Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การวิจัยในชั้นเรียน

การวิจัยในชั้นเรียน

Published by master_rpk31, 2018-09-17 09:46:19

Description: การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียนระดับชั้น ม.๕
โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๑
ในรายวิชาโปรแกรมกราฟิก โดยการปรับเปลี่ยนวิธีสอนแบบสร้าง
แรงจูงใจ เพื่อให้เกิดปฏิสัมพันธ์ในการเรียน

Keywords: การวิจัยในชั้นเรียน

Search

Read the Text Version

คํานาํ รายงานการวิจัยในช้ันเรียนเลมน้ีจัดทําข้ึนเพ่ือแสดงรายละเอียดการดําเนินงานของกระบวนการพัฒนาประสิทธิภาพการเรียนรูเพ่ือเสริมสรางนักเรียนใหมีความรูความสามารถในการทาํ โปรแกรมกราฟก และเพื่อเพ่ิมประสทิ ธภิ าพของการเรียนรู ดว ยเหตุทวี่ า นกั เรียนในความรบั ผิดชอบยังมผี ลการเรียนรแู ละความทักษะการทาํ โปรแกรมกราฟกยังไมเปนไปตามเปาหมายท่ีสถานศึกษากําหนด รวมทั้งมีผลกระทบตอการเรียนรใู นรายวชิ าน้ี รายละเอียดของเอกสารเลม นี้ ประกอบดวยที่มาของปญหา คาํ ถามการวจิ ัยจุดประสงค ประโยชน กลุมเปาหมาย เคร่ืองมือในการฝก วิธีดําเนินการ วิเคราะหขอมูล การสะทอนผลและขอเสนอแนะ รวมท้ังเอกสาร หลักฐานท่ีเปนผลจากการดาํ เนนิ งานการเรยี นการสอน นายพงศธ ร เปงวงศ ผูจัดทาํ วจิ ยั

สารบญั หนาบทที่ 1 บทนาํ 1วัตถุประสงคของการวจิ ยั 2สมมุตฐิ าน 2ขอบเขตการดําเนนิ งาน 2ระยะเวลาในการทําวิจยั 2ประโยชนท ีค่ าดวาจะไดรับ 3นยิ ามศัพท 3บทที่ 2 เอกสารท่เี กี่ยวขอ ง 4บทท่ี 3 วธิ ดี าํ เนนิ การวจิ ยั 7เครอื่ งมือทีใ่ ชใ นการวจิ ัย 7การเกบ็ รวบรวมขอมลู 7การวิเคราะหขอมลู 8บทที่ 4 ผลการวเิ คราะหขอมูล 9บทท่ี 5 สรปุ ผลการวิจัย อภิปรายผล และขอ เสนอแนะ 10ภาคผนวก ภาค ก แบบประเมนิ การปฏิสมั พันธในการเรยี นในรายวชิ าโปรแกรมกราฟก ภาค ข ภาพการดาํ เนนิ การ

1ชอ่ื งานวจิ ัย การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรยี นระดับชน้ั ม.๕ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห ๓๑ในรายวชิ าโปรแกรมกราฟก โดยการปรับเปล่ียนวธิ สี อนแบบสรางแรงจงู ใจ เพ่อื ใหเกิดปฏิสัมพันธในการเรียนชอ่ื ผูวิจัย นายพงศธร เปงวงศกลมุ สาระการเรยี นรู การงานอาชพี และเทคโนโลยี (คอมพวิ เตอร) บทท่ี 1 บทนํา 1.1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา การเรียนการสอนในภาคปฏิบัติ ผูเรียนตองมีทั้งความรู ความเขาใจ และการนําไปใชเพ่ือนําไปพัฒนาใหเกิดเปนทักษะในการเรียนรูข้ึน ดังน้ันในกระบวนการเรียนการสอน ผูสอนจึงตองสรางแรงจูงใจตาง ๆ เพื่อใหผูเรียนไดเกิดปฏิสัมพันธภายในชั้นเรียน และจะทําใหเกิดการพัฒนาพุทธิพิสัย ทักษะพิสัย อันจะสงผลตอเน่ืองไปถึงผลสัมฤทธิ์ของผูเรียนท่ีดีขึ้น แตปญหาที่พบในการเรียนการสอนในปจจุบัน ผูเรียนขาดความเอาใจใสในการเรียน ไมคอยมีปฏิสัมพันธในชั้นเรียน จึงทําใหผูเรียนไมไดเกิดการพัฒนาในดานตาง ๆ อยางที่ควรจะเปน และทําใหผูสอนไมสามารถทจี่ ะประเมินผลดา นการเรยี นของผูเรียนไดอ ยางชัดเจน จากสภาพปญหาที่เกิดข้ึนทําใหผูวิจัยหาเคร่ืองมือในการสรางแรงจูงใจเพื่อท่ีจะกระตนุ ใหผ ูเ รียนไดมปี ฏสิ ัมพันธใหมากขน้ึ ภายในชั้นเรยี นเพือ่ ทจี่ ะชว ยใหผเู รยี นไดมีการพัฒนาตนเองและกาวไปสูการเรียนรูอยางมีประสิทธิภาพ อีกท้ังยังชวยใหผูเรียนไดมีผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นที่ดีขนึ้ ตามทฤษฎจี งู ใจของมาสโลว Maslow’s (อางใน สวุ มิล แมนจรงิ , 2546 : 148-149) ได อธิบายวา บุคคลตาง ๆ จะถูกกระตุนหรือถูกผลักดันเนื่องจากความตองการบางสิ่งบางอยาง ณ เวลา ใดเวลาหนึ่ง ซงมาสโลวไดแบงความตองการของมนุษยออกเปน ลาํ ดบั ขน้ั ทง้ั หมด 5 ขั้นตอน คือ

2 ความ 5 ความ ตอ งการ สาํ เร็จ ประสบความ ในชีวติ สําเรจ็ ความตองการ 4 ช่ือเสยี งเกียรตยิ ศ การยกยอ ง การยกยอง ความตอ งการดานสังคม 3 ความรกั การยอมรับ มสี วนรวมความตอ งการความปลอดภยั 2 ความปลอดภัย ความมนั่ คง ความตองการขน้ั พืน้ ฐาน ความคุม ครอง 1 อาหาร ทอ่ี ยอู าศยั เครือ่ งนงุ หม ยารกั ษาโรคภาพท่ี 5 แสดงลําดับข้นั ความตองการของมาสโลว ทม่ี า : สวุ มิ ล แมนจริง, (2546 : 148)1.2 วัตถปุ ระสงคข องการวิจยั 1. เพอื่ สรางแรงจูงใจใหผ เู รยี นเกดิ ปฏสิ ัมพนั ธภ ายในชนั้ เรียน 2. เพือ่ พัฒนาเคร่ืองมือในการสรา งแรงจูงใจ 3. เพือ่ ชว ยใหผูเ รยี นมีผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนที่ดีข้นึ1.3 สมมตุ ิฐาน ประชากรในการวจิ ยั ครั้งน้ีไดแ กนกั เรยี นช้ันมธั ยมศกึ ษาปที่ 5 โรงเรยี นราชประชานุเคราะห ๓๑ มผี ลสัมฤทธใิ์ นระดบั ดีขน้ึ ไป1.4 ขอบเขตการดาํ เนนิ งาน นกั เรียนชัน้ มัธยมศึกษาปท่ี 5 โรงเรียนราชประชานุเคราะห ๓๑ ในรายวิชาโปรแกรมกราฟก จํานวน 20 คน1.5 ระยะเวลาในการทาํ วจิ ยั 1 ตลุ าคม 2560 – 30 มกราคมคม 2561 ปก ารศกึ ษา 2560

31.6 ประโยชนท่ีคาดวาจะไดร บั 1. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาช้ันปที่ 5 รายวิชาโปรแกรมกราฟก จํานวน 20คน มผี ลสัมฤทธ์ใิ นทางทพ่ี ฒั นาดีย่งิ ข้นึ 2. นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาช้ันปท่ี 5 รายวิชาโปรแกรมกราฟก จํานวน 20คน มีความสัมพันธที่ดตี อกันมีผลการเรียนท่ดี ีขน้ึ1.7 นิยามศพั ท นักเรียน หมายถงึ นักเรียนช้ันมธั ยมศกึ ษาชั้นปท ่ี 5 รายวิชาโปรแกรมกราฟกจาํ นวน 20 คน

4 บทที่ 2 เอกสารทเี่ กย่ี วของ ในการจดั ทาํ วิจยั การพัฒนาผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น ของนักเรียนระดับช้นั ม.๕โรงเรียนราชประชานเุ คราะห ๓๑ในรายวชิ าโปรแกรมกราฟก โดยการปรับเปลยี่ นวธิ ีสอนแบบสรางแรงจงู ใจ เพอื่ ใหเ กดิ ปฏิสัมพนั ธใ นการเรยี นไดศ ึกษาคนควา เก่ียวกับเรอื่ งตา ง ๆดงั น้ี 1. ทกั ษะกระบวนการคดิ 2. แบบฝก เสรมิ ทกั ษะ 3. หลกั สตู ร 4. การวัดผลและประเมินผล ทักษะกระบวนการคิด เปน เร่อื งที่สาํ คญั อยา งยงิ่ ในการศึกษาวัยเด็กเปน วยั ท่ีสมองกาํ ลงั เจริญเตบิ โตอยางรวดเรว็ จงึ ควรไดร ับการพัฒนาอยางถกู ตอ งและจริงจงัเพ่ือใหเด็กมีพัฒนาการอยา งเตม็ ศกั ยภาพเด็กควรไดร บั การพฒั นาสมองเร่อื งความคดิ โดยอาศัยปจ จยั หลายดา นมากระตนุ เชน สภาพแวดลอ ม กจิ กรรมการจดั การเรยี นรทู ีห่ ลากหลายสอื่ การสอนการวดั ผลและประเมินผล หากเดก็ ไดร ับการพัฒนาท่ไี มถกู ตอ งเหมาะสมจะทาํ ใหสมองไมสามารถพฒั นาไดเตม็ ตามศักยภาพดว ยเหตุน้คี รูผสู อนควรไดท ราบถึงทฤษฎหี ลกั การและแนวคิดท่เี ก่ยี วกับการคิดและการสอนเพ่ือพฒั นาทักษะกระบวนการคิดซง่ึ มรี ูปแบบการจัดกระบวนการเรยี นรทู ่ีเนนผเู รยี นเปนสําคญั เพอ่ื ฝก เสริมทกั ษะใหนักเรยี นไดพฒั นาและเกดิ กระบวนการคิดซงึ่ เผยแพรโ ดยสํานักงานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา (2550) ไดแก 1. การจัดการเรยี นรูแบบสงเสริมความคดิ สรา งสรรค 2. การจดั การเรียนรแู บบบรู ณาการสพู หปุ ญ ญา 3. การจัดการเรียนรแู บบโครงงาน 4. การจัดการเรยี นรจู ากแหลง เรยี นรู

5 5. การจดั การเรยี นรแู บบใชปญ หาเปน ฐาน 6. การจดั การเรยี นรแู บบประสบการณและเนนการปฏิบตั ิ 7. การจดั การเรียนรแู บบกระบวนการแกปญ หา 8. การจดั การเรียนรูแบบสรางองคความรู 9. การจัดการเรียนรูแ บบพัฒนากระบวนการคดิ ดวยการใชค ําถามหมวก 6 ใบ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน (2547) ไดจัดประมวลความรูเก่ียวกับ การสอนพัฒนาทักษะกระบวนการคิด และสื่อประเภทพัฒนาทักษะกระบวนการคิด วาควรใหนักเรียนไดลงมือปฏิบัติจริง ไดแกการสังเกต การเปรียบเทียบ การตั้งคําถาม การคาดคะเนการสรุปการนําไปประยุกตซึ่งสอดคลองกับแนวคิดของกานิเย( Gagne,1974) ท่เี ปนลกั ษณะกระบวนการโดยเร่มิ ตนจากสัญลกั ษณทางภาษาจนกระท่ังสามารถโยงเปนความคิดรวบยอดเปนกฎเกณฑและการท่ีจะนํากฎเกณฑไปใชการพัฒนาทักษะกระบวนการคิดในข้ันพื้นฐานนี้ ขึ้นอยูกับกิจกรรมการจัดการเรียนการสอนโดยกระตุนใหผูเรียนไดผานข้นั ตอนยอ ยทกุ ขั้นตอนเชนเดียวกบั ทศินา แขมมณี และคณะ (2544) ไดอธิบายเกี่ยวกับการคิดวาเกิดจากการสังเกต การอธบิ าย การรับฟง การเชือ่ มโยงความสมั พนั ธ การวจิ ารณ และการสรุป การจัดการเรียนรูแบบพัฒนาทักษะกระบวนการคิดดวยการใชคําถามซึ่งเผยแพรโ ดยสาํ นักงานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา (2550) ไดใ หเทคนิค “ Six thinkinghats ” เพอื่ ใหช วยจัดระเบียบการคดิ ทาํ ใหการคดิ มปี ระสทิ ธภิ าพมากยิง่ ขึ้น และในปจจุบนั วธิ กี ารดังกลาวน้ไี ดม ีการนาํ ไปใช และเผยแพรอ ยา งกวางขวางโดยหมวกแตละใบไดนําเสนอทางเลือกที่เปนไปไดตามมมุ มองตาง ๆ ของปญหาโดยวิธีการสวมหมวกทลี ะใบในแตละครั้ง เพ่ือพลังของการคิดจะไดมุงเนนไปในทิศทางใดทิศทางหน่ึงเปนการเฉพาะ ซึ่งจะทําใหความเห็นและความคิดสามารถแสดงออกไดอยางอิสระทําใหผูใชสามารถหลีกเล่ียงความขัดแยงที่ไมจําเปนไดแ ละยังเปน การดงึ เอาศักยภาพของแตละคนโดยไมร ูตัว

6 อษุ ณีย โพธสิ์ ขุ (2540) ไดกลา วถึงการสงเสริมแนวความคดิ ของผเู รียน สามารถทําได ทั้งทางตรงและทางออม ในทางตรงสงเสริมโดยการฝกสอนฝกฝนและอบรมและทางออมสง เสริมโดยการสรา งบรรยากาศและการจดั ส่ิงแวดลอ มสงเสริมการเปนอิสระในการเรียนรู การพัฒนาความคิดมีองคประกอบท่ีสําคัญที่ควรดําเนินการในการจัดกระบวนการเรยี นรู ดงั นี้ 1. กระบวนการคิด เปนการเพิ่มทักษะความคิดดานตาง ๆ เชนความคิด จินตนาการ ความคิดเอกนัย อเนกนัย ความคิดวิจารณญาณ ความคิด วิ เ ค ร า ะ ห ค ว า ม คิ ด สั ง เ ค ร า ะ ห ค ว า ม คิ ด แ ป ล ก ใ ห ม ค ว า ม คิ ด หลากหลาย ความคดิ ยดื หยนุ ความคิดเห็นทแ่ี ตกตางกัน และ การประเมินผล

7 บทท่ี 3 วิธดี ําเนินการวจิ ัย ในการจัดทําวิจัย การพัฒนาผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียนระดับช้ัน ม.๕โรงเรียนราชประชานุเคราะห ๓๑ในรายวิชาโปรแกรมกราฟก โดยการปรับเปลี่ยนวิธีสอนแบบสรางแรงจูงใจ เพื่อใหเ กิดปฏสิ มั พนั ธใ นการเรียน โดยมหี ลกั การดําเนินงานดังน้ี เครื่องมือทใี่ ชใ นการวิจยั 1. แบบฟอรมการเก็บคะแนนพิเศษ เปนแบบฟอรมท่ีผูวิจัยไดพัฒนาข้ึนเองโดยออกแบบมาเพ่ือใชเ ก็บคะแนนพิเศษรายบคุ คล เม่อื ผเู รยี นไดมีปฏสิ มั พนั ธภ ายในช้ันเรยี น ผเู รยี นสามารถเกบ็ คะแนนได 50คะแนน จากแบบประเมินกอ นและหลังเรียน ซ่ึงเครื่องมือนี้จะไดมีการแปลผลออกมาวาผูเรียนน้ันมีปฏิสัมพันธภายในช้ันเรียนมากนองเพียงใดกบั การใชแ รงจูงใจโดยการเพิม่ คะแนนพิเศษ ซ่ึงมเี กณฑก ารวัดผลดังนี้คะแนน ระดับผูเ รยี น41 – 50 ผูเรยี นมีปฏิสัมพันธมากท่สี ดุ31 – 40 ผูเรียนมปี ฏิสมั พันธม าก21 - 30 ผเู รียนมีปฏสิ ัมพนั ธป านกลาง11 - 20 ผูเรยี นมปี ฏิสัมพันธน อ ย0 – 10 ผูเรียนไมม ปี ฏสิ ัมพนั ธการเก็บรวบรวมขอมลู 1. ผูวิจัยช้ีแจงถึงเครื่องมือที่ไดสรางข้ึน วัตถุประสงคของการนําเครื่องมือมาใชงาน คือเพ่ือ ตองการใหผูเรียนเกิดปฏิสัมพันธใหไดมากที่สุด เพื่อท่ีผูเรียนจะไดฝก คดิกลา แสดงออก และเพอื่ เปน การทาํ ใหผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนดีขนึ้ 2. แจกเคร่อื งมอื (ใบเกบ็ คะแนนพเิ ศษ) ใหก ับผูเรียนรายบคุ คล 3. ดําเนนิ การเกบ็ ขอมลู เม่อื ผูเรยี นมปี ฏิสัมพันธในช้นั เรียน เชน ตอบคาํ ถามไดถูกตอง, แสดงความคิดเหน็ ทีเ่ ปนประโยชนต อการเรยี น, รวมกิจกรรมหนาช้ันเรียน มีความมุง มนั่ ต้งั ใจ เปนตน 4. สัปดาหที่ 16 ของการเรียนการสอนผูเรียนรวบรวมคะแนนพิเศษที่ไดสงผูสอนเพ่ือท่ีจะ ไดน าํ ไปประเมนิ การมปี ฏิสัมพันธของผูเรียน

8 5. หาคา อตั ราสว นรอยละ (Percentage) และคาเฉล่ียเลขคณติ (ArithmeticMean)การวเิ คราะหข อ มลู สถติ ิท่ีใชใ นการวเิ คราะหข อมูลหลงั จากท่ีไดมีการใชเ คร่อื งมือแบงเปน 2 สวน คือ 1. หาคาอัตราสวนรอยละ (Percentage) เปนการบรรยายดวยการนับจํานวนคาทีเ่ ปน ไปไดข องขอมูลใชใ นการอธบิ ายขอ มูลทว่ั ไปคารอยละ = จํานวนขอ มูลที่เกบ็ ได ������������ 100 จํานวนขอมูลท้งั หมด 2. คาเฉล่ียเลขคณิต (Arithmetic Mean) เปนคาท่ีคํานวณไดจากการหาผลรวมของคาขอมูลทุกจาํ นวนทีเ่ กบ็ รวบรวมมาไดแ ละหารดวยจํานวนขอมูลทั้งหมดคา เฉล่ีย (Mean) = ∑ ������������ ������������เม่อื x = คา ของขอ มลู ทกุ ตัว n = ขนาดของกลุม ตัวอยา ง

9 บทที่ 4 ผลการวิเคราะหข อ มูล เคร่ืองมือที่ใชในการวิจัยในคร้ังน้ี คือ แบบประเมินการปฏิสัมพันธในการเรียนในรายวิชาโปรแกรมกราฟก โดยมีการเก็บรวบรวมขอมูลจากกลุมประชากร จํานวน 20คน แลวนํามาวิเคราะหข อมูลซง่ึ ปรากฏผลดงั น้ีตารางท่ี 1 แสดงผลระดับการมีปฏิสัมพันธภายในชัน้ เรียน (20 คน) กอนเรยี นรายวชิ าโปรแกรมกราฟกคะแนน ระดับผูเ รยี น จํานวน รอ ยละ ค�(า�เ������ฉ��������ล)ี่ย (คน) (%) 36441 - 50 ผเู รียนมปี ฏิสมั พันธม ากทสี่ ดุ 8 40.00 21331 - 40 ผูเรียนมีปฏสิ มั พันธม าก 6 30.00 10221 - 30 ผเู รียนมปี ฏสิ มั พันธป านกลาง 4 20.00 3111 - 20 ผเู รียนมปี ฏิสัมพันธน อ ย 2 10.000 - 10 ผูเรียนไมม ีปฏิสมั พนั ธ - - - =711 N = 20 = = 711 20 = 35.55 ดังน้นั คาเฉล่ีย = 35.55

10ตารางที่ 2 แสดงผลระดับการมปี ฏสิ ัมพันธภ ายในชัน้ เรยี น (20 คน) หลังเรยี นรายวชิ าโปรแกรมกราฟกคะแนน ระดบั ผเู รยี น จํานวน รอ ยละ คาเฉลย่ี (คน) (%) (����������������)41 – 50 ผเู รียนมปี ฏิสัมพันธม ากท่ีสดุ 11 55.00 505.531 - 40 ผูเรียนมปี ฏิสัมพันธมาก 8 40.00 28421 - 30 ผูเรียนมีปฏสิ มั พันธป านกลาง 1 5.00 25.511 - 20 ผูเรียนมปี ฏิสมั พันธนอ ย - - -0 – 10 ผูเรยี นไมมปี ฏิสมั พนั ธ -- - N = 20 =815 = = 815 20 = 40.75 ดังนั้นคาเฉลย่ี = 40.75

11 บทที่ 5 สรปุ ผลการวจิ ยั อภปิ รายผล และขอ เสนอแนะการวิจัยคร้ังน้ีมีวัตถุประสงคเพ่ือประเมินการปฏิสัมพันธในการเรียนในรายวิชาโปรแกรมกราฟก ของนกั เรียนชั้นประถมศึกษาศกึ ษาปท่ี 5 ซ่งึ ผวู จิ ัยขอนาํ เสนอวัตถุประสงค สมมติฐาน สรุปผลการวิจัย การอภิปรายผล และขอเสนอแนะตามลําดับดงั น้ี1. วัตถปุ ระสงค2. สมมติฐาน3. สรุปผลการวจิ ยั4. อภปิ รายผล5. ขอเสนอแนะวตั ถปุ ระสงคของการวจิ ยั1. เพื่อสรางแรงจงู ใจใหผ ูเ รยี นเกิดปฏสิ ัมพันธภายในชน้ั เรยี น 2. เพอ่ื พัฒนาเครอ่ื งมือในการสรา งแรงจูงใจ 3. เพอื่ ชวยใหผ เู รียนมีผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นทด่ี ีขนึ้สรปุ ผลการวิจัย ผลประเมินการปฏิสัมพันธในการเรียนในรายวิชาโปรแกรมกราฟก ของนักเรยี นชัน้ ประถมศึกษาศกึ ษาปท่ี 5 จากผลการวจิ ยั พบวา นักเรียนมปี ฏสิ มั พนั ธในการเรียนในรายวิชาโปรแกรมกราฟก กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี (คอมพิวเตอร) สูงกวากอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ5.20 แสดงวา ผลประเมนิ การปฏิสมั พันธทางการเรียนหลังเรยี นของนกั เรียนท่ีไดรับการเรียนรูโดยใชแบบทดสอบ เปนไปตามสมมุติฐานทีต่ ั้งไว และมีนักเรยี นผานเกณฑรอยละ 70 ของนักเรียนทั้งหมด และจากแบบประเมินความพึงพอใจยงั พบอีกวา เด็กมีเจตคติทางบวกตอวชิ าโปรแกรมกราฟกเพ่ิมมากขึน้ โดยมีเจตคติเฉลี่ยอยูในระดับความพึงพอใจมากท่ีสุด แสดงใหเห็นวาการเรียนการสอนโดยใชว ิธีและเทคนคิ ตางๆ มะประยกุ ตก บั การเรียนการสอน สามารถกระตุน

12ใหเด็กสนุกสนาน มีความกระตือรือรนท่ีจะเรียนรู ชวยลดความตึงเครียดของผูเรยี น ชวยเสริมผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นใหสงู ขึน้ ขอ เสนอแนะ1) จากผลการวจิ ัยพบวา ผลการประเมินการมีปฏิสัมพันธในการเรยี นทางการเรียนหลังเรียนรายวิชาโปรแกรมกราฟก ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาศึกษาปท่ี5 หลังเรียนโดยใชแบบประเมินการมีปฏิสัมพันธ สูงกวากอนเรียน ดังน้ันครูผูสอนควรนําเอาการเรียนการสอนโดยใชส่ือและเทคนิคตางๆ ที่นาสนใจ ไปประยุกตใชในการจัดการเรียนการสอนใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น อันจะสงผลตอผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี(คอมพวิ เตอร) ดยี ง่ิ ขึ้น

13ภาคผนวก

14 แบบประเมินการปฏิสมั พันธใ นการเรยี นในรายวิชาโปรแกรมกราฟก ชนั้ ม.5 ของ .............................................................................................. วันที.่ .................เดือน.........................พ.ศ. ................. เวลา..........ระดับความมปี ฏสิ ัมพันธใ นการเรยี น 5 = ผูเรยี นมีปฏสิ มั พนั ธมากทสี่ ดุ 4 = ผเู รียนมปี ฏสิ ัมพันธมาก 3 = ผูเ รยี นมปี ฏสิ มั พนั ธปานกลาง 2 = ผเู รียนมีปฏสิ มั พนั ธนอย 1 = ผูเรยี นไมม ปี ฏิสมั พนั ธขอที่ รายการประเมิน ระดบั การมปี ฏิสมั พนั ธใ นการเรยี น 1 นักเรียนเขา เรยี นตรงเวลา 5 43 2 1 2 นักเรียนมีความมุงมัน่ ในการเรยี น 3 นกั เรียนสง งานตามทค่ี รูกําหนดครบทกุ ชิน้ 4 นกั เรยี นมคี วามกระตือรอื รนในการเรยี น 5 นักเรยี นมคี วามรบั ผดิ ชอบ 6 นกั เรยี นมปี ฏสิ มั พันธท ่ดี ตี อครูผูสอน 7 นักเรยี นมคี วามอยากเรยี นอยใู นรายวชิ า 8 นกั เรียนมีการฝก ฝนนอกเวลาเรียน 9 นกั เรียนมีการนาํ ไปประยกุ ตชิน้ งาน10 นกั เรยี นมคี วามคดิ สรา งสรรคกลานําเสนอ ผลงานขอเสนอแนะ 1. ...................................................................................................................... 2. ...................................................................................................................... 3. …………………………………………………………………………………………………………


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook