญด้านงานวศิ วกรรม หนา้ ท่ีหลักของหน่วยงานน้ี คอื การกาหนดทฤษฎี การสร้างข้อกาหนดของตัวผลติ ภณั ฑ์ เพ่ือ นามาใช้กับซอฟต์แวร์และอุปกรณ์มาตรฐานบนช้ันสื่อสารทางกายภาพและช้ันส่ือสารการเช่ือมต่อ ข้อมลู โดยตอ่ ไปนเี้ ป็นโครงการย่อยตา่ ง ๆ ของมาตรฐานเครือข่าย IEEE หมายเลข 802 หนว่ ยท่ี 1 หลักการของระบบเครอื ข่ายคอมพิวเตอร์
36 1.3.3.1 IEEE 802.1 (Higher Layer LAN Protocols) มาตรฐาน ด้าน โป รโตคอลบ น เครือข่ายท้องถน่ิ 1.3.3.2 IEEE 802.2 (Logical Link Control) มาตรฐานฟังก์ช่ันและโปรโตคอล LLC บน เครอื ข่ายท้องถิน่ 1.3.3.3 IEEE 802.3 (CSMA/CD หรือ Ethernet) มาตรฐานเครอื ข่ายอเี ทอรเ์ น็ต 1.3.3.4 IEEE 802.3u (Fast Ethernet) มาตรฐานเครอื ข่ายอเี ทอร์เนต็ ความเรว็ สงู 1.3.3.5 IEEE 802.3as (Gigabit Ethernet) มาตรฐานเครือข่ายกกิ ะบิตอเี ทอร์เนต็ 1.3.3.6 IEEE 802.4 (Token Bus) มาตรฐานเครือขา่ ยโทเคน็ บสั 1.3.3.7 IEEE 802.5 (Token Ring) มาตรฐานเครอื ข่ายโทเคน็ ริง 1.3.3.8 IEEE 802.6 (Metropolitan Area Network: MAN) มาตรฐานเครือขา่ ยระดบั เมอื ง 1.3.3.9 IEEE 802.7 (Broadband LAN) มาตรฐานบรอดแบนด์บนเครือข่ายท้องถิน่ 1.3.3.10 IEEE 802.8 (Fiber Optic) มาตรฐานเครือข่ายใยแก้วนาแสง 1.3.3.11 IEEE 802.9 (Integrated Services) มาตรฐานการรวมบริการข้อมูลและเสียง รว่ มกัน 1.3.3.12 IEEE 802.10 (LAN/MAN Security) มาตรฐานระบบความปลอดภัยบนเครือข่าย ท้องถน่ิ และเครือขา่ ยระดับเมือง 1.3.3.13 IEEE 802.11 (Wireless LAN) มาตรฐานเครือขา่ ยไรส้ าย 1.3.3.14 IEEE 802.11a ความเรว็ 54 เมกะบิตตอ่ วนิ าที ท่ีคลื่นความถ่ี 5 กิกะเฮิรตซส์ าหรับ ในประเทศไทยถกู ระงบั ใช้ เนื่องจากได้จัดสรรคลืน่ ความถน่ี ี้ เพ่ือใช้งานมากอ่ นหนา้ น้นั แล้ว 1.3.3.15 IEEE 802.11b (WI-FI) เครือข่ายแลนไรส้ ายทไ่ี ด้รบั ความนยิ มสงู มีความเร็วในการ ส่งขอ้ มลู ที่ 11 เมกะบิตต่อวินาที โดยคลื่นความถ่ีชว่ ง 2.4 กิกะเฮิรตซ์ 1.3.3.16 IEEE 802.11g เครือข่ายแลนไร้สายท่ีได้พัฒนาจาก IEEE 802.11b มีความเร็วที่ 54 เมกะบิตตอ่ วินาที บนคลื่นความถ่ี 2.4 กกิ ะเฮิรตซ์ กระบวนการส่ือสารข้อมูลบนเครือข่ายจาเป็นต้องมีมาตรฐานในการส่ือสาร ซึ่งมาตรฐาน ดงั กลา่ วจะครอบคลุมเรื่องการรับส่งข้อมูล การเขา้ รหัส การตรวจจับข้อมูลผิดพลาด ดังนั้นหน่วยงาน กาหนดมาตรฐาน หรือท่ีเรียกสั้น ๆ ว่า ISO ซึ่งเป็นหน่วยงานหน่ึงที่มีบทบาทสาคัญต่อการกาหนด มาตรฐานสากล ได้มีการกาหนดระบบเปิดท่ีเรียกว่าแบบจาลอง OSI เพ่ือใช้สาหรับเป็นแบบจาลอง เพอื่ การอา้ งอิงบนเครือขา่ ยตามมาตรฐานสากล หนว่ ยท่ี 1 หลกั การของระบบเครอื ข่ายคอมพิวเตอร์
37 จุดประสงค์ของแบบจาลอง OSI ก็ เพ่ืออนุญาตให้ระบบที่มีความแตกต่างกันสามารถส่ือสาร กันได้ กลา่ วคือ แบบจาลอง OSI จะอนุญาตให้ระบบคอมพิวเตอร์ทม่ี ีความแตกตา่ งกันสามารถส่อื สาร ร่วมกันได้และที่สาคัญ แบบจาลอง OSI จัดเป็นแบบจาลองท่ีออกแบบมาเพ่ือสร้างความเข้าใจใน สถาปัตยกรรมเครอื ข่ายนามาประยกุ ตใ์ ชใ้ นระบบการสอ่ื สารระดับสากลภายใต้มาตรฐานเดียวกนั ทว่ั โลก แบบจาลอง OSI มีการแบ่งการทางานอกเป็นลาดับช้ัน ท่ีเรียกว่าช้ันส่ือสาร (Layer) แต่ละ ช้ันสื่อสารจะมีภาระหน้าท่ีท่ีต้องรับผิดชอบแตกต่างกัน แนวคิดของการแบ่งเป็นช้ันสื่อสารมีเหตุผล สาคัญดงั น้ี 1. การแบง่ ออกเปน็ ช้นั สอื่ สารกเ็ พือ่ ลดความซับซ้อน ทาให้ง่ายต่อการทาความเข้าใจ 2. เพอ่ื ใหแ้ ต่ละชนั้ สือ่ สารจาแนกบทบาทหนา้ ทท่ี ช่ี ัดเจนและแตกต่างกนั 3. เพอ่ื ให้แตล่ ะชน้ั สอื่ สารปฏบิ ตั งิ านตามหน้าท่ที ีไ่ ดร้ บั มอบหมายเทา่ น้นั 4. เพอ่ื ให้การทางานในแต่ละชั้นสอื่ สารสอดคล้องกบั มาตรฐานสากล 5. เพ่ือป้องกันกรณีที่มีการเปล่ียนแปลงข้อมูลบนบนชั้นสื่อสารหน่ึง ๆ ไม่ให้เกิดผลกระทบ ตอ่ ชน้ั สอ่ื สารในลาดับอ่ืน ๆ 6. จานวนชนั้ สอ่ื สารตอ้ งมจี านวนเหมาะสมเพยี งพอต่อการจาแนกหนา้ ท่ี ไมม่ ากหรอื นอ้ ยเกินไป รปู ท่ี 1.8 แบบจาลอง OSI ทีป่ ระกอบไปด้วยชนั้ สื่อสาร 7 ชั้น ทม่ี า : นายยุทธวิธ ชูสวน พ.ศ. 2560 ชั้นท่ี 1 ชั้นส่ือสำรทำงกำยภำพ (Physical Layer) จะมีหน้าท่ีเกี่ยวข้องกับคุณลักษณะ ทางกายภาพด้านการส่ือสารระหว่างอุปกรณ์ ด้วยการกาหนดวิธีควบคุมการรับส่งข้อมูลระหว่าง เครื่องคอมพิวเตอรใ์ นระดบั บติ จะต้องใช้แรงดันไฟฟ้าเท่าใด ใช้สายเคเบิลชนิดใดในการรับสง่ สัญญาณ การส่งข้อมูลเป็นแบบทิศทางเดียวหรือสองทิศทางจะต้องเริ่มต้นติดต่อหรือสิ้นสุดการติดต่ออย่างไร รวมถึงลกั ษณะการเชอ่ื มต่ออปุ กรณภ์ ายในเครือขา่ ย เปน็ ต้น หน่วยที่ 1 หลักการของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
38 ชั้นท่ี 2 ชนั้ สื่อสำรเช่ือมต่อข้อมูล (Data Link Layer) เป็นชั้นสื่อสารที่รวบรวมข้อมูลจาก ชั้นสื่อสารทางกายภาพ ด้วยการกาหนดรูปแบบของข้อมูลท่ีส่งผ่านภายในเครือข่ายให้อยู่ในรูปแบบ ของ เฟรม (Frame) ทั้งน้ีจะรวมถึงวิธีหรือกลไกในการตรวจสอบความถูกตอ้ งของขอ้ มูลดว้ ย กล่าวคือ การสง่ ขอ้ มูลในเครอื ขา่ ย ขอ้ มลู ท่ถี กู สง่ ไปมีโอกาสที่จะสูญหายหรือมคี วามเสียหายบางส่วนได้ ดังนั้นช้ันส่ือสารเชื่อมต่อข้อมูลน้ีจะดาเนินการตรวจสอบความผิดปกติเหล่าน้ีได้ โดยหากพบ ความผิดปกติข้ึนก็จะแจ้งข้อมูลกลับไปยังผู้ส่งให้รับทราบ เพ่ือส่งข้อมูลชุดเดิมซ้ากลับมาใหม่ แต่ อยา่ งไรก็ตาม การส่งข้อมูลซ้ากลับมาใหมใ่ นบางครง้ั อาจทาใหเ้ กิดข้อมูลชุดเดียวกันซา้ กนั ถงึ 2 เฟรมก็ ได้ เนอื่ งจากชุดขอ้ มลู ท่ีส่งไปครั้งแรกความจรงิ แล้วอาจไม่ไดส้ ูญหายไปไหน แตอ่ าจเกดิ ปญั หาระหว่าง การเดินทางส่งผลให้ต้องใช้เวลาเดินทางไปยังจุดหมายปลายทางมากกว่าปกติทั่วไป ดังน้ันกรณีที่ คน้ พบข้อมูลชดุ เดียวกนั ซา้ ถงึ 2 เฟรม ก็จะตอ้ งมกี ลไกในการกาจัดเฟรมข้อมูลซ้าซ้อนเหลา่ นี้ออก ช้ันที่ 3 ช้ันส่ือสำรควบคุมเครือข่ำย (Network Layer) จะทาหน้าที่จัดการกับรูปแบบ ข้อมูลท่ีเรียกว่า แพ็กเก็ต (Packet) ท่ีจัดส่งไปยังจุดหมายปลายทางที่ประกอบไปด้วยเครือข่ายย่อย ตา่ ง ๆ จานวนมากมาย โดยมีวัตถุประสงค์คือ จะต้องมีการวางเส้นทางเดินของข้อมูลจากต้นทางไปยัง ปลายทางอย่างไร เพอื่ ให้โหนดทที่ าหนา้ ส่งขอ้ มูล สมารถส่งข้อมลู ไปยังโหนดปลายทางได้ในทส่ี ดุ ช้ันท่ี 4 ช้ันสื่อสำรเพ่ือนำส่งข้อมูล (Transport Layer) เป็นชั้นสื่อสารท่ีทาหน้าท่ี ตรวจส อบข้อมูล ท้ังหมดที่มีการรับ ส่งกันระหว่างโห นดต้นทางจนกระทั่งถึงโหนดปลายทาง ด้ว ย การรับประกันว่าข้อมูลจะถูกส่งไปถึงมือผู้รับอย่างแน่นอน และอาจจาเป็นต้องมีการส่งข้อมูลใหม่ใน กรณีทีเ่ กดิ ขอ้ ผิดพลาดข้ึน ช้ันที่ 5 ชั้นสื่อสำรควบคุมหน้ำต่ำงส่ือสำร (Session Layer) ช้ันส่ือสารน้ีจะดูแลและ จดั การการเช่ือมต่อกับอุปกรณ์ปลายทาง โดยเริ่มต้ังแต่การสร้างคอนเน็กช่ัน เพื่อการติดต่อส่ือสารไป จนกระทั่งยุติการสารส่ือด้วยการยกเลิกคอนเน็กช่ันระหว่างอุปกรณ์ที่เช่ือมโยงระหว่างกัน อย่างไรก็ ตาม หากการสื่อสารในชั้นนี้เกิดความล้มเหลวขึ้นมา ย่อมทาให้ข้อมูลเสียหาย ดังน้ันจึงจาเป็นต้อง เร่ิมต้นการทางานรอบใหม่บนหน้าต่างสื่อสารนั้น ตัวอย่างเช่น มีการเปิดหน้าต่างสื่อสารเพื่อการถ่าย โอนข้อมูลระหว่างต้นทางไปยังปลายทาง หากเกิดการส่งข้อมูลล้มเหลวไปกลางคัน ก็อาจจาเป็นต้อง ยกเลิกหน้าตา่ งส่ือสารน้ัน และเปิดหนา้ ตา่ งสอ่ื สารใหมเ่ พ่อื ดาเนินการถา่ ยโอนขอ้ มูลกนั รอบใหม่ ช้ันที่ 6 ชั้นส่ือสำรนำเสนอข้อมูล (Presentation Layer) จะดาเนินการแปลงรูปแบบ ข้อมูลท่ีได้รับมาจากช้ันสื่อสารการประยุกต์ ซ่ึงเกี่ยวข้องกับรหัสแทนข้อมูลท่ีอาจมาจากระบบ คอมพิวเตอร์ท่ีมีแพลตฟอร์มที่แตกต่างกัน เช่น เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ใช้รหัสแทนข้อมูล แบบ EBCDIC ในขณะท่ีเคร่ืองพีซีคอมพิวเตอร์ใช้รหัสแทนข้อมูลแบบ ASCII ดังนั้นช้ันส่ือสารนี้จะ ดาเนินการจัดการ เพื่อให้ท้ังสองฝั่งสามารถเข้าใจความหมาย และรับทราบข้อมูลท่ีตรงกัน ถึงแม้ คอมพวิ เตอรท์ ่ีสอื่ สารกันจะใช้รหัสแทนขอ้ มลู ทีแ่ ตกตา่ งกันก็ตาม ชั้นที่ 7 ชั้นสื่อสำรกำรประยุกต์ (Application Layer) เป็นช้ันสื่อสารที่เกี่ยวข้องกับ การทางานของโปรแกรมประยุกต์ต่าง ๆ ท่ีใช้สาหรับการติดต่อสื่อสาร ผู้ใช้งานสามารถใช้โปรแกรม ประยุกต์ต่าง ๆ เพ่ือเข้าถึงเครือข่าย โดยจะมีอินเตอร์เฟสเพื่อให้การโต้ตอบกันระหว่างผู้ใช้งานกับ คอมพิวเตอร์ทส่ี ่ือสารกันจะใช้รหัสแทนข้อมูลทแ่ี ตกตา่ งกนั ก็ตาม หนว่ ยท่ี 1 หลกั การของระบบเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์
39 หลังที่ได้ทราบถึงภาระหน้าท่ีของช้ันสื่อสารทั้ง 7 บนแบบจาลอง OSI แล้ว พบว่าช้ันส่ือสาร ในแต่ละชั้นแบบจาลอง OSI น้ันมีบทบาทหน้าท่ีค่อนข้างชัดเจน ซึงไม่ได้แตกต่างจากเหตุการณ์การ ดาเนินธุรกิจของมนุษย์ โดยพิจารณาจากตารางที่ 1.1 ซ่ึงเป็นตารางเปรียบเทียบระหว่าง แบบจาลอง OSI กับตัวอย่างการดาเนินงานทางธุรกิจ ที่สามารถทาให้เข้าใจถึงบทบาทหน้าท่ีของแต่ ละชนั้ สอ่ื สารได้มากยิ่งขน้ึ ตำรำงท่ี 1.1 การเปรยี บเทียบแบบจาลอง OSI กับตวั อย่างการดาเนินงานทางธุรกิจ แบบจำลอง OSI ภำระหน้ำท่ี เปรยี บเทยี บกับตัวอย่ำง กำรดำเนินงำนทำงธรุ กิจ 7. ช้ันส่ือสารการประยกุ ต์ โปรแกรมประยุกตต์ า่ ง ๆ ท่ีอานวย สินค้าสาเร็จรูปทผี่ ้ซู ือ้ ความสะดวกให้แกผ่ ูใ้ ช้ตามความ สามารถเลอื กซือ้ ไดต้ าม 6. ชน้ั สอื่ สารนาเสนอข้อมูล ต้องการ ความต้องการ 5. ชั้นสื่อสารควบคมุ การนาเสนอขอ้ มลู ให้เขา้ ใจความหมาย เคาน์เตอร์แสดงสินค้า ตรงกันทง้ั สองฝัง่ หนา้ ต่างการสือ่ สาร ควบคุมการเชื่อมต่อระหวา่ งต้นทางกับ เจ้าของรา้ นโทรศัพทต์ ิดต่อ 4. ชนั้ สือ่ สารเพอ่ื นาสง่ ขอ้ มลู ปลายทางใหส้ ามารถสือ่ สารไดจ้ น กับลูกคา้ เพื่อสอบถามยนื ยนั 3. ชนั้ สอ่ื สารควบคุม สาเรจ็ ถึงสนิ ค้าที่ได้จดั ส่งไป 2. ชน้ั สื่อสารเช่ือมต่อข้อมูล การรบั ประกนั การสง่ ข้อมูลให้ถึงมือ การจัดส่งสินคา้ หรือการส่ง 1. ชั้นสื่อสารทางกายภาพ ผู้รับอยา่ งแนน่ อน พัสดุลงทะเบยี นไปรษณีย์ การกาหนดเส้นทางเพื่อการส่งข้อมลู การกระจายสนิ ค้าไปตาม ไปยงั ปลายทาง แต่ละพื้นที่ การจัดรูปแบบข้อมูลในรูปแบบของ การบรรจุสินคา้ ลงในหีบห่อ เฟรมข้อมูล พร้อมระบุที่อยู่ปลายทาง อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ สายสัญญาณ และ รถบรรทกุ สินคา้ และถนน อปุ กรณ์เชือ่ มต่อ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ เป็นการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วงเข้าด้วยกันเพ่ือให้ สามารถใช้ข้อมูลทรัพยากรรว่ มกนั ได้ เช่น สามารถใช้เคร่ืองพิมพ์รว่ มกัน สามารถใช้ฮาร์ดดิสก์รว่ มกัน แบ่งปันการใช้อุปกรณ์อ่ืนๆ ที่มีราคาแพงหรือไม่สามารถจัดหาให้ทุกคนได้ แม้กระท่ังสามารถใช้ โปรแกรมร่วมกันได้เป็นการลดต้นทุนขององค์กรเครือข่ายคอมพิวเตอร์สามารถแบ่งออกเป็นประเภท ตามพน้ื ท่ที ่ีครอบคลมุ การใชง้ านของเครือขา่ ย ดังนี้ หน่วยที่ 1 หลักการของระบบเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์
40 1.5.1 เครอื ขำ่ ยท้องถิน่ หรอื เครือขำ่ ยแลน (Local Area Network : LAN) เปน็ เครือข่าย ที่ใช้ในการเช่ือมโยงคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่อยู่ในพื้นที่เดียวกันหรือใกล้เคียงกัน เช่น ภายในบา้ น ภายในสานักงาน และภายในอาคาร เป็นต้น เน่ืองจากเครือข่ายท้องถิ่นจะทาหนา้ ที่เชื่อม ประสานงานการทางานบริหารการจัดการทรัพยากรต่าง ๆ ได้ดีที่สุด เช่น การติดต้ังเครื่องพิมพ์ สว่ นกลาง การจัดการฐานข้อมลู การจัดการแฟ้ม การรับ-สง่ เอกสาร รายงานต่าง ๆ เพื่อใช้ตัดสินใจใน องค์กร เนื่องจากอุปกรณ์แต่ละช้ินจะอยู่ในตาแหน่งที่ไม่ห่างไกลมากนักจึงสามารถทาความเร็วในการ ส่อื สารและมอี ัตราการถูกรบกวนของสัญญาณน้อย ซง่ึ อาจใชก้ ารเชื่อมต่อแบบใช้สายหรือไร้สายกไ็ ด้ LAN รูปท่ี 1.9 เครอื ข่ายท้องถ่นิ หรือเครือข่ายแลน ที่มา : นายยทุ ธวิธ ชสู วน พ.ศ. 2560 1.5.2 เครือข่ำยระดับเมืองหรือเครือข่ำยแมน (Metropolitan Area Network : MAN) เป็น เครือข่ายที่ใชเ้ ชอ่ื มโยงแลนทีอ่ ยหู่ ่างไกลออกไป เชน่ การเชือ่ มต่อเครือขา่ ยระหวา่ งสานักงานที่อาจอยู่ คนละอาคารและมีระยะทางไกลกัน การเช่ือมต่อเครือข่ายชนิดน้ีอาจใช้สายไฟเบอร์ออฟติกหรือ บางครั้งอาจใช้ไมโครเวฟเช่ือมต่อ ซ่ึงถือว่าเป็นระบบเครือข่ายท่ีมีการเชื่อมต่อกันในบรเิ วณกว้างใหญ่ ครอบคลุมระยะทางเป็น 100 กิโลเมตร ท่ีมีการติดต่อกันในระยะที่ไกลกว่าระบบแลนและใกล้กว่า ระบบแวนเปน็ การติดตอ่ ระหว่างเมอื ง เชน่ กรงุ เทพฯ กับเชียงใหม่ เชียงใหมก่ ับยะลา เปน็ ตน้ หนว่ ยที่ 1 หลักการของระบบเครอื ข่ายคอมพิวเตอร์
41 MAN LAN LAN รปู ท่ี 1.10 เครอื ขา่ ยระดบั เมืองหรอื เครอื ขา่ ยแมน ที่มา : นายยทุ ธวธิ ชสู วน พ.ศ. 2560 1.5.3 เครือข่ำยระดบั ประเทศหรือแวน (Wide Area Network: WAN) เป็นการเช่ือมต่อ เครือข่ายคอมพวิ เตอร์ระยะไกลซึ่งมีอยู่ท่ัวโลกเข้าด้วยกัน โดยอุปกรณแ์ ปลงสญั ญาณ เชน่ โมเด็ม ชว่ ย ในการติดต่อส่ือสารหรือสามารถนาเครือข่ายท้องถ่ินมาเชื่อมต่อกันเป็นเครือข่ายระยะไกล เช่ น เครอื ข่ายอนิ เทอรเ์ น็ต เครอื ข่ายระบบธนาคารทว่ั โลก หรอื เครือข่ายของสายการบิน เป็นตน้ MAN LAN LAN รูปท่ี 1.11 เครอื ข่ายระดบั ประเทศหรือเครือขา่ ยแวน ทม่ี า : นายยทุ ธวธิ ชูสวน พ.ศ. 2560 หนว่ ยท่ี 1 หลักการของระบบเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์
42 ปัญหาของการเช่ือมต่อคอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์ของสถานีปลายทางหลาย ๆ สถานี คือ จานวนสายที่ใช้เชื่อมโยงระหว่างสถานีเพิ่มมากข้ึน และระบบการสลับสายเพ่ือโยงข้อมูลถึงกันในการ ส่ือสารระหว่างสถานี ถ้ามีการเพ่ิมสถานีมากข้ึนค่าใช้จ่ายในการเดินสายก็มากตามไปด้วยและใน ขณะท่ีสถานีหน่ึงส่ือสารกับสถานีหน่ึงก็จะถือครองการใช้สายเชื่อมโยงระหว่างสถานีนั้น ทาให้การใช้ สายเช่ือมโยงไมเ่ ต็มประสทิ ธภิ าพ การเชื่อมต่อเครอื ขา่ ยทางกายภาพสามารถแบง่ ออกเป็น 2 ประเภท คอื เชือ่ มต่อแบบจุดต่อจดุ (Point-To-Point) และเชือ่ มตอ่ แบบหลายจดุ (Multi-Point) 1.6.1 กำรเชื่อมต่อแบบจุดต่อจุด (Point-To-Point) เป็นการเช่ือมต่อระหว่างเครื่อง คอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์ส่ือสารสองเคร่ือง โดยใช้สื่อกลางหรือช่องทางในการสื่อสารช่องทางเดียว เป็นการจองสายในการส่งข้อมูลระหว่างกันโดยไม่มีการใช้งานส่ือกลางนั้นร่วมกับอุปกรณ์ชิ้นอ่ืน ๆ การเชอ่ื มต่อลักษณะนเี้ ป็นการเชอ่ื มต่อที่ทาให้สนิ้ เปลืองช่องทางการสื่อสาร รปู ท่ี 1.12 การเช่อื มต่อแบบจดุ ตอ่ จดุ ท่ีมา : นายยทุ ธวิธ ชสู วน พ.ศ. 2560 1.6.2 กำรเชื่อมต่อแบบหลำยจุด (Multi-Point) เป็นการใช้งานช่องทางการสื่อสารเต็ม ประสิทธิภาพมากข้ึน โดยการเช่ือมต่อลักษณะน้ีจะใช้ช่องทางการสื่อสารหน่ึงช่องทางเช่ือมต่อเข้ากับ เครื่องคอมพิวเตอร์หรอื อปุ กรณ์สื่อสารหลายช้นิ โดยมีจุดเชือ่ มแยกออกมาจากสายหลักดงั รูปที่ 1.13 หน่วยที่ 1 หลักการของระบบเครอื ข่ายคอมพิวเตอร์
43 รูปที่ 1.13 การเชอื่ มต่อแบบหลายจดุ ทีม่ า : นายยุทธวิธ ชสู วน พ.ศ. 2560 โทโปโลยี คือ ลักษณะทางกายภาพ (ภายนอก) ของระบบเครอื ข่าย ซ่ึงหมายถึง ลกั ษณะของ การเชื่อมโยงสายส่ือสารเข้ากับอุปกรณ์อิเล็กทรอนกิ ส์และเครือ่ งคอมพิวเตอร์ภายในเครอื ข่ายด้วยกัน โทโปโลยีของเครือข่ายแต่ละแบบมีความเหมาะสมในการใช้งานแตกต่างกันออกไป การนาไปใช้จึงมี ความจาเป็นที่เราจะต้องทาการศึกษาลักษณะและคุณสมบัติ ข้อดี-ข้อเสีย ของโทโปโลยีแต่ละแบบ เพื่อนาไปใช้ในการออกแบบ พิจารณ าเครือข่ายให้ เหมาะสมกับการใช้งานรูป แบบของ โทโปโลยี มี ดังต่อไปนี้ 1.7.1 โทโปโลยีแบบบัส (Bus Topology) เป็นรูปแบบที่เคร่อื งคอมพิวเตอร์จะถกู เช่ือมต่อ กันโดยผ่ายสายสัญญาณแกนหลัก ท่ีเรยี กวา่ BUS หรือแบ็คโบน (Backbone) คือ สายรับส่งสญั ญาณ ข้อมูลหลักใช้เป็นทางเดินข้อมูลของทุกเคร่ืองภายในระบบเครือข่ายและจะมีสายแยกย่อยออกไปใน แต่ละจุด เพ่ือเช่ือมต่อเข้ากับคอมพิวเตอร์เคร่อื งอ่ืน ๆ ซ่ึงเรียกว่าโหนด (Node) ข้อมูลจากโหนดผู้ส่ง จะถูกส่งเข้าสู่สายบัสในรูปของแพ็กเกจซึ่งแต่ละแพ็กเกจจะประกอบไปด้วยข้อมูลของผู้ส่ง ผู้รับและ ข้อมูลที่จะส่ง การสื่อสารภายในสายบัสจะเป็นแบบ 2 ทิศทางแยกไปยังปลายท้ัง 2 ด้านของบัส โดยตรงปลายทั้ง 2 ด้านของบัสจะมีเทอร์มิเนเตอร์ (Terminator) ทาหน้าท่ลี บล้างสัญญาณทีส่ ่งมาถึง เพื่อป้องกันไม่ให้สัญญาณข้อมูลน้ันสะท้อนกลับเข้ามายังบัสอีก เพ่ือเป็นการป้องกันการชนกันของ ข้อมูลอ่ืน ๆ ที่เดินทางอยู่บนบัสในขณะน้ัน สัญญาณข้อมูลจากโหนดผู้ส่งเมื่อเข้าสู่บัสข้อมูลจะไหล ผ่านไปยงั ปลายทง้ั 2 ด้านของบัส แต่ละโหนดทเ่ี ชื่อมต่อเข้ากับบัสจะคอยตรวจดูว่าตาแหนง่ ปลายทาง ท่ีมากับแพ็กเกจข้อมูลนั้นตรงกับตาแหน่งของตนเองหรือไม่ ถ้าตรงก็จะรับข้อมูลนั้นเข้ามาสู่โหนดตน แต่ถ้าไมใ่ ชก่ ็จะปล่อยใหส้ ัญญาณข้อมูลนน้ั ผา่ นไป หนว่ ยท่ี 1 หลกั การของระบบเครอื ข่ายคอมพิวเตอร์
44 รูปท่ี 1.14 รปู แบบการเช่อื มโยงเครือข่ายตามมาตรฐานโทโปโลยีแบบบัส ท่ีมา : นายยทุ ธวิธ ชสู วน พ.ศ. 2560 ตำรำงที่ 1.2 ข้อดแี ละข้อเสยี ของโทโปโลยแี บบบัส ข้อดี ขอ้ เสยี 1. มีรูปแบบโครงสร้างไม่ซับซ้อน ตดิ ต้ังง่าย 1. หากสายแกนหลักเกิดขาด เครอื ข่ายทง้ั ระบบจะ 2. การเพ่มิ โหนดสามารถเพ่ิมต่อเขา้ กบั สาย หยุดการทางาน แกนหลกั ไดท้ นั ที 2. กรณีเครือขา่ ยหยุดการทางาน ตรวจสอบจุดเสีย 3. ประหยดั สายสง่ ขอ้ มูล เนื่องจากทุก ค่อนขา้ งยาก โหนดสามารถเช่อื มต่อเขา้ กับสายแกน 3. แตล่ ะโหนดที่เช่อื มต่อบนเครือขา่ ยจะต้องอยหู่ า่ ง หลกั ได้ทันที กันตามข้อกาหนด 1.7.2 โทโปโลยีแบบดำว (Star Topology) การเชื่อมโยงเครือข่ายตามาตรฐานโทโปโลยี แบบดาวจะมีอุปกรณ์สาคัญช้ินหน่ึงที่เรียกว่า ฮับ โดยคอมพิวเตอร์ทุกโหนดบนเครือข่ายจะต้อง เชื่อมโยงสายเคเบิลเข้ากับฮับ ดังนั้นฮับจึงเปรียบเสมือนเป็นศูนย์กลางการเช่ือมต่อของเครือข่ายของ ทุกอุปกรณท์ ง้ั หมดในระบบเครอื ข่าย หน่วยที่ 1 หลักการของระบบเครอื ข่ายคอมพิวเตอร์
45 รูปที่ 1.15 รปู แบบการเช่อื มโยงเครอื ขา่ ยตามมาตรฐานโทโปโลยีแบบดาว ท่ีมา : นายยุทธวิธ ชสู วน พ.ศ. 2560 อยา่ งไรกต็ าม ระบบเครือข่ายในภาพรวมของโทโปโลยีแบบดาวจะมีความคงทนมากกวา่ แบบ บัส กล่าวคือ หากสายเคเบิลของโหนดใดโหนดหนึ่งเกิดขาดหรือเสียหายขึ้นมาจะส่งผลกระทบต่อ คอมพิวเตอร์โหนดน้ันเท่านั้น โหนดอ่ืน ๆ บนเครือข่ายก็ยังคงใช้งานได้อยู่เหมือนเดิมแต่ถ้าหาก อปุ กรณ์ฮับเกดิ เสยี หายขนึ้ มาระบบเครือขา่ ยกจ็ ะหยุดทางานเช่นกัน ตำรำงที่ 1.3 ขอ้ ดีและข้อเสยี ของโทโปโลยแี บบดาว ข้อดี ขอ้ เสยี 1. มีความคงทนสูงกว่าแบบบัส โดยหาก 1. สิน้ เปลืองสายเคเบิล เนอื่ งจากทุก ๆ โหนดต้องมี สายเคเบิลทางโหนดเสยี หาย จะไม่ สายเคเบลิ ทางโหนดเชอื่ มโยงเขา้ กับฮับ กระทบต่อโหนดอนื่ ๆ 2. พอรต์ เชอื่ มต่อบนฮบั มจี านวนจากัด แต่ถา้ หาก 2. การวเิ คราะหจ์ ดุ เสยี บนเครือขา่ ยทาได้ ใช้งานจนเต็ม ก็สามารถเชื่อมโยงฮบั ตวั ทสี่ องได้ ง่ายกว่า เนื่องจากมีอุปกรณ์มีฮบั เป็น แต่นนั้ หมายถึงต้องมีค่าใชจ้ ่ายเพ่มิ ศูนย์กลาง 3. หากอุปกรณฮ์ บั เสียหาย เครือข่ายจะหยุดทางานทันที 1.7.3 โทโปโลยีแบบวงแหวน (Ring Topology) โทโปโลยีแบบวงแหวนน้ัน โหนดแรก และโหนดสุดท้ายจะเชื่อมโยงถึงกันจึงทาให้เกิดมุมมองทางกายภาพเป็นรูปวงกลมขึ้นมา แต่ละโหนด บนเครือขา่ ยแบบวงแหวนนั้นจะส่งทอดสัญญาณไปในทิศทางเดียวกันด้วยการส่งทอดไปยังท่ีละโหนด ถัดไปเรื่อย ๆ นั้นหมายความว่าแต่ละโหนดบนเครือข่ายจะทาหน้าท่ีเป็นเครือข่ายจะทาหน้าที่เป็น เครื่องทวนสญั ญาณไปในตัวน่นั เอง หน่วยท่ี 1 หลักการของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
46 รปู ท่ี 1.16 รปู แบบการเชอ่ื มโยงเครือขา่ ยตามมาตรฐานโทโปโลยแี บบแบบวงแหวน ทมี่ า : นายยุทธวธิ ชสู วน พ.ศ. 2560 ตำรำงท่ี 1.4 ข้อดแี ละข้อเสียของโทโปโลยีแบบวงแหวน ขอ้ ดี ข้อเสยี 1. สิทธิในการส่งขอ้ มลู ของแต่ละโหนด 1. สายเคเบลิ ทีใ่ ช้เปน็ วงแหวน หากเกดิ การชารุด ภายในเครอื ข่ายมีความเทา่ เทยี มกนั เสยี หาย เครือขา่ ยจะหยุดการทางานลง 2. ประหยัดสายเคเบิล 2. หากมบี างโหนดบนเครือข่ายเกดิ ขดั ขอ้ ง จะยาก 3. การติดตัง้ ไมย่ งุ่ ยาก รวมถงึ การเพิ่ม ต่อการตรวจสอบและคน้ หาโหนดทเี่ สีย หรือลดโหนดทาได้ง่าย การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เข้าด้วยกันเป็นเครือข่ายท้องถิ่น (LAN) นั้น จุดประสงค์หลัก อย่างหนึ่งก็คือการแบ่งกันใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ โดยทรัพยากรเหล่านั้นอาจเป็นหน่วยประมวลผล กลาง (CPU) ความเร็วสูง ฮาร์ดดิสก์ เครื่องพิมพ์ หรือแม้แต่อุปกรณ์สื่อสารต่าง ๆ ซึ่งอุปกรณ์ เหล่านี้จะเชื่อมอยู่กับคอมพิวเตอร์เครื่องใดเครื่องหนึ่งวิธีการเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เพื่อ จัดสรรการใช้งานทรัพยากรในระบบเครือข่ายสามารถจาแนกได้เป็น 3 รูปแบบ คือ หน่วยท่ี 1 หลกั การของระบบเครอื ข่ายคอมพิวเตอร์
47 1.8.1 เครือข่ำยแบบ Peer-To-Peer เครือข่ายแบบน้ีจะเก็บไฟล์และการเชื่อมต่อกับ อุปกรณ์ต่าง ๆ ไว้ท่ีเครื่องคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้แต่ละคน โดยไม่มีคอมพิวเตอร์ส่วนกลางที่ทาหน้าที่น้ี เรียกได้ว่าต่างคนต่างเก็บ ต่างคนต่างใช้ แต่ผู้ใช้ในเครือข่ายสามารถเรียกใช้ไฟล์จากคอมพิวเตอร์ เคร่ืองอื่นได้ ถ้าคอมพิวเตอร์เคร่ืองน้ันทาการแชร์ไฟล์เหล่าน้ันไว้ เครือข่ายแบบ Peer-To-Peer นี้ เหมาะสาหรบั องค์กรขนาดเลก็ ที่มีคอมพวิ เตอร์เช่ือมต่อกันไม่เกนิ 10 เคร่ือง เนื่องจากตดิ ต้งั ง่าย ราคา ไม่แพง และการดูแลไม่ยงุ่ ยากนัก 1.8.1.1 ทรัพยากร ทรัพยากรของเครือข่าย เช่น เครื่องพิมพ์ หรือแฟกซ์โมเด็ม ปกติจะเชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์เครื่องใดเครอ่ื งหน่งึ ในเครือข่าย สาหรับเครื่องท่ีไมม่ ีทรัพยากรเหล่าน้ี กส็ ามารถเขา้ ใชท้ รัพยากรเหลา่ นผี้ ่านเครือข่ายได้ 1.8.1.2 โปรแกรมใช้งาน โดยปกติโปรแกรมใช้งานทั่วไป เช่น เวิร์ดโปรเซสเซอร์ หรอื สเปรดชตี ท่ีใชใ้ นเครือข่ายแบบ Peer-to-Peer จะตดิ ต้งั ในคอมพวิ เตอร์ของผูใ้ ชแ้ ต่ละเคร่ืองเลย 1.8.1.3 สมรรถนะ เม่ือคอมพิวเตอร์ในเครือข่ายถูกร้องขอข้อมูล หรือเรียกใช้ ทรัพยากร สมรรถนะในการทางานของคอมพิวเตอร์ก็จะลดต่าลง เช่น ถ้ามีเคร่ืองพิมพ์เช่ือมต่อกับ คอมพิวเตอร์เครื่องใดเคร่ืองน้ันก็จะทางานช้าลงทันทีท่ีมีผู้ใช้คนอื่นในเครื อข่ายส่งเอกสารมาพิมพ์ท่ี เคร่อื งพิมพ์ตวั น้ี 1.8.1.4 การติดตั้ง เมื่อติดต้ังฮาร์ดแวร์ของเครือข่ายเสร็จแล้ว ต่อไปก็ต้องติดตั้ง ระบบปฏิบตั ิการเครอื ข่าย และโปรแกรมใช้งานลงเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ทุกเครื่องด้วย หลงั จากนั้นก็ต้อง เซตอปั การเชื่อมตอ่ คอมพวิ เตอร์ แต่ละเครื่องให้มองเห็นเครือขา่ ยและทรพั ยากรในเครอื ขา่ ย 1.8.1.5 การบริหารระบบ การบริหารเครือข่ายแบบ Peer-To-Peer น้ีไม่ซับซ้อน มากนัก ดังน้ันจึงไม่จาเป็นจะต้องมีการตั้งตาแหน่งผู้บริหารเครือข่ายโดยเฉพาะ เพียงแต่ให้ผู้ใช้ใน เครือขา่ ยศึกษาวธิ กี ารบรหิ ารระบบในเคร่อื งของตนเองกเ็ พียงพอแลว้ เรยี กไดว้ ่าต่างคนต่างช่วยกันดูแล 1.8.1.6 ระบบรกั ษาความปลอดภยั ลักษณะการเกบ็ ไฟลใ์ นเครือข่ายแบบ Peer-To-Peer นี้จะใช้หลักการต่างคนต่างเก็บในเครือ่ งคอมพิวเตอรข์ องตนเอง จุดน้ีเองทาให้ผใู้ ช้คน อื่นสามารถเข้าไปดไู ฟลข์ อ้ มลู ในเครอื่ งตา่ ง ๆ ในเครือข่ายได้ไมย่ ากนัก ระบบรักษาความปลอดภัยของ ข้อมูลในเครอื ขา่ ยแบบนจ้ี ึงค่อนขา้ งหละหลวมกวา่ ระบบรักษาความปลอดภัยท่เี กบ็ ไวท้ ่ีเซริ ์ฟเวอร์ 1.8.1.7 ค่าใช้จ่าย ในกรณีที่เครื่องท่ีเชื่อมต่อมีน้อยเครื่องค่าใช้จ่ายจะถูกกว่า เครือข่ายรปู แบบอ่นื ๆ 1.8.1.8 คุณสมบัติข้ันสูง เครือข่ายแบบนี้จะเน้นในเร่ืองของการแลกเปล่ียนข้อมูล และการใช้ทรัพยากรรว่ มกนั ในเครือข่ายเทา่ นั้น คณุ สมบตั ิขั้นสูงอน่ื ๆ เชน่ การควบคุมระยะไกล หรือ ระบบรบั สง่ อีเมล์ จะไม่มใี หใ้ ชใ้ นเครอื ข่ายน้ี 1.8.1.9 การขยายระบบ เครอื ข่ายแบบ Peer-To-Peer เหมาะสาหรับการเช่ือมต่อ คอมพิวเตอร์จานวนน้อย ๆ ซ่ึงไม่เหมาะในการขยายระบบเพ่ิมเติม ถ้าองค์กรต้องการขยายระบบ เพิม่ เตมิ ควรจะสร้างเปน็ เครอื ข่ายแบบอ่ืน หนว่ ยที่ 1 หลักการของระบบเครอื ข่ายคอมพิวเตอร์
48 1.8.2 เครือข่ำยแบบ Server-Based ระบบเครือข่ายแบบนี้จะมีคอมพิวเตอร์หลักอยู่หนึ่ง เคร่ือง เรยี กว่า เซิร์ฟเวอร์ (Server) หรือเคร่ืองแม่ขา่ ย ทาหนา้ ที่เก็บขอ้ มูลโปรแกรมและแชร์ไฟล์หรือ โปรแกรมน้ันให้กับเคร่ืองลูกข่ายอีกทั้งยังทาหน้าที่ประมวลผลและส่งผลลัพธ์ที่ได้ไปให้เคร่ืองลูกข่าย ซงึ่ เป็นเสมือนเครื่องให้บริการเคร่ืองคอมพวิ เตอร์อ่นื ในเครือข่ายท่ีร้องขอเข้ามา รวมทง้ั เปน็ ยงั ผู้จดั การ ดูแลการจราจรในระบบเครือขา่ ยทั้งหมด เครื่องคอมพิวเตอร์อ่ืน ๆ ในเครือข่ายจะสามารถเข้าใช้งานไฟล์ต่าง ๆ ในเซิร์ฟเวอร์ได้ แต่ไม่ สามารถเข้าใช้งานไฟล์ในเครื่องอื่น ๆ ได้ นั่นคือการติดต่อกันระหว่างเคร่ืองต่าง ๆ จะต้องผ่านเคร่ือง เซิร์ฟเวอร์ เคร่ืองผู้ใช้จะทาการประมวลผลในงานของตนเท่านั้นไม่มีหน้าที่ในการให้บริการกับเครื่อง อ่ืนๆ ในระบบเซิร์ฟเวอร์จะต้องมีหน่วยความจาสารอง (Harddisk) ขนาดใหญ่เพ่ือเก็บข้อมูลท้ังหมด และควรเปน็ เคร่ืองที่มสี มรรถนะสูงชนดิ ของเซิรฟ์ เวอร์มีได้ 2 รูปแบบ คอื 1.8.2.1 Dedicated Server หมายถึง เซิร์ฟเวอร์ท่ีทาหน้าที่บริการอย่างเดียว เท่าน้ันไม่สามารถนาไปใช้ในงานทั่ว ๆ ไปได้ ข้อดี คือ ทาให้ระบบมีเสถียรภาพและมีประสิทธิภาพสูง ขอ้ เสีย คือ ไมส่ ามารถใชง้ านเคร่ืองเซิร์ฟเวอร์ซงึ่ มีราคาค่อนข้างสงู ได้ 1.8.2.2 Non-Dedicated Server หมายถึง เซิร์ฟเวอร์ที่สามารถใช้ งานได้ ตามปกตเิ หมือนเครอื่ งลูกข่ายซึ่งมีข้อเสยี ที่สาคัญ คือ ประสิทธภิ าพของเครือข่ายจะลดลงทาให้วธิ ีนี้ไม่ เป็นท่ีนยิ มในการใชง้ าน 1.8.3 เครือข่ำยแบบไคลแอนต์/เซิร์ฟเวอร์ (Client/Server) เป็นรูปแบบหน่ึงของ เครือข่ายแบบ Server-Based โดยจะมีคอมพิวเตอรห์ ลักเครอ่ื งหน่งึ เป็นเซริ ์ฟเวอร์ซ่ึงจะไม่ไดท้ าหน้าที่ ประมวลผลท้ังหมดให้เครื่องลูกข่ายหรือไคลเอนต์ (Client) เซิร์ฟเวอร์ ทาหน้าที่เสมือนเป็นท่ีเก็บ ขอ้ มลู ระยะไกล (Remote Disk) และประมวลผลบางอยา่ งให้กับไคลเอนต์เทา่ นัน้ เชน่ ประมวลผล คาสัง่ ในการดึงขอ้ มลู จากเซริ ์ฟเวอร์ฐานข้อมูล (Database Server) เปน็ ตน้ 1.8.3.1 ประสิทธิภาพ เครือข่ายแบบ Client/Server น้ัน เซิร์ฟเวอร์จะต้องทางาน บริการให้กับเคร่ืองไคลเอนต์ที่ร้องขอเข้ามา ซ่ึงนับว่าเป็นงานประมวลผลที่หนักพอสมควร ดังนั้น เครื่องเซิรฟ์ เวอร์กค็ วรจะเปน็ เคร่ืองคอมพวิ เตอร์ทท่ี รงพลังเพียงพอในการรองรับงานหนัก ๆ แบบนี้ใน เครอื ขา่ ย 1.8.3.2 บริการ อาจจะมีเซิร์ฟเวอร์อยู่หลายตัวในการทางานเฉพาะด้าน เช่น ไฟล์ เซอร์เวอร์ทาหน้าที่ในการจัดเก็บและบริหารไฟล์ท้ังหมดที่อยู่ในเครือข่าย พรินต์เซิร์ฟเวอร์ ทาหน้าที่ เก่ียวกบั การควบคุมการพมิ พ์ทง้ั หมดในเครือข่ายดาต้าเบสเซอร์เวอรจ์ ัดเกบ็ และบริหารฐานขอ้ มูลของ องค์กรเปน็ ต้น 1.8.3.3 โปรแกรม องค์กรท่ีใช้เครือข่ายแบบน้ีมักมีการเก็บโปรแกรมไว้บน เซิรฟ์ เวอร์ เพอื่ ให้ผู้ใช้สามารถเข้าไปเรียกใช้ได้ทันที เชน่ เซิรฟ์ เวอร์เก็บโปรแกรมเวิร์ดโปรเซสเซอร์ไว้ เม่อื ผใู้ ช้ตอ้ งการใชโ้ ปรแกรมน้กี ็สามารถรนั โปรแกรมน้จี ากเซิร์ฟเวอร์ได้ 1.8.3.4 ขนาด เครือข่ายแบบ Client/Server สามารถรองรับเครือข่ายตั้งแต่ขนาด เลก็ ไปจนถงึ ขนาดใหญ่แต่ท่ีเหมาะสมจะเป็นเครอื ข่ายขนาดใหญ่ หนว่ ยที่ 1 หลักการของระบบเครอื ข่ายคอมพิวเตอร์
49 1.8.3.5 การบริหารระบบ จะต้องมีเจ้าหน้าที่ในการบริหารระบบโดยเฉพาะ ซ่ึงทา หน้าที่จัดการเก่ียวกับงานพื้นฐานประจาวัน เช่น การสารองข้อมูล การตรวจสอบระบบรักษาความ ปลอดภยั และการดูแลระบบให้ทางานไดอ้ ย่างสมา่ เสมอ 1.8.3.6 ระบบรักษาความปลอดภัย เครื่องเซิร์ฟเวอร์ส่วนใหญ่จะเปิดให้ทางาน ตลอดเวลา และต้องมีการป้องกันไม่ให้ใครเข้ามาปรับเปล่ียนระบบภายในเคร่ืองเซิร์ฟเวอร์ เพ่ือเป็น การปอ้ งกันรกั ษาข้อมูล บริษทั สว่ นใหญจ่ ึงมกั จะเกบ็ เซิรฟ์ เวอรไ์ ว้ในห้องทแี่ ยกตา่ งหากและมีการ ปดิ ล็อคไวเ้ ป็นอยา่ งดี 1.8.3.7 การขยายระบบ เครือข่ายแบบ Client/Server ยืดหยุ่นต่อการเพิ่มเติม ขยายระบบการเพ่ิมเครอ่ื งไคลเอนตใ์ นเครอื ขา่ ยไม่จาเป็นต้องใช้เครือ่ งคณุ ภาพสูงราคาแพง โดยเคร่ือง ทีม่ สี มรรถนะสงู น้ันเอาไวใ้ ชเ้ ป็นเคร่ืองเซริ ฟ์ เวอร์ 1.8.3.7 การดูแลซ่อมแซม ปัญหาท่ีเกิดข้ึนในเครือข่ายแบบน้ีหาพบได้ไม่ยาก เช่น ถ้าเครื่องไคลเอนต์หลาย ๆ เครื่องทางานไม่ได้ปัญหาก็มักจะมาจากท่ีเคร่ืองเซิร์ฟเวอร์และถ้าเคร่ือง ไคลเอนต์เคร่ืองใดมีปัญหาผู้บริหารระบบก็เพียงแก้ไขที่เครื่องน้ีซ่ึงจะไม่กระทบต่อเครื่องไคลเอนต์ เครื่องอื่น โปรโตคอลควบคุมการเข้าถึงส่ือกลางจัดเป็นส่วนหน่ึงของซอฟต์แวร์ท่ีอนุญาตให้เครื่อง ลูก ข่ายสาสารถส่งข้อมูลผ่านเครือข่าย และด้วยเครือข่ายท้องถิ่นเป็นเครือข่ายแบบบรอดคาสต์ ท่ีใช้ วิธกี ารสง่ ขอ้ มูลแบบเบสแบนด์ ที่อนุญาตใหเ้ ครอ่ื งลูกขา่ ยสามารถส่งข้อมูลภายในเครอื ข่ายเพียงเครื่อง เดียวในช่วงเวลาหน่ึง ๆ นั้นหมายความว่าช่วงเวลาหนงึ่ เครือ่ งต้องสง่ ขอ้ มลู ในชว่ งเวลาเดียวกนั กเ็ ป็นได้ ด้วยเงื่อนไขท่ีว่าจะมีเพียงเคร่ืองหน่ึงน้ันที่สามารถส่งข้อมูลได้ในช่วงเวลาขณะน้ัน ดังน้ัน ข้อมูลท่ีส่งจึงอาจชนกันได้และหากมีการชนกันของกลุ่มข้อมูลขึ้นภายในสายส่งจะต้องมีกระบวนการ จดั การส่งขอ้ มูลรอบใหม่ สาหรับโปรโตคอลพื้นฐานท่ีจะกล่าวต่อไปนี้ก็ คือ โปรโตคอล CSMA/CD (Carrier Sense Multiple Access with Collision Detection) ซึ่งจัดเปน็ โปรโตคอลตัวหนง่ึ ที่นามาใช้เป็นโปรโตคอล ควบคมุ การเขา้ ถึงสื่อกลางบนเครอื ขา่ ยท้องถ่นิ โดยโปรโตคอล CSMA/CD จะมกี ลไกการทางานดงั นี้ กลไกที่ 1 การตรวจฟังสัญญาณ (Carrier Sense) เป็นกลไกสาหรับตรวจฟังสัญญาณใน สื่อกลางหรือสายส่งข้อมูลในขณะนั้นว่าว่างหรือไม่ หากสายสัญญาณในขณะนั้นว่างจึงจะสามารถส่ง ข้อมูลได้ แต่ต้องเข้าใจว่าในช่วงเวลาน้ันเคร่ืองลูกข่ายเคร่ืองอ่ืนอาจกาลงั ต้องการส่งข้อมลู พอดีและได้ มีการตรวจฟังสัญญาณในขณะน้ันว่าว่างเช่นเดียวกัน ดังนั้นเหตุการณ์น้ีเองจึงจัดเป็นเหตุการณ์หน่ึงที่ นาไปสู่การชนกันของกลมุ่ ข้อมูลได้ในเวลาตอ่ มา หนว่ ยที่ 1 หลกั การของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
50 AB รูปท่ี 1.17 การตรวจฟังสญั ญาณของเครื่องโหนด A ท่มี า : นายยุทธวิธ ชูสวน พ.ศ. 2560 กลไกท่ี 2 การเข้าถึงถึงสื่อกลางร่วมกัน (Multiple Access) เครือข่ายท้องถิ่นโดยเฉพาะ เครือข่ายอีเทอร์เน็ต เครอ่ื งลูกข่ายทุกเคร่ืองจะมีสิทธิเทา่ เทยี มกันในการส่งข้อมูลบนส่ือกลาง กลา่ วคือ ทุก ๆ เครื่องบนเครือข่ายจะใช้สายส่งเดียวกันเพื่อส่งข้อมูลร่วมกันอย่างเสมอภาคเท่าเทียมกัน ดังนั้น หากมีตรวจฟังสัญญาณในสายวา่ วา่ งก็สามารถส่งได้ทันที ในรูปท่ี 1.18 ในช่วงเวลาขณะน้ันเอง เครื่อง คอมพิวเตอร์โหนด B ก็ต้องส่งข้อมูลแล้วมีการตรวจฟังสัญญาณในขณะน้ันว่าว่าง จึงส่งข้อมูลออกมา โดยทันทเี ช่นเดยี วกัน AB รูปที่ 1.18 โหนด B ตรวจฟังสญั ญาณและพบว่าว่าง จึงส่งข้อมลู ที่มา : นายยุทธวธิ ชสู วน พ.ศ. 2560 ครั้นเม่ือทั้งโหนด A และ B ได้ส่งข้อมูลผ่านสายส่งพร้อมกัน ในเวลาต่อมาข้อมูลของโหนด A และ B ก็ได้เกิดเหตุการณ์การชนกันของกลุ่มข้อมูลข้ึน ทาให้ข้อมูลที่ชนกันเกิดความเสียหายข้อมูลท่ี ส่งไปจงึ ใช้การไมไ่ ดอ้ ีกต่อไป AB รูปท่ี 1.19 การชนกนั ของกลุ่มขอ้ มูลบนสายส่ง ท่ีมา : นายยุทธวธิ ชสู วน พ.ศ. 2560 หนว่ ยที่ 1 หลกั การของระบบเครอื ข่ายคอมพิวเตอร์
51 กลไกท่ี 3 การตรวจจับการชนกัน (Collision Detection) หากภายในสายส่งข้อมูลเกิด เหตุการณ์การชนกันของกลุ่มข้อมูลขึ้น น่ันหมายความว่าข้อมูลที่ส่งไปในขณะน้ันใช้การไม่ได้อีก ต่อไปนี้ ดังน้ันกลไกของวิธีนี้ก็ คือ จะรายงานผลว่ามีการชนกันของกลุ่มข้อมูลข้ึนภายในสายส่ง เม่ือเครือข่ายได้รับทราบรายงานแล้วก็จะให้เคร่ืองลูกข่ายที่ส่งข้อมูลในขณะนั้นรอสักครู่หนึ่งเพ่ือสุ่ม เวลาในการส่งข้อมูลรอบใหม่บนช่วงเวลาท่ีแตกต่างกัน ดังนั้นโอกาสที่จะเกิดการชนกันในรอบใหม่จึง ลดนอ้ ยลง AB รปู ท่ี 1.20 การตรวจพบสญั ญาณข้อมลู ชนกนั และรายงานให้เครือข่ายทราบ ทม่ี า : นายยทุ ธวิธ ชสู วน พ.ศ. 2560 ระบบเครือข่ายท้องถ่ิน (Local Area Networks: LAN) ระบบเครือข่ายท้องถิ่นท่ีนิยมสูงสุด สามารถแบ่งได้หลายประเภท คือ อีเทอร์เน็ต (Ethernet) ไอบีเอ็มโทเค็นริง (IBM Token Ring) เอฟดีดไี อ (Fiber Data distributed Interface: FDDI) และแบบไรส้ าย (Wireless LAN :WLAN) 1.10.1 อีเทอร์เน็ต (Ethernet) เครือข่ายอีเทอร์เน็ตจัดเป็นเครือข่ายท้องถิ่นชนิดแรกท่ี นามาใช้ในแวดวงธุรกิจในราวปี ค.ศ.1979 และนับจากนั้นเป็นต้นมาจนถึงปัจจุบัน อีเทอร์เน็ตก็เป็น เครือข่ายท่ีมีความนิยมสูงสุด รูปแบบการเชื่อมต่อของเครือข่ายอีเทอร์เน็ตต้ังอยู่บนพื้นฐานเครือข่าย แบบบัสตามมาตรฐาน IEEE 802.3 ด้วยการใช้โปรโตคอล CSMA/CD เป็นตัวจัดการเพ่ือการเข้าถึง สื่อกลาง โดยมาตรฐาน 802.3 แบบด้ังเดิมได้กาหนดรูปแบบการเช่ือมต่อไว้ 3 รูปแบบด้วยกัน 10 Bases 5, 10 Bases 2 และ 10 Bases T ท่สี ง่ ขอ้ มลู บนความเรว็ 10 เมกะบติ ตอ่ วนิ าที 1.10.1.1 อีเทอร์เน็ต 10Bases5 รูปแบบการเช่ือมต่อเครือข่ายแบบ 10 Bases 5 จัดเป็นแบบมาตรฐานแรกของเครือข่ายอีเทอร์เน็ต โดยคาว่า Bases ในท่ีน้ีหมายถึงการส่งสัญญาณ แบบเบสแบนด์ด้วยการเข้ารหัสแมนเชสเตอร์ สาหรับสัญญาณเบสแบนด์ก็ คือ สัญญาณดิจิตอลที่ส่ง บนสอ่ื กลางท่ีมีเพียงแถบความถเ่ี พยี งแชนเนลเดียว ส่วนหมายเลข 10 Mbps คือ มีความเร็วในการส่ง ขอ้ มูลท่ี 10 เมกะบิตต่อวนิ าที ในขณะท่ีหมายเลข 5 จะหมายถึงความยาวสูงสดุ ของสายเคเบิลตอ่ หน่ึง เซกเมนตซ์ ่งึ เท่ากับ 500 เมตร หน่วยท่ี 1 หลักการของระบบเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์
52 10 Mbps 10 Base 5 500 meters Baseband Cable Terminator Medium Attachment Unit (MAU) Transceiver รปู ท่ี 1.21 การเชื่อมโยงเครือข่ายอีเทอรเ์ นต็ ตามมาตรฐาน 10 Bases 5 ที่มา : นายยทุ ธวิธ ชูสวน พ.ศ. 2560 ข้อกาหนดของ 10 Bases 5 จะใช้สายโคแอกเชียลแบบหนา รหัส RG-8 หรือท่ีมักเรียกว่า Thicknet ซึ่งเป็นสายสีเหลืองชนิดหนามีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.4 นิ้ว จึงเป็นที่มาของช่ือว่า Thicknet นั่นเอง บนสายจะมีแถบสีดาในทุก ๆ 2.5 เมตร เพื่อใช้เป็นตาแหน่งติดต้ังทรานซีฟเวอร์ เพื่อเชื่อมโยงเข้ากับโหนด โดยระยะห่างของแต่ละโหนดท่ีเช่ือมโยงกันจะต้องมีระยะห่างกัน 2.5 เมตร ส่วนการ์ดเครือข่ายจะมีช็อกเก็ตเช่ือมต่อแบบ AUI และใช้เทอร์มิเนเตอร์ชนิด N-Series ท่ีมีความ ตา้ นทานทางไฟฟ้า 50 โอห์ม ปิดปลายสายเคเบิลทงั้ สองฝัง่ บทสรปุ ขอ้ กาหนดตามมาตรฐานอเี ทอร์เน็ตแบบ 10 Bases 5 คือ 1. สง่ ข้อมูลแบบเบสแบนด์ 2. ความเร็วในการสง่ ข้อมูล 10 เมกะบิตต่อวินาที 3. ใช้สายโคแอกเชียลแบบหนา รหัส RG-8 4. ระยะไกลทส่ี ดุ ในการเชื่อมโยงต่อหน่ึงเซกเมนต์ คือ 500เมตร 5. แต่ละโหนดที่ตดิ ตัง้ บนสาย ตอ้ งหา่ งกนั 2.5 เมตร 6. ภายในหน่ึงเซกเมนต์ เชอ่ื มตอ่ โหนดไดไ้ ม่เกนิ 100 เครอ่ื ง และหากใช้รีพีตเตอร์เพ่ือ เพมิ่ ระยะทางก็จะสามารถขยายได้สงู สุด 5 เซกเมนต์ รวมเปน็ ระยะทาง 2,500 เมตร 7. ใช้การ์ดเครือข่ายที่มีซ็อกเก็ตแบบ AUI 8. ใช้เทอร์มเิ นเตอร์แบบ N-Series ทีม่ ีความตา้ นทานทางไฟฟ้า 50 โอห์ม หน่วยที่ 1 หลกั การของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
53 1.13.1.2 อีเทอร์เน็ต 10 Base 2 รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายแบบ 10 Base 2 อาจเรียกอีกช่ือหนึ่งว่า Thinnet เน่ืองจากใช้สายโคแอกเชียลแบบบาง มีเส้นผ่านศูนย์กลางเพียง 0.25 น้ิว แต่การใช้สายท่ีบางกว่าจึงส่งผลต่อการเช่ือมโยงท่ีได้มาซึ่งระยะทางท่ีส้ันลงตามมา สาหรับรายละเอียดของ 10 Base 2 จะคล้ายกับ 10 Base 5 คือ ส่งข้อมูลแบบเบสแบนด์ด้วย ความเร็ว 10 เมกะบิตต่อวินาที โดยหมายเลข 2 หมายถึง ความยาวสูงสุดของสายเคเบิล ต่อหนึ่งเซกเมนต์ เทา่ กับ 185 เมตร 10 Mbps 10 Base 2 185 meters Baseband Cable Terminator T-Connector BNC T-Connector รปู ท่ี 1.22 การเชื่อมโยงอเี ทอร์เน็ตตามมาตรฐาน 10 Bases 2 ทีม่ า : นายยุทธวิธ ชสู วน พ.ศ. 2560 ขอ้ กาหนดของ 10 Base 2 จะใช้สายโคแอกเชียลแบบบางรหัส RG-58A/U ระยะห่างของแต่ ละโหนดท่ีเช่ือมโยงกันต้องมีระยะห่างกันไม่ต่ากว่า 0.5 เมตร ส่วนการ์ดเครือข่ายจะมีหัวเช่ือมต่อ แบบ BNC และเมื่อเช่ือมต่อเข้ากับโหนด ต้องใช้อุปกรณ์แท็ปท่ี เรียกว่า ทีคอนเน็กเตอร์ โดยใช้ เทอร์มิเนเตอร์ทีม่ ีความต้านทานทางไฟฟ้า 50 โอหม์ ปดิ ปลายสายเคเบลิ ทั้งสองฝั่ง บทสรุปข้อกาหนดตามมาตรฐานอเี ทอร์เน็ต 10 Base 2 คือ 1. ส่งขอ้ มูลแบบเบสแบนด์ 2. ความเรว็ ในการส่งข้อมูล 10 เมกะบิตต่อวินาที 3. ใชส้ ายโคแอกเชยี ลแบบบาง รหสั RG-58 A/U 4. ระยะไกลสดุ ในการเช่อื มโยงต่อหน่งึ เซกเมนต์ คอื 185 เมตร 5. แตล่ ะโหนดท่ตี ดิ ตง้ั ต้องหา่ งกนั อย่างน้อย 0.5 เมตร 6. ภายในหนง่ึ เซกเมนต์ เชื่อมต่อโหนดได้ไมเ่ กนิ 30 เครื่องและหากใชร้ พี ีตเตอร์ เพอ่ื เพมิ่ ระยะทาง ก็จะสามารถขยายได้สูงสุด 5 เซกเมนต์รวมระยะทาง ประมาณ 1,000 เมตร 7. ใชก้ ารด์ เครือขา่ ยท่ีมีซ็อกเกต็ แบบ BNC 8. ใช้เทอรม์ เิ ตอร์ท่ีมีความต้านทานทางไฟฟ้า 50 โอหม์ หน่วยที่ 1 หลักการของระบบเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์
54 1.10.1.3 อีเทอร์เน็ต 10 Base T การเชื่อมต่อเครือข่ายแบบ 10 Base T สามารถ เรียกอีกช่ือหนึ่งว่า Twisted-Pair Ethernet โดยใช้สายยูทีพี และหัวเช่ือมต่อแบบ RJ-45 ส่งข้อมูล แบบเบสแบนด์ด้วยความเร็ว 10 เมกะบิตต่อวินาที ความยาวสูงสุดของสายท่ีเช่ือมต่อระหว่างฮับกับ แต่ละโหนดยาวได้ไม่เกนิ 100 เมตร HUB รปู ที่ 1.23 การเชอื่ มโยงเครือขา่ ยอีเทอร์เนต็ ตามมาตรฐาน 10 Base T ท่มี า : นายยุทธวธิ ชูสวน พ.ศ. 2560 ข้อกาหนดตามมาตรฐาน 10BaseT จะใช้สายยทู ีพี รหัส CAT-3 หรอื CAT-5 ใช้การด์ เครือข่ายท่มี ีซ็อกเก็ตแบบ RJ-45 โดยโหนดตา่ ง ๆ บนเครือขา่ ยจะเชือ่ มโยงเขา้ ศูนยก์ ลางทีเ่ รียกวา่ ฮบั บทสรุปขอ้ กาหนดตามมาตรฐานอีเทอรเ์ นต็ แบบ 10 Base T คือ 1. ส่งข้อมลู แบบเบสแบรนด์ 2. ความเร็วในการส่งข้อมูล 10 เมกะบิตตอ่ วินาที 3. ใช้สายเคเบลิ ชนดิ ยทู พี ี (Unshielded Twisted Pair) รหัส CAT-3 หรอื CAT-5 4. มีอปุ กรณฮ์ ับเป็นศนู ยก์ ลางรบั สง่ ขอ้ มลู บนเครอื ข่าย 5. ระยะไกลสุดในการเชอื่ มโยงต่อหน่งึ เซกเมนต์ หรือจากฮบั ไปยงั โหนดยาวได้ไม่ เกนิ 100 เมตร 6. ภายในหน่งึ เซกเมนตเ์ ช่ือมต่อโหนดไดห้ ลายร้อยเครื่อง ทัง้ น้จี ะตอ้ งติดตั้งสแต็กฮบั ท่ี เช่อื มตอ่ ฮบั หลายตัวเข้าดว้ ยกัน 7. ใชก้ าร์ดเครอื ขา่ ยทม่ี ซี อ็ กเก็ตแบบ RJ-45 และจากกระแสความนิยมของเครือขา่ ย แบบ 10 Base T นเี้ องจงึ ทาให้เครือข่ายตามมาตรฐาน 10 Base T นี้ไดร้ บั การพัฒนา อย่างตอ่ เน่ือง ทาให้สามารถรับสง่ ข้อมูลไดเ้ ร็วกว่า 10 เมกะบิตต่อวินาที 1.10.1.4 สวิตช์เทอร์เน็ต (Switched Ethernet) จัดทาเป็นเครือข่าย 10 Base T แบบเดิม เพียงแตใ่ ช้อุปกรณ์สวิตชแ์ ทนฮับ ทาให้การรับสง่ ข้อมูลรวดเร็วขึน้ เน่ืองจากสวิตช์สามารถส่ง ข้อมลู ไปยงั พอรต์ ท่ตี อ้ งการได้ ซ่งึ แตกตา่ งจากฮับทจี่ ะแพร่ข้อมูลทส่ี ง่ ไปยงั ทุก ๆ พอรต์ หนว่ ยที่ 1 หลกั การของระบบเครอื ข่ายคอมพิวเตอร์
55 1.10.1.5 อีเทอร์เน็ตความเร็วสูง (Fast Ethernet) เป็นเครือข่ายท่ีพัฒนาความเร็ว มาเป็น 100 เมกะบิตต่อวินาที ด้วยการใช้การ์ดเครือข่ายแบบ 100 เมกะบิต หรือ แบบ 10/100 เมกะบติ และใชอ้ ุปกรณส์ วติ ช์ 1.10.1.6 กิกะบิตอีเทอร์เน็ต (Gigabit Ethernet) เป็นเครือข่ายท่ีพัฒนาความเร็ว มาเป็น 1,000 เมกะบิตต่อวินาที หรือ 1 กิกะบิตต่อวินาที (Gbps) ด้วยการใช้การ์ดเครือข่ายแบบ กิกะบติ สวิตช์รวมถึงสายเคเบิลแบบใยแกว้ นาแสง 1.10.2 ไอบีเอ็มโทเค็นริง โปรโตคอล CAMA/CD ท่ีใช้งานบนเครือข่ายอีเทอร์เน็ต เป็นกลไกการส่งข้อมูลบนเครือข่ายที่มีโอกาสเกิดการชนกันของกลุ่มข้อมูลสูง เม่ือการจราจรบน เครือข่ายหนาแน่น ในขณะเดียวกันโปรโตคอล Token Passing ที่ใช้งานบนเครือข่ายโทเค็นริงนั้น จะก่อให้เกดิ การชนกันของกลุม่ ขอ้ มูลเลย กลไกการทางานของ Token Passing ก็คือ ในช่วงเวลาหน่ึง จะมีเพียงโหนดเดียวที่สามารถส่งข้อมูลในขณะน้ันได้ น่ันก็ คือ โหนดท่ีครอบครองโทเค็น โดยโทเค็น จะไปพร้อมกับข้อมูลท่ีส่งไปยังโหนดภายในวงแหวน หากโหนดใดได้รับข้อมูลพร้อมรหัสโทเค็น แล้วตรวจสอบพบว่าไม่ใช่ข้อมูลท่ีส่งมายังตน ก็จะส่งทอดไปยังโหนดถัดไปภายในวงแหวน ไปเรื่อย ๆ จนกระท่ังถึงโหนดปลายทางท่ีต้องการคร้ันเมื่อครบวงรอบแล้วรหัสโทเค็นก็จะเข้าสู่สภาวะว่างอีกคร้ัง หนง่ึ ดว้ ยการสง่ ทอดรหสั วา่ งไปตามวงแหวนผา่ นโหนดตา่ ง ๆ เปน็ วงรอบ และพร้อมท่จี ะให้โหนดอืน่ ๆ ครอบครองโทเคน็ เพื่อการส่งข้อมลู ในรอบต่อไป สาหรับกลไกการทางานของโปรโตคอล Token Passing สามารถสรุปได้ด้วยการพิจารณา รายละเอียดจาก รูปที่ 1.24 รหัสโทเค็น ในขณะว่างอยู่ ไม่มีโหนดใดครอบครองได้วิ่งไปตามรอบ วงแหวน AT B CD รูปท่ี 1.24 รหสั โทเค็นในขณะว่างอยู่ไมม่ ีโหนดใดครอบครอง ท่มี า : นายยุทธวิธ ชูสวน พ.ศ. 2560 หน่วยท่ี 1 หลักการของระบบเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์
56 ในรูปที่ 1.25 โหนด A ไดค้ รอบครองโทเค็น และตอ้ งการส่งขอ้ มูลไปยังโหนด D AB A to D CD รปู ท่ี 1.25 โหนด A ได้ครอบครองโทเคน็ และต้องการสง่ ข้อมลู ไปยังโหนด D ทม่ี า : นายยุทธวิธ ชสู วน พ.ศ. 2560 ในรูปที่ 1.26 โทเคน็ พร้อมขอ้ มูลว่ิงผ่านโหนด C เพือ่ ไปยงั โหนด D ซึ่งเปน็ จุดหมายปลายทาง โหนด D ตรวจสอบพบว่าเป็นข้อมูลท่ีส่งมายังตน จงึ ทาการคัดลอกเฟรมข้อมูล และส่งทอดต่อไปตาม วงแหวน AB A to D CD รูปที่ 1.26 โทเคน็ พรอ้ มข้อมูลวิ่งผ่านโหนด C เพ่อื ไปยังโหนด D ทม่ี า : นายยทุ ธวธิ ชสู วน พ.ศ. 2560 หนว่ ยท่ี 1 หลกั การของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
57 ในรูปที่ 1.27 โหนด A ไดร้ ับรหัสโทเค็นที่ตนส่งไป นน่ั หมายความวา่ ข้อมูลได้ส่งถึงปลายทาง แล้ว ดังนั้นจึงดาเนินการปลดรหัสโทเค็นเป็นรหัสว่าง และส่งไปตามวงแหวน เพ่ือให้โหนดอ่ืน ครอบครองโทเค็นเพ่อื ส่งข้อมูลใหม่ในรอบต่อไป AB T CD รปู ท่ี 1.27 โหนด A ได้รบั รหัสโทเคน็ ทส่ี ง่ ที่มา : นายยทุ ธวธิ ชูสวน พ.ศ. 2560 1.10.3 เอฟดีดีไอ (Fiber Distributed Data Interface: FDDI) หน่วยงาน ANSI ได้ กาหนดโปรโตคอลที่ใช้งานบนเครือข่ายท้องถิ่น โดยมีการควบคุมแบบโทเค็นริง ส่งข้อมูลด้วยความ รวดเร็ว 100 เมกะบิตต่อวินาทีบนสายเคเบิลใยแก้วนาแสง กลไกการส่งข้อมูลบนเครือข่ายเอฟดีดีไอ จะใช้ Token Passing เช่นเดียวกับไอบีเอ็มโทเค็นริงแต่เอฟดีดีไอจะทางานด้วยความเร็วสูงกว่า ประกอบกบั เครอื ข่ายเอฟดีดีไอยังสามารถออกแบบเพอ่ื รองรบั ความเสียหายของระบบได้ ดว้ ยการเพ่ิม วงแหวนในเครือข่ายอกี รวมเปน็ 2 วงแหวนดว้ ยกันซึ่งประกอบดว้ ยวงแหวนปฐมภมู แิ ละแหวนทตุ ิยภมู ิ 1.10.3.1 วงแหวนปฐมภมู ิ (Primary Ring) คอื วงแหวนหลักด้านนอกซ่ึงใช้เป็นสาย ส่งข้อมลู หลักภายในเครอื ขา่ ย โดยรหสั โทเคน็ จะว่ิงรอบวงแหวนทิศทางใดทิศทางหนง่ึ 1.10.3.2 วงแหวนทุติยภูมิ (Secondary Ring) คือ วงแหวนสารองที่อยู่ด้านใน โทเคน็ ที่อยวู่ งแหวนด้านในจะว่งิ ในทิศทางตรงกันข้ามกับวงแหวนดา้ นนอก โดยวงแหวนทุตยิ ภูมิจะถูก ใช้งานเมื่อวงแหวนปฐมภูมิเกิดปัญหา เช่น สายเคเบิลที่วงแหวนปฐมภูมิขาดและเม่ือเหตุการณ์ ดังกล่าวเกิดขึ้น วงจรภายในวงแหวนทุติยภูมิก็จะเริ่มทางานด้วยการเช่ือมต่อเข้ากับวงแหวนปฐมภูมิ ทันที ทาให้สามารถประคบั ประคองระบบให้ยังคงทางานต่อไปได้ โดยโทเค็นก็ยังคงสามารถวิ่งภายใน รอบวงแหวนไดเ้ ชน่ เดิม ทาใหเ้ ครอื ข่ายสามารถดาเนินการไดต้ ามปกติ ซ่ึงหลกั การทางานเป็นไป ดังรูป ที่ 1.28 เครือข่ายเอฟดีดีไอที่มีวงแหวน 2 วง โดยโทเค็นที่วิ่งอยู่ภายในรอบวงแหวนทั้งสองจะว่ิงใน ทิศทางตรงกันขา้ ม หนว่ ยที่ 1 หลักการของระบบเครอื ข่ายคอมพิวเตอร์
58 วงแหวนปฐมภูมิ วงแหวนทตุ ิยภมู ิ รูปที่ 1.28 เครือขา่ ยเอฟดีดไี อทมี่ วี งแหวน 2 วง ทม่ี า : นายยทุ ธวิธ ชสู วน พ.ศ. 2560 ในรูปท่ี 1.29 วงจรของวงแหวนสารองจะเชื่อมต่อเข้ากับวงแหวนหลัก เพื่อให้เกิดวงรอบได้ อีกคร้ังหน่ึง ทาให้โทเค็นยังคงวิ่งรอบภายในวงแหวนได้เช่นเดิม ส่งผลให้เครือข่ายยังคงดาเนินงานได้ ตามปกติ วงแหวนปฐมภูมิ วงแหวนทตุ ิยภูมิ รปู ที่ 1.29 วงจรของวงแหวนสารองจะเชื่อมต่อเขา้ กบั วงแหวนหลกั ท่ีมา : นายยุทธวิธ ชูสวน พ.ศ. 2560 หน่วยที่ 1 หลกั การของระบบเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์
59 1.10.4 ระบบเครือข่ำยไร้สำย (Wireless Lan) เกิดขึ้นครั้งแรก ในปี ค.ศ. 1971 บนเกาะ ฮาวาย โดยโปรเจกต์ ของนักศึกษาของมหาวิทยาลัยฮาวาย ที่ชื่อว่า “ALOHNET” ขณะนั้นลักษณะ การส่งข้อมูลเป็นแบบ Bi-directional ส่งไป-กลับง่าย ๆ ผ่านคล่ืนวิทยุส่ือสารกันระหว่าง คอมพิวเตอร์ 7 เครือ่ ง ซ่ึงตั้งอยบู่ นเกาะ 4 เกาะโดยรอบและมีศูนย์กลางการเชอ่ื มต่ออยูท่ ี่เกาะ ๆ หน่ึง ท่ีชือ่ วา่ Oahu ระบบเครือข่ายไร้สาย (Wireless Local Area Network : WLAN) คือ ระบบการสื่อสาร ขอ้ มูลที่มีรูปแบบในการสื่อสารแบบไม่ใชส้ าย โดยใช้การส่งคลื่นความถี่วิทยุในย่านวิทยุ RF และ คล่ืน อินฟราเรด ในการรับและส่งข้อมูลระหว่างคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่อง ผ่านอากาศ ทะลุกาแพง เพดาน หรอื ส่ิงก่อสร้างอืน่ ๆ โดยปราศจากความต้องการของการเดินสาย นอกจากน้ันระบบเครือข่ายไร้สายก็ ยังมีคุณสมบัติครอบคลมุ ทกุ อย่างเหมือนกับระบบ LAN แบบใช้สาย ท่ีสาคัญก็ คือ การที่ไม่ต้องใช้สายทาให้การเคลื่อนย้ายการใช้งานทาได้โดยสะดวกไม่เหมือน ระบบ LAN แบบใช้สาย ที่ต้องใช้เวลาและการลงทุนในการปรับเปลี่ยนตาแหน่งการใช้งานเครื่อง คอมพิวเตอร์ ซง่ึ ประโยชนข์ องระบบเครอื ขา่ ยไร้สายมดี งั น้ี 1. Mobility Improves Productivity & Service มีความคล่องตัวสูง ดังนั้นไม่ว่าเราจะ เคลื่อนที่ไปท่ีไหนหรือเคล่ือนย้ายคอมพิวเตอรไ์ ปตาแหนง่ ใดกย็ ังมีการเชื่อมต่อกับเครือข่ายตลอดเวลา ตราบใดที่ยงั อยู่ในระยะการสง่ ข้อมูล 2. Installation Speed And Simplicity สามารถติดต้ังได้ง่ายและรวดเร็วเพราะไม่ต้อง เสียเวลาตดิ ตง้ั สายเคเบิล และไมร่ กรุงรงั 3. Installation Flexibility สามารถขยายระบบเครือข่ายได้ง่าย เพราะเพียงแค่มีพีซีการ์ด มาตอ่ เข้ากับโนต๊ บุ๊ค หรอื พีซีก็เขา้ สู่เครือขา่ ยได้ทนั ที 4. Reduced Cost-Of-Ownership ลดค่าใช้จ่ายโดยรวม ที่ผู้ลงทุนต้องลงทุน ซ่ึงมีราคาสูง เพราะในระยะยาวแล้ว ระบบเครอื ข่ายไรส้ ายไม่จาเป็นตอ้ งเสียคา่ บารุงรกั ษาและการขยายเครือข่ายก็ ลงทุนน้อยกวา่ เดิมหลายเทา่ เนื่องดว้ ยความง่ายในการติดตงั้ 5. Scalability เครือข่ายไร้สายทาให้องค์กรสามารถปรับขนาดและความเหมาะสมได้ง่าย ไม่ยุ่งยาก เพราะสามารถโยกย้ายตาแหน่งการใช้งานโดยเฉพาะระบบท่ีมีการเชื่อมระหว่างจุดต่อจุด เชน่ ระหวา่ งตกึ หน่วยท่ี 1 หลักการของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
60 1.1 ระบบเครือข่ำยคอมพิวเตอร์ (Computer Network System) หมายถึง การเชื่อมต่อ คอมพวิ เตอร์ต้ังแต่ 2 เคร่อื งขึ้นไปเข้าดว้ ยกันด้วยสายเคเบิล หรอื สื่ออื่น ๆ ทาให้คอมพิวเตอร์สามารถ รับสง่ ข้อมลู กันได้ ประโยชน์ของระบบเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ มีดงั น้ี 1. ทาให้เกดิ การทางานร่วมกันเป็นกลุม่ และสามารถทางานพรอ้ มกัน 2. สามารถใช้ข้อมลู ตา่ ง ๆ ร่วมกัน ซึง่ ทาให้องคก์ ารไดร้ บั ประโยชน์มากขนึ้ 3. สามารถใชท้ รัพยากรได้คุ้มคา่ เช่น ใชเ้ คร่อื งประมวลผลรว่ มกนั แบง่ กันใช้แฟม้ ข้อมูล ใช้ เคร่อื งพมิ พ์ และอุปกรณท์ ่มี ีราคาแพงร่วมกนั 4. ลดต้นทุน เพราะการลงทนุ สามารถลงทุนให้เหมาะสมกับหนว่ ยงานได้ 5. สามารถขยายอาณาเขตในการส่อื สารข้อมลู ได้ 1.2 พ้ืนฐำนกำรสื่อสำรข้อมูล การสื่อสาร (Communication) คอื กระบวนการแลกเปลี่ยนขา่ วสาร เกิดข้ึนโดยการถ่ายทอดข้อมูลข่าวสารจากบุคคลฝ่ายหน่ึงซึ่งทาหน้าท่ีส่งสารผ่านส่ือหรือช่องทาง ตา่ ง ๆ ไปยังผรู้ ับสารโดยมี วตั ถุประสงคอ์ ย่างใดอยา่ งหนงึ่ องค์ประกอบหลกั ของการส่ือสารมี 5 ส่วนไดแ้ ก่ ผูส้ ่งสาร (Sender) ผู้รับสาร (Receiver) ข้อมูล ข่าวสาร (Message) สื่อกลาง (Media) และโปรโตคอล (Protocol) 1.2.1 ประเภทของสัญญาณในการสอ่ื สารข้อมูล 1.2.1.1 สญั ญาณอนาล็อก (Analog Signal) 1.2.1.2 สัญญาณดิจิตอล (Digital Signal) 1.2.2 รูปแบบการสง่ สญั ญาณขอ้ มูล 1.2.2.1 แบบซิมเพล็กซ์ (Simplex) 1.2.2.2 แบบฮาลฟ์ ดเู พลก็ ซ์ (Half Duplex) 1.2.2.3 แบบฟูลดูเพล็กซเ์ ต็ม (Full Duplex) 1.3 หนว่ ยงำนกำหนดมำตรฐำน เป็นหน่วยงานท่ีก่อตัง้ ขนึ้ จากแนวคิดท่ีต้องการให้ผ้บู ริโภคสามารถ เลอื กซอ้ื ผลติ ภณั ฑเ์ ครือข่ายทีม่ าจากบรษิ ัทผผู้ ลติ ต่าง ๆ มาใช้งานร่วมกันได้ ซงึ่ ประกอบด้วย 1.3.1 องค์กรกาหนดมาตรฐานระหวา่ งประเทศ (InternationalStandardsOrganization:ISO) 1.3.2 สถาบันมาตรฐานแหง่ ชาตสิ หรัฐอเมริกา (AmericanNationalStandardsInstitute: ANSI) 1.3.3 สถาบนั อเิ ลก็ ทรอนิกส์และวศิ วกรรมไฟฟา้ (Institute ofElecticalandElectronicsEngineers:IEEE) 1.4 แบบจำลอง OSI สำหรับเครือข่ำย แบบจาลอง OSI ประกอบไปด้วยชั้นส่ือสาร 7 ช้ันด้วยกัน จะมีหนา้ ท่ีดังรายละเอยี ดตอ่ ไปนี้ ชน้ั ท่ี 1 ชน้ั สอ่ื สารทางกายภาพ (Physical Layer) ชั้นที่ 2 ชน้ั สื่อสารเชือ่ มต่อข้อมลู (Data Link Layer) ช้ันที่ 3 ชั้นส่อื สารควบคุมเครอื ขา่ ย (Network Layer) ช้ันท่ี 4 ช้นั สือ่ สารเพอื่ นาส่งข้อมลู (Transport Layer) หน่วยท่ี 1 หลักการของระบบเครอื ข่ายคอมพิวเตอร์
61 ชั้นที่ 5 ชั้นสอ่ื สารควบคุมหน้าตา่ งสอื่ สาร (Session Layer) ชั้นที่ 6 ช้ันสอ่ื สารนาเสนอข้อมลู (Presentation Layer) ชน้ั ที่ 7 ชน้ั ส่ือสารการประยุกต์ (Application Layer) 1.5 ประเภทของเครอื ข่ำยคอมพิวเตอร์ 1.5.1 เครือขา่ ยท้องถิน่ หรือเครือข่ายแลน ( Local Area Network: LAN ) 1.5.2 เครอื ข่ายระดับเมอื ง หรอื เครือขา่ ยแมน (Metropolitan Area Network : MAN) 1.5.3 เครอื ขา่ ยระดบั ประเทศ หรือเครือข่ายแวน (Wide Area Network: WAN) 1.6 ลักษณะกำรเช่ือมโยงเครอื ขำ่ ย 1.6.1 การเช่ือมต่อแบบจดุ ต่อจดุ (Point-To-Point) 1.6.2 การเชอ่ื มต่อแบบหลายจุด (Multi-Point) 1.7 รปู แบบกำรเชอ่ื มโยงเครือขำ่ ย คือ ลักษณะทางกายภาพ (ภายนอก) ของระบบเครือข่าย ซึง่ หมายถึง ลักษณะของการเช่ือมโยงสายสอื่ สารเขา้ กับอปุ กรณ์อิเล็กทรอนิกส์ และเครื่องคอมพิวเตอร์ ภายในเครอื ข่ายด้วยกนั นั่นเอง 1.7.1 โทโปโลยแี บบบสั (Bus Topology) 1.7.2 โทโปโลยีแบบดาว (Star Topology) 1.7.3 โทโปโลยแี บบวงแหวน (Ring Topology 1.8 สถำปัตยกรรมเครือข่ำย การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เข้าด้วยกันเป็นเครือข่ายท้องถ่ิน (LAN) นั้น จุดประสงค์หลักอย่างหน่ึงก็ คือ การแบ่งกันใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ เพื่อจัดสรรการใช้งาน ทรัพยากรในระบบเครือข่ายสามารถจาแนกได้เป็น 3 รูปแบบ คือ 1.8.1 เครือขา่ ยแบบ Peer-To-Peer 1.8.2 เครือขา่ ยแบบ Server-Based 1.8.3 เครือข่ายแบบไคลแอนต/์ เซริ ์ฟเวอร์ (Client/Server) 1.9 โปรโตคอลควบคุมกำรเข้ำถึงส่ือกลำง สาหรับโปรโตคอลพื้นฐานที่จะกล่าวต่อไปน้ีก็ คือ โปรโตคอล CSMA/CD (Carrier Sense Multiple Access with Collision Detection) ซ่ึงจัดเป็น โปรโตคอลตวั หนงึ่ ท่นี ามาใช้ควบคมุ การเข้าถึงสอื่ กลางบนเครือขา่ ยท้องถ่นิ จะมีกลไกการทางานดังน้ี กลไกที่ 1 การตรวจฟงั สญั ญาณ (Carrier Sense) กลไกที่ 2 การเข้าถึงถึงสอื่ กลางรว่ มกัน (Multiple Access) กลไกที่ 3 การตรวจจบั การชนกนั (Collision Detection) 1.10 ระบบเครอื ข่ำยท้องถิ่น (Local Area Networks: LAN) 1.10.1 อีเทอรเ์ นต็ (Ethernet) เครือข่ายอเี ทอร์เน็ตจัดเปน็ เครือข่ายทอ้ งถ่ินชนดิ แรกท่ีนามาใช้ ในแวดวงธุรกิจในราวปี ค.ศ.1979 1.10.1.1 อีเทอร์เนต็ 10 Bases 5 1.10.1.2 อีเทอรเ์ น็ต 10 Base 2 1.10.1.3 อีเทอร์เน็ต 10 Base T 1.10.1.4 สวิตช์เทอรเ์ น็ต (Switched Ethernet) หนว่ ยที่ 1 หลกั การของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
62 1.10.1.5 อเี ทอร์เนต็ ความเร็วสูง (Fast Ethernet) 4.10.1.6 กกิ ะบิตอเี ทอร์เน็ต (Gigabit Ethernet 1.10.2 ไอบีเอ็มโทเค็นริง โปรโตคอล CAMA/CD ท่ีใช้งานบนเครือข่ายอีเทอร์เน็ต เป็นกลไก การสง่ ขอ้ มลู บนเครอื ขา่ ยท่มี โี อกาสเกิดการชนกนั ของกลุ่มข้อมลู สูง 1.10.3 เอฟดีดีไอ (Fiber Distributed Data Interface: FDDI) หน่วยงาน ANSI ได้กาหนด โปรโตคอลที่ใช้งานบนเครือข่ายท้องถ่ิน โดยมีการควบคุมแบบโทเค็นริง ส่งข้อมูลด้วยความ รวดเรว็ 100 เมกะบติ ต่อวนิ าทีบนสายเคเบิลใยแกว้ นาแสง 1.10.3.1 วงแหวนปฐมภูมิ (Primary Ring) คือ วงแหวนหลักด้านนอกซึ่งใช้เป็นสาย ส่งขอ้ มูลหลกั ภายในเครอื ขา่ ย โดยรหัสโทเคน็ จะวิง่ รอบวงแหวนทิศทางใดทิศทางหน่ึง 1.10.3.2 วงแหวนทุติยภูมิ (Secondary Ring) คือ วงแหวนสารองท่ีอยู่ด้านในโทเค็น ที่อยู่วงแหวนด้านในจะว่งิ ในทศิ ทางตรงกนั ขา้ มกับวงแหวนด้าน 1.10.4 ระบบเครือข่ายไร้สาย (Wireless Local Area Network : WLAN) คือ ระบบการ ส่ือสารข้อมูลท่ีมีรูปแบบในการสื่อสารแบบไม่ใช้สาย โดยใช้การส่งคล่ืนความถ่ีวิทยุในย่าน วิทยุ RF และ คล่ืนอินฟราเรด ในการรับและส่งข้อมูลระหว่างคอมพิวเตอร์แต่ละเคร่ือง ผ่านอากาศ ทะลุกาแพงเพดานหรือสิง่ กอ่ สร้างอน่ื ๆ ประโยชนข์ องระบบเครือขา่ ยไร้สาย มีดงั น้ี 1. มีความคลอ่ งตัวสงู 2. สามารถตดิ ต้ังได้งา่ ยและรวดเร็ว 3. สามารถขยายระบบเครอื ขา่ ยไดง้ า่ ย 4. ลดค่าใชจ้ า่ ยโดยรวม 5. ทาให้องคก์ รสามารถปรับขนาดและความเหมาะสมได้ง่ายไมย่ ุ่งยาก หน่วยท่ี 1 หลกั การของระบบเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์
63 ตอนที่ 1 จงตอบคำถำมต่อไปนี้ 1. จงทำเครอ่ื งหมำย ใหต้ รงกับข้อควำมในช่องท่ีเลือก ชนิดของสัญญาณ สญั ญาณดิจิตอล สัญญาณอนาล็อก (Digital Signal) (Analog Signal) ในการส่ือสารขอ้ มลู 1. เสียงดนตรี 2. เสยี งโทรศพั ท์มอื ถอื 3. เสียงสญั ญาณทวี ี 4. เสียงเด็กร้องไห้ 5. เสยี งนกรอ้ ง 6. เสยี งทวี ี 7. เสียงสญั ญาณทวี ี 8. เสียงคลื่นจากหาดทราย 9. เสยี งสัญญาณทีวีดิจิตอล 10. เสยี งลมพัด 11. เสียงสัญญาณวทิ ยุสอ่ื สาร 12. เสียงรถพยาบาล 13. เสยี งไก่ขนั 14. เสียงสญั ญาณกล้องวงจรปดิ 15. เสยี ฟา้ รอ้ ง หน่วยท่ี 1 หลกั การของระบบเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์
64 2. พจิ ำรณำข้อควำมตอ่ ไปน้ี ว่ำเปน็ เครือข่ำยประเภทใดแล้วทำเคร่ืองหมำย ลงในชอ่ งว่ำง ลำดบั ข้อควำม เครอื ขำ่ ยแลน เครือขำ่ ยแมน เครือข่ำยแวน 1 เครือขำ่ ยภำยในโรงเรยี น 2 เครือขำ่ ยของธนำคำร 3 เครือขำ่ ยทะเบียนรำษฎรข์ อง กระทรวงมหำดไทย 4 เครือขำ่ ยภำยในโรงพยำบำล 5 เครอื ข่ำยภำยในหำ้ งสรรพสินค้ำ 6 เครอื ขำ่ ยระหว่ำงประเทศไทย และประเทศลำว 7 เครือข่ำยสหกรณร์ ้ำนค้ำ โรงเรยี น 8 เครอื ข่ำยสำธำรณสขุ 9 เครอื ข่ำยภำยในเมืองกระบ่ี 10 เครือข่ำยภำยในสำนักงำน หนว่ ยที่ 1 หลกั การของระบบเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์
65 3. จงนำตวั อกั ษรหนำ้ ขอ้ ควำมเติมลงในช่องว่ำงให้ถูกตอ้ ง ก. โทโปโลยีแบบบัส (Bus Topology) ข. โทโปโลยีแบบดำว (Star Topology) ค. โทโปโลยีแบบวงแหวน (Ring Topology) …………1. หากสายแกนหลักเกิดขาด เครือข่ายท้งั ระบบจะหยุดการทางาน …………2. หากมบี างโหนดบนเครือข่ายเกิดขัดข้อง จะยากต่อการตรวจสอบและค้นหาโหนดท่ีเสีย …………3. ประหยดั สายเคเบิล …………4. การวเิ คราะหจ์ ดุ เสยี บนเครือข่ายทาไดง้ า่ ยกว่า เน่อื งจากมีอปุ กรณ์มีฮบั เปน็ ศูนยก์ ลาง …………5. หากอปุ กรณ์ฮับเสยี หาย เครือข่ายจะหยุดทางานทนั ที …………6. กรณีเครือข่ายหยดุ การทางาน ตรวจสอบจุดเสยี ค่อนข้างยาก …………7. มีรปู แบบโครงสร้างไม่ซบั ซ้อน ตดิ ตง้ั งา่ ย …………8. สิ้นเปลอื งสายเคเบิล เนอ่ื งจากทุก ๆ โหนดต้องมีสายเคเบิลทางโหนดเช่ือมโยงเข้ากับฮบั …………9. มีรูปแบบโครงสร้างไม่ซบั ซ้อน ตดิ ตัง้ งา่ ย …………10. สทิ ธใิ นการสง่ ข้อมลู ของแตล่ ะโหนดภายในเครือข่ายมีความเท่าเทยี มกนั หน่วยที่ 1 หลักการของระบบเครอื ข่ายคอมพิวเตอร์
66 ตอนที่ 2 จงตอบคำถำมต่อไปน้ี 1. จงอธบิ ายความหมายของเครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์มาใหเ้ ข้าใจ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. การส่งสญั ญาณข้อมูลประกอบดว้ ยแบบใดบ้าง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. องคป์ ระกอบของระบบการส่อื สารข้อมูลประกอบดว้ ยอะไรบ้าง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 4. แบบจาลอง OSI สาหรบั เครือข่ายประกอบดว้ ยชั้นสือ่ สารจานวนก่ชี ัน้ อะไรบา้ ง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 5. สถาปัตยกรรมเครือข่ายจาแนกได้กีร่ ปู แบบอะไรบา้ ง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… *หมำยเหตุ เกณฑ์การใหค้ ะแนนตอนที่ 1 และ ตอนท่ี 2 ข้อละ 1 คะแนน รวม 40 ข้อ 20 คะแนน หน่วยท่ี 1 หลกั การของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
67 ตอนท่ี 1 ใหท้ ำเครอื่ งหมำยให้ตรงกบั ข้อควำมในช่องทเ่ี ลอื ก 1. จงทำเคร่อื งหมำย ให้ตรงกบั ข้อควำมในช่องที่เลอื ก ชนิดของสัญญาณ สัญญาณดิจิตอล สญั ญาณอนาลอ็ ก (Digital Signal) (Analog Signal) ในการส่ือสารขอ้ มูล 1. เสียงดนตรี 2. เสียงโทรศพั ท์มือถอื 3. เสียงสญั ญาณทีวี 4. เสยี งเด็กร้องไห้ 5. เสยี งนกร้อง 6. เสียงทีวี 7. เสียงสัญญาณทวี ี 8. เสียงคล่นื จากหาดทราย 9. เสียงสัญญาณทีวดี จิ ิตอล 10. เสียงลมพัด 11. เสียงสัญญาณวทิ ยสุ อื่ สาร 12. เสยี งรถพยาบาล 13. เสียงไกข่ นั 14. เสียงสัญญาณกล้องวงจรปิด 15. เสียฟ้าร้อง หน่วยท่ี 1 หลักการของระบบเครอื ข่ายคอมพิวเตอร์
68 2. พจิ ำรณำข้อควำมต่อไปน้ี วำ่ เปน็ เครือข่ำยประเภทใดแล้วทำเครอื่ งหมำย ลงในชอ่ งว่ำง ลำดับ ข้อควำม เครอื ขำ่ ยแลน เครือข่ำยแมน เครอื ขำ่ ยแวน 1 เครอื ข่ำยภำยในโรงเรียน 2 เครือขำ่ ยของธนำคำร 3 เครอื ข่ำยทะเบียนรำษฎร์ของ กระทรวงมหำดไทย 4 เครือข่ำยภำยในโรงพยำบำล 5 เครือข่ำยภำยในหำ้ งสรรพสินคำ้ 6 เครือข่ำยระหวำ่ งประเทศไทย และประเทศลำว 7 เครอื ข่ำยสหกรณ์รำ้ นค้ำ โรงเรยี น 8 เครอื ข่ำยสำธำรณสุข 9 เครอื ข่ำยภำยในเมืองกระบี่ 10 เครอื ขำ่ ยภำยในสำนกั งำน หน่วยที่ 1 หลักการของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
69 3. จงนำตวั อกั ษรหน้ำขอ้ ควำมเตมิ ลงในช่องวำ่ งให้ถูกตอ้ ง ง. โทโปโลยีแบบบสั (Bus Topology) จ. โทโปโลยีแบบดำว (Star Topology) ฉ. โทโปโลยแี บบวงแหวน (Ring Topology) ……ก……1. หากสายแกนหลกั เกิดขาด เครือขา่ ยทัง้ ระบบจะหยุดการทางาน ……ค……2. หากมีบางโหนดบนเครอื ข่ายเกดิ ขดั ข้อง จะยากต่อการตรวจสอบและค้นหาโหนดทีเ่ สยี ……ค……3. ประหยดั สายเคเบิล ……ข……4. การวเิ คราะหจ์ ดุ เสียบนเครอื ขา่ ยทาได้งา่ ยกว่า เนอ่ื งจากมอี ุปกรณ์มีฮับเปน็ ศูนยก์ ลาง ……ข……5. หากอปุ กรณฮ์ ับเสียหาย เครอื ข่ายจะหยุดทางานทนั ที ……ก……6. กรณเี ครือข่ายหยุดการทางาน ตรวจสอบจุดเสียค่อนข้างยาก ……ก……7. มีรูปแบบโครงสร้างไมซ่ บั ซ้อน ตดิ ต้งั ง่าย ……ข……8. สิ้นเปลืองสายเคเบิล เน่อื งจากทุก ๆ โหนดตอ้ งมสี ายเคเบิลทางโหนดเชอ่ื มโยงเข้ากับฮับ ……ก……9. มรี ปู แบบโครงสร้างไม่ซบั ซอ้ น ติดตง้ั งา่ ย ……ค……10. สทิ ธใิ นการสง่ ข้อมลู ของแต่ละโหนดภายในเครอื ขา่ ยมีความเท่าเทียมกัน หนว่ ยที่ 1 หลักการของระบบเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์
70 ตอนที่ 2 จงตอบคำถำมต่อไปน้ี 1. จงอธิบายความหมายของเครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์มาให้เข้าใจ กำรเชอื่ มโยงคอมพิวเตอรต์ ัง้ แต่สองเครื่องขึ้นไปเข้ำด้วยกนั ผ่ำนช่องทำงกำรสอื่ สำร (Communication channel) เครอ่ื งคอมพิวเตอรค์ อมพวิ เตอรท์ ้ังสองเครือ่ งสำมำรถ ตดิ ตอ่ สอื่ สำรและทำงำน ร่วมกันได้ 2. การส่งสัญญาณข้อมูลประกอบดว้ ยแบบใดบา้ ง 1. แบบซมิ เพล็กซ์ (Simplex) 2. แบบฮำลฟ์ ดูเพลก็ ซ์ (Half Duplex) 3. แบบฟูลดเู พล็กซ์ (Full Duplex) 3. องค์ประกอบของระบบการสื่อสารขอ้ มูลประกอบดว้ ยอะไรบ้าง 1. ผ้สู ่ง (Sender) 2. ผู้รบั (Receiver) 3. ข่ำวสำร (Message) 4. สอ่ื กลำง (Media) 5. โพรโทคอล (Protocol) 4. แบบจาลอง OSI สาหรบั เครอื ขา่ ยประกอบด้วยชน้ั สอื่ สารจานวนกี่ช้ันอะไรบา้ ง ชั้นท่ี 1 ชน้ั สื่อสำรทำงกำยภำพ (Physical Layer) ช้ันที่ 2 ชน้ั สือ่ สำรเช่อื มตอ่ ขอ้ มูล (Data Link Layer) ชั้นที่ 3 ช้ันสอื่ สำรควบคุมเครือขำ่ ย (Network Layer) ช้ันที่ 4 ชน้ั สอ่ื สำรเพือ่ นำสง่ ขอ้ มูล (Transport Layer) ชัน้ ที่ 5 ชั้นส่อื สำรควบคุมหนำ้ ตำ่ งสื่อสำร (Session Layer) ชน้ั ท่ี 6 ชัน้ สื่อสำรนำเสนอขอ้ มูล (Presentation Layer) ชนั้ ท่ี 7 ชั้นสื่อสำรกำรประยกุ ต์ (Application Layer) 5. สถาปัตยกรรมเครือข่ายจาแนกได้กรี่ ปู แบบอะไรบา้ ง 3 รปู แบบ ประกอบด้วย 1. เครอื ขำ่ ยแบบ Peer-To-Peer 2. เครอื ข่ำยแบบ Server-Based 3. เครือข่ำยแบบไคลแอนต/์ เซิรฟ์ เวอร์ (Client/Server) หน่วยที่ 1 หลกั การของระบบเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์
71 คำชีแ้ จง 1. โปรดทำเคร่ืองหมำยถูก () ลงในช่องระดบั ผลกำรประเมินตำมควำมเปน็ จริง 2. ระดับผลกำรประเมินคณุ ภำพ มี 5 ระดบั เปน็ ระดบั คะแนนดังน้ี 5 คะแนน หมายถึง มากทสี่ ุด 4 คะแนน หมายถึง มาก 3 คะแนน หมายถงึ ปานกลาง 2 คะแนน หมายถึง น้อย 1 คะแนน หมายถึง น้อยทสี่ ุด รำยกำรประเมนิ ที่ ชอ่ื - สกลุ ควำม ควำมมีวินยั มนษุ ยควำม ูผก ัพนธ์ รับผดิ ชอบ สัมพนั ธ์ คะแนนรวม ทักษะวชิ ำชพี 5 4 3 2 1 5 4 3 2 1 2 1 3 2 1 5 4 3 2 1 20 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9 10. ระดบั คุณภำพ ดีมาก O 17 - 20 ดี O 13 - 16 ปานกลาง O 9 - 12 พอใช้ O 5-8 ปรับปรุง O 0- 4 ลงช่อื ........................................................ผูป้ ระเมิน (......................................................) หนว่ ยที่ 1 หลกั การของระบบเครอื ข่ายคอมพิวเตอร์
72 แบ่งผเู้ รยี นออกเปน็ กลุ่ม ๆ ให้แตล่ ะกลมุ่ มสี มาชิกเทา่ กันแล้วทาการทดลอง ตามขนั้ ตอนทีใ่ บงานกาหนด เม่อื ทดลองเสร็จเป็นทีเ่ รยี บรอ้ ยแล้วให้แต่ละ กลุ่มนาเสนอหน้าช้ันเรยี น 1. วทิ ยุกระจายเสียง 2. วทิ ยุสื่อสาร 3. โทรศัพทม์ ือถือ 1. ใหผ้ ู้เรียนทดลองสง่ สัญญาณจากอุปกรณ์ตอ่ ไปนี้ว่าเป็นการสง่ สัญญาณแบบใดแล้วบันทึก ผลท่ไี ดล้ งในตารางที่ 1-1 ตำรำงท่ี 1-1 รูปภาพ รูปแบบการส่งสญั ญาณ วทิ ยุกระจำยเสยี ง วิทยุสอ่ื สำร หน่วยที่ 1 หลักการของระบบเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์
ตำรำงที่ 1-1 (ตอ่ ) 73 รูปภาพ รูปแบบการส่งสัญญาณ โทรศัพท์มือถอื 2. ให้ผเู้ รยี นศกึ ษาว่าภายในห้องคอมพิวเตอรท์ ผ่ี ้เู รยี นศกึ ษาอยู่ มกี ารเชอื่ มตอ่ เครือข่าย คอมพิวเตอรเ์ ข้าด้วยกนั อย่างไรพร้อมวาดภาพการเช่ือมตอ่ เครือข่าย หนว่ ยที่ 1 หลกั การของระบบเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์
74 3. บันทกึ ผลการศกึ ษาท่ีได้ลงในตาราง ผลกำรศึกษำ ตำรำงที่ 1-2 เครือข่ำยคอมพวิ เตอร์ห้อง 531 ประเภทเครือข่าย ลักษณะการเช่ือมโยงเครือข่าย โทโปโลยีเครือขา่ ย สถาปตั ยกรรมเครอื ขา่ ย ระบบเครือขา่ ยท้องถ่นิ …………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………. หน่วยที่ 1 หลักการของระบบเครอื ข่ายคอมพิวเตอร์
Search