การเช่ือมตอ่ เครือข่าย (Line Configuration) การเชื่อมตอ่ เครือขา่ ย หมายถงึ ความสัมพนั ธ์ของอปุ กรณส์ อ่ื สารท่สี ือ่ สารไป ตามแนวเส้นทาง หรือเรียกวา่ ลิงก์(Link) โทโพโลยี คอื รปู แบบการเช่ือมต่อเครือขา่ ยเชิงกายภาพ มอี ยู่ 2 รปู แบบคอื การเชอ่ื มตอ่ แบบจดุ ตอ่ จดุ และการเชอ่ื มตอ่ แบบหลายจดุ
การเชื่อมตอ่ เครือข่าย (Line Configuration)(ตอ่ ) 1. การเช่ือมตอ่ แบบจุดต่อจุด (Point-to-Point) เป็นการเช่ือมตอ่ ระหวา่ งอปุ กรณส์ องตวั โดยชอ่ งทางส่อื สารจะถกู จบั จองเพ่ือการส่ือสาร ระหวา่ งอปุ กรณท์ งั้ สองเทา่ นนั้ ขอ้ ดี สามารถใชค้ วามเรว็ ในการส่อื สารไดอ้ ยา่ งเต็มท่ี เหมาะสาหรบั การสง่ ขอ้ มลู ทีละมากๆ ขอ้ เสยี ไมเ่ หมาะกบั เครอื ขา่ ยขนาดใหญ่ Link cable Link cable Link Microwave
การเชื่อมตอ่ เครือข่าย (Line Configuration)(ตอ่ ) 1. การเชอื่ มตอ่ แบบหลายจุด (Multi-Point/Multi-Drop) เป็นการเช่ือมตอ่ แบบมอี ปุ กรณม์ ากกวา่ หนง่ึ อปุ กรณท์ ่ีสามารถใชล้ งิ กร์ ่วมกนั เพ่ือการส่ือสาร ได้ หมายถงึ การใชช้ อ่ งทางการส่อื สารรว่ มกนั น่นั เอง ขอ้ ดี ประหยดั คา่ สายส่อื สาร ขอ้ เสยี อาจทาใหข้ อ้ มลู ท่ีส่อื สารเกิดการชนกนั
รูปแบบการเชื่อมตอ่ เครือข่าย (Topology) โทโพโลยีเป็นการเช่ือมตอ่ เครอื ขา่ ยระหวา่ งโหนด ลกั ษณะเชิงกายภาพ สามารถแบง่ เป็น 4 รูปแบบ ดงั นี้ 1. โทโพโลยแี บบบสั (Bus Topology) 2. โทโพโลยีแบบวงแหวน (Ring Topology) 3. โทโพโลยีแบบดาว (Star Topology) 4. โทโพโลยีแบบเมช (Mesh Topology)
รูปแบบการเชื่อมตอ่ เครือข่าย (Topology) (ตอ่ ) 1. โทโพโลยแี บบบสั (Bus Topology) จดั เป็นรูปแบบท่ีงา่ ย ประกอบดว้ ยสาย เคเบิลเสน้ หน่งึ ท่ีทาหนา้ ท่ีเป็นเสน้ หลกั ท่ีเรยี กกวา่ ”บสั ” โดยทกุ ๆ โหนดบนเครอื ขา่ ย จะตอ้ งเช่ือมตอ่ เขา้ กบั สายบสั และในการเช่ือมตอ่ สายเคเบิลจะตอ้ งมีอปุ กรณท์ ่ี เรยี กวา่ แท็ปเพ่ือนาไปประกอบกบั คอนเน็กเตอรข์ องการด์ เครอื ขา่ ย หรอื ท่ีเรียกวา่ ทีคอน เน็กเตอร์ (T-Connector) Bus
รูปแบบการเช่ือมตอ่ เครือข่าย (Topology) (ตอ่ ) การเช่ือมตอ่ แบบ Bus Topology ข้อดี 1. ใชส้ ายสง่ ขอ้ มลู นอ้ ยและมีรูปแบบท่ีงา่ ยในการติดตงั้ ทาใหล้ ดคา่ ใชจ้ า่ ยในการติดตงั้ และ บารุงรกั ษา 2. สามารถเพ่มิ อปุ กรณช์ นิ้ ใหมเ่ ขา้ ไปในเครอื ขา่ ยไดง้ า่ ย ข้อเสีย 1. ในกรณีท่ีเกิดการเสยี หายของสายสง่ ขอ้ มลู หลกั จะทาใหท้ งั้ ระบบทางานไมไ่ ด้ 2. การตรวจสอบขอ้ ผิดพลาดทาไดย้ าก ตอ้ งทาจากหลาย ๆจดุ
รูปแบบการเช่ือมตอ่ เครือข่าย (Topology) (ตอ่ ) 2. โทโพโลยแี บบวงแหวน (Ring Topology) เป็นการเช่ือมตอ่ อปุ กรณต์ า่ งๆ เขา้ กนั เป็น วงกลม ขอ้ มลู ขา่ วสารจะถกู สง่ จากโหนดหนง่ึ ไปยงั อีกโหนดหน่งึ วนอยใู่ นเครอื ขา่ ยไป ใน ทิศทางเดียวเหมือนวงแหวน วธิ ีท่ีจะสง่ ขอ้ มลู ในโทโพโลยีแบบวแหวนเรยี กวา่ การสง่ A ตอ่ โทเคน (Token Passing) การสง่ ตอ่ โทเคน (Token Passing) DB วิธีที่จะสง่ ขอ้ มลู ในโทโปโลยแี บบวงแหวนเรยี กวา่ การสง่ ตอ่ โทเคน โทเคน C เป็นขอ้ มลู พเิ ศษท่ีสง่ ผา่ นในเครอื ขา่ ยแบบวงแหวน แตล่ ะเครอื ข่ายจะมเี พียง โทเคนเดียวเทา่ นนั้ โทเคนนจี้ ะสง่ ตอ่ กนั ไปเรอ่ื ยๆ สาหรบั เคร่ืองที่ตอ้ งการสง่ ขอ้ มลู เม่ือไดร้ บั โทเคนแลว้ ก็จะมสี ทิ ธิ์ทจ่ี ะสง่ ขอ้ มลู การสง่ ขอ้ มลู ก็ทาไดโ้ ดย ใสท่ ่อี ยขู่ องเครอื่ งรบั ไวใ้ นขอ้ มลู แลว้ สง่ ตอ่ ๆ กนั ไป เมื่อขอ้ มลู มาถงึ เครอ่ื ง ปลายทาง หรอื เครอ่ื งที่มที ่อี ยตู่ รงกบั ทรี่ ะบใุ นเฟรมขอ้ มลู เครอื่ งนนั้ ก็จะนา ขอ้ มลู ไปโพรเซสส์ และสง่ เฟรมขอ้ มลู ตอบรบั กลบั ไปยงั เครอื่ งสง่ เพือ่ บอกให้ ทราบวา่ ไดร้ บั ขอ้ มลู เรยี บรอ้ ยแลว้ เม่ือเครอื่ งสง่ ไดร้ บั การตอบรบั แลว้ ก็จะ สง่ ผา่ นโทเคนตอ่ ไปยงั เครอื่ งถดั ไป เพ่ือเครอ่ื งอืน่ จะไดม้ ีโอกาสสง่ ขอ้ มลู บา้ ง
รูปแบบการเช่ือมตอ่ เครือข่าย (Topology) (ตอ่ ) การเช่ือมต่อแบบ Ring Topology ขอ้ ดี 1. แตล่ ะโหนดในวงแหวนมีโอกาสในการสง่ ขอ้ มลู เทา่ เทียมกนั 2. ประหยดั สายสญั ญาณ โดยจะใชส้ ายสญั ญาณเทา่ กบั จานวนโหนดท่ีเช่ือมตอ่ 3. ง่ายตอ่ การตดิ ตงั้ ขอ้ เสยี 1. หากวงแหวนชารุดหรอื เสียหาย จะสง่ ผลกระทบตอ่ ระบบทงั้ หมด 2. ตรวจสอบไดย้ าก ในกรณีท่ีมโี หนดใดโหนดหน่งึ เกิดขอ้ ขดั ขอ้ ง
รูปแบบการเชื่อมตอ่ เครือข่าย (Topology) (ตอ่ ) 3. โทโพโลยแี บบดาว (Star Topology) การเช่ือมโยงเครอื ขา่ ยตามมาตรฐานโทโพโลยี แบบดาว จะมอี ปุ กรณส์ าคญั ท่ีเรยี กวา่ ฮบั (Hub) โดยคอมพวิ เตอรท์ กุ โหนดบนเครอื ขา่ ย จะตอ้ งเช่ือมโยงสายเคเบลิ เขา้ กบั ฮบั ฮบั เป็นจดุ ผา่ นการติดตอ่ กนั ระหวา่ งทกุ โหนดในเครอื ขา่ ย สถานกี ลางจึงมีหนา้ ทเ่ี ป็นศนู ยค์ วบคมุ เสน้ ทางการสอื่ สาร ทงั้ หมด นอกจากนสี้ ถานกี ลางยงั ทาหนา้ ทเี่ ป็นศนู ยก์ ลางคอยจดั สง่ ขอ้ มลู ใหก้ บั โหนดปลายทางอกี ดว้ ย การสอื่ สารภายใน เครอื ขา่ ยแบบดาว จะเป็นแบบ 2 ทศิ ทางโดยจะอนญุ าตใหม้ ีเพยี งโหนดเดียวเทา่ นนั้ ที่ สามารถสง่ ขอ้ มลู เขา้ สเู่ ครอื ขา่ ยได้ จึงไมม่ ีโอกาสท่หี ลายๆ โหนดจะสง่ ขอ้ มลู เขา้ สเู่ ครอื ขา่ ยในเวลาเดยี วกนั เพือ่ ปอ้ งกนั การชนกนั ของ สญั ญาณขอ้ มลู เครอื ขา่ ยแบบดาว เป็นโทโปโลยีอกี แบบหน่ึงท่ีเป็นท่ี นยิ มใชก้ นั ในปัจจบุ นั
รูปแบบการเชื่อมตอ่ เครือข่าย (Topology) (ตอ่ ) การเช่ือมต่อแบบ Star Topology สาย LAN HUB ข้อดี 1. การติดตงั้ เครอื ขา่ ยและการดแู ลรกั ษาทาไดง้ า่ ย 2. หากมีโหนดใดเกิดความเสียหายก็สามารถตรวจสอบไดง้ ่าย และเน่ืองจากใชอ้ ปุ กรณ์ 1 ตวั ตอ่ สายสง่ ขอ้ มลู 1 เสน้ ทาใหก้ ารเสียหายของอปุ กรณใ์ ดในระบบไมก่ ระทบต่อการทางานของจดุ อ่ืนๆ ในระบบ ข้อเสีย 1. ถา้ สถานีกลางเกิดเสียขนึ้ มาจะทาใหท้ งั้ ระบบทางานไมไ่ ดแ้ ละตอ้ งใชส้ ายสง่ ขอ้ มูลจานวนมากกวา่ โทโปโลยีแบบบสั และ แบบวงแหวน
รูปแบบการเช่ือมตอ่ เครือข่าย (Topology) (ตอ่ ) 4. โทโพโลยีแบบเมช (Mesh Topology) เป็นการเช่ือมตอ่ แบบจดุ ตอ่ จดุ อยา่ งแทจ้ รงิ คือ เคร่อื งคอมพิวเตอรท์ กุ เครอ่ื งในเครอื ขา่ ยจะเช่ือมตอ่ ถงึ กนั หมดโดยใชส้ ายสญั ญาณทกุ การ เช่ือมตอ่ ข้อดี 1. หากมีสายใดชารุด ระบบก็ยงั สามารถทางานได้ 2. มีความปลอดภยั เน่ืองจากระบบจะสง่ ขอ้ มลู กนั ระหวา่ งโหนด ขอ้ เสยี 1. ใชส้ ายสญั ญาณเยอะ สนิ้ เปลืองคา่ สายสญั ญาณ มากท่ีสดุ
รูปแบบการเชื่อมตอ่ เครือข่าย (Topology) (ตอ่ ) สาหรบั จดุ เช่ือมตอ่ ท่ีตอ้ งใชส้ ายส่อื สารเช่ือมโยงในโทโพโลยีแบบเมช สามารถคานวณได้ จากสตู รดงั นี้ Connections = Ex. มีคอมพวิ เตอร์ 5 เครอ่ื งโดย 2 เคร่อื งตงั้ อยทู่ ่ี Location 1 และอีก 3 เคร่อื ง ตงั้ อยบู่ น Location 2 จากโจทยเ์ ม่ือแทนคา่ ในสตู ร จะตอ้ งใชส้ ายเพ่ือการเช่ือมตอ่ ครงั้ นีเ้ ทา่ กบั Location 1 Location 2 โดยท่ี N คือจานวนคอมพิวเตอร์ จานวนสายส่อื สารจานวน 10 เนน้ ท่ีตอ้ งนามาใช้ เพ่ือการเช่ือมตอ่ แบบจดุ ตอ่ จดุ กบั คอมพิวเตอรจ์ านวน 5 เครอ่ื ง
สถาปัตยกรรมเครือขา่ ย เครือข่ายแบบเพยี รท์ เู พยี ร์ (Peer-to-Peer Networks) เครอื ขา่ ยประเภทนี้ เคร่อื งคอมพิวเตอรบ์ นเครอื ขา่ ยจะมีสทิ ธิเทา่ เทียมกนั ไมม่ ีเครอ่ื งใดเครอ่ื ง หน่งึ ทาหนา้ ท่ีเป็นเซริ ฟ์ เวอรโ์ ดยเฉพาะ คือเป็นไดท้ งั้ ผใู้ หบ้ รกิ าร (Server) และ ผขู้ อบรกิ าร (Client) ในขณะเดียวกนั จดุ ประสงคข์ องเครอื ขา่ ย Peer-to-Peer คือ ตอ้ งการแชรข์ อ้ มลู และทรพั ยากรรว่ มกนั ภายในเครอื ขา่ ย
สถาปัตยกรรมเครือข่าย ข้อดแี ละขอ้ เสยี ของเครอื ข่ายแบบ Peer-to-Peer ขอ้ ดี 1. ลงทนุ ต่า เพราะสาหรบั เครอื ขา่ ยขนาดเล็ก 2. ไมจ่ าเป็นตอ้ งมีผดู้ แู ลระบบ 3. ติดตงั้ งา่ ย ไมจ่ าเป็นตอ้ งใชร้ ะบบปฏิบตั กิ ารเครอื ขา่ ย ขอ้ เสยี 1. หากเคร่อื งท่ีเปิดแชร์ ถกู เครอ่ื งอ่ืนๆ บนเครอื ขา่ ยเขา้ ถงึ ขอ้ มลู ดว้ ยความถ่ี ครงั้ หละมากๆ ก็จะ กระทบตอ่ ผใู้ ชค้ อมพวิ เตอรเ์ คร่อื งนนั้ ดว้ ย 2. ความปลอดภยั คอ่ นขา้ งต่า
สถาปัตยกรรมเครือขา่ ย เครือขา่ ยแบบไคลเอนตเ์ ซริ ฟ์ เวอร์ (Client Server) เป็นเครอื ขา่ ยท่ีมีเคร่อื งคอมพวิ เตอรท์ ่ีทาหนา้ ท่ีเป็น เคร่อื งศนู ยก์ ลางบรกิ ารขอ้ มลู เครอ่ื งท่ีทาหนา้ ท่ีเป็นเครอ่ื งเซริ ฟ์ เวอรต์ อ้ งมีประสทิ ธิภาพสงู เน่ืองจากตอ้ งคอยบรกิ ารทรพั ยากรใหก้ บั เครอ่ื ง ลกู ขา่ ยท่ีรอ้ งขอเขา้ มาตลอดเวลา
สถาปัตยกรรมเครือข่าย ข้อดแี ละข้อเสียของเครอื ข่ายแบบ Client Server ข้อดี 1. มคี วามปลอดภยั สงู โดยทรพั ยากรท่ีแชรใ์ ชง้ านรว่ มกนั ถกู จดั เก็บไวท้ ่ีศนู ยก์ ลาง ซง่ึ มีระบบ Admin สามารถจดั การบญั ชีผใู้ ช้ กาหนดสทิ ธิ์การใชง้ านของผใู้ ช้ 2. มคี วามนา่ เช่ือถือสงู สารองขอ้ มลู ไดง้ ่าย ข้อเสยี 1. จาเป็นตอ้ งพง่ึ พาผมู้ ีความรูท้ างการจดั การดแู ลระบบทงั้ หมด 2. การลงทนุ สงู มากเม่ือเทยี บกบั เครอื ขา่ ยแบบ Peer-to-Peer
สรุป Point-to-Point เป็นการเช่ือมตอ่ ระหวา่ งอปุ กรณส์ องตวั โดยชอ่ งทางการ ส่ือสารจะถกู จบั จองเพ่อื การส่อื สารระหวา่ งอปุ กรณท์ งั้ สองเทา่ นนั้ Multi-Point/Multi-Drop เป็นรูปแบบการเช่ือมตอ่ ทีอ่ ปุ กรณต์ า่ งๆ สามารถใชล้ งิ ก์ รว่ มกนั เพ่อื การส่อื สารได้ ซง่ึ ชว่ ยประหยดั สายส่ือสารไดเ้ ป็นอย่างดี สาหรบั เครอื ขา่ ยท่ใี ชง้ าน ในปัจจบุ นั สว่ นใหญ่จะเช่ือมต่อดว้ ยวธิ ีนี้ โทโพโลยแี บบบัส (Bus Topology) จะมีสายเคเบิลเสน้ หนง่ึ ท่ีนามาเป็นสายแกนหลกั โดยทกุ ๆ โหนดบนเครอื ขา่ ยจะตอ้ งเช่ือมตอ่ เขา้ กบั สายเสน้ นี้ โทโพโลยแี บบดาว (Star Topology) จะมีอปุ กรณ์ Hub ท่ีใชเ้ ป็นศนู ยก์ ลางควบคมุ ของสายส่อื สาร ทงั้ หมด โดยทกุ ๆ โหนดบนเครอื ขา่ ยจะตอ้ งเช่ือมโยงสารส่อื สารผา่ น Hub
สรุป โทโพโลยแี บบวงแหวน (Ring Topology) โหนดตา่ งๆ จะมีการเช่ือมตอ่ กนั ดว้ ยสายสญั ญาณจาก โหนดหนง่ึ ไปยงั โหนดหนง่ึ ตามลาดบั จนกระท่งั โหนดแรกและโหนดสดุ ทา้ ยไดเ้ ช่ือมโยงถึงกนั จงึ ทา ใหม้ ีลกั ษณะคลา้ ยวงแหวน โทโพโลยแี บบเมช (Mesh Topology) เป็นเครอื ข่ายท่ีเช่ือมตอ่ แบบจดุ ตอ่ จดุ อย่างแทจ้ รงิ ซง่ึ แตล่ ะ โหนดจะมีลิงกก์ ารส่อื สารระหวา่ งกนั เป็นของตนเอง สาหรบั การเช่ือมตอ่ ดว้ ยวิธีนี้ จะสนิ้ เปลืองสาย ส่อื สารมากท่ีสดุ
Search
Read the Text Version
- 1 - 19
Pages: