Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ผลการปฏิบัติงานที่ดี 2-64

ผลการปฏิบัติงานที่ดี 2-64

Published by ไม่เห็นด้วย ครับ, 2022-04-24 03:19:52

Description: ผลการปฏิบัติงานที่ดี 2-64

Search

Read the Text Version

| ผลการปฏบิ ตั ิงาน Best Practice 1

คำนำ การรายงานผลการปฎิบตั ิงานที่เป็นเลิศ Best Practices เรื่อง“กิจกรรมการเรียนรู้พรอ้ มเป้าหมาย ผู้เข้าสอบ N – NET ร้อยเปอร์เซ็นต์” ของ นักศึกษา กศน.ตำบลคลีกลิ้ง ที่ดำเนินงานในปีการศึกษา 2 ปีการศึกษา 2564 ที่ประสบผลสำเร็จเป็นที่น่าพอใจ โดยการดำเนินการจัดกิจกรรมอย่างหลากหลาย เพ่อื ใหบ้ รรลเุ ปา้ หมายที่ได้กำหนดไว้ ส่งผลทำใหน้ ักศึกษาเขา้ สอบ N – NET ครงั้ ท่ี 2 ปีการศึกษา 2564 ร้อยเปอร์เซ็นต์ กศน.ตำบลคลีกลิ้ง จึงได้จัดทำรายงานผลการปฎิบัติงานที่เป็นเลิศ Best Practices ฉบับนี้ข้ึน เพื่อรายงานความสำเร็จ ในการดำเนินงาน ขอขอบคุณบุคลากรทุกฝ่ายที่มีส่วนร่วมทำให้การดำเนินงาน เป็นไปไดด้ ้วยความเรยี บรอ้ ย นางสาวชญาน์นันท์ สีวสิ ทุ ธิ์ ครู กศน.ตำบล 31 มีนาคม 2565 | ผลการปฏิบัติงาน Best Practice 2

สารบญั หน้า คำนำ สารบัญ ชอ่ื เรื่อง Practices “กิจกรรมการเรียนรูพ้ ร้อมเป้าหมายผ้เู ขา้ สอบ N – NET รอ้ ยเปอรเ์ ซน็ ต”์ 3 ความเปน็ มา/ความสำคัญของผลงาน 3 จดุ ประสงคแ์ ละเป้าหมาย ของการดำเนินงาน 4 เปา้ หมาย 4 ขน้ั ตอนการดำเนนิ การ 4 ผลการดำเนนิ งานและประโยชนท์ ่ีไดร้ ับ 8 ปจั จยั ความสำเร็จ 8 ประโยชนท์ ีไ่ ดร้ ับ 8 การเผยแพร่ 10 ขอ้ เสนอแนะ 11 เอกสารอา้ งอิง 11 ภาคผนวก 12 คณะผจู้ ดั ทำ 15 | ผลการปฏิบัติงาน Best Practice 3

ผลการปฏิบัตงิ านท่ีดี (Best Practice) ผลงานการปฏบิ ัตงิ านทีเ่ ปน็ เลิศ (Best Practice) ชอ่ื ผลงาน : “กิจกรรมการเรยี นรพู้ ร้อมเปา้ หมายผเู้ ขา้ สอบ N – NET ร้อยเปอร์เซน็ ต์” . ชือ่ ผูน้ ำผลงาน : ตำแหนง่ : นางสาวชญานน์ นั ท์ สวี ิสุทธิ์ . กศน. อำเภอ : โทรศพั ท์บ้าน : ครู กศน. ตำบล . โทรสาร : ศลิ าลาด กศน.ตำบล : คลกี ลงิ้ . - โทรศัพท์มือถอื : 083 - 9661026. - e - mail : [email protected]. 1. ความเป็นมา/ความสำคัญของผลงาน จากการดำเนินการจัดกิจกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน ด้วยวิธีการพบกลุ่ม โดยครูประจำศูนย์การ เรียนชุมชน กศน.ตำบลคลีกลิ้ง ได้จัดกระบวนการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ณ กศน.ตำบลคลีกลิ้ง หมู่ที่ 7 ตำบลคลีกลิ้ง อำเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ แต่ด้วยบริบทของนักศึกษาส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ เกษตรกร รับจ้างทั่วไป มีภาระรับผิดชอบค่าใช้จ่ายในครอบครัว ต้องออกไปทำงานเพื่อยังชีพ หากหยุด ทำงานก็จะขาดรายได้ นักศึกษาบางคนที่ต้องดูแลผู้ปกครองที่ป่วยติดบ้านติดเตียง ทำหน้าที่ดูแลช่วยเหลอื ที่บ้าน และมีนักศึกษาพิการขาไม่สะดวกในการไปพบกลุ่ม จึงทำให้นักศึกษาไปพบกลุ่มน้อย ดังนั้นเพื่อให้ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เป็นไปอย่างมีคุณภาพ และประสิทธิภาพยิ่งขึ้นศูนย์การศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอศิลาลาด จึงมอบนโยบายได้ให้ครูประจำ กศน.ตำบลคลีกลิ้ง ดำเนินการใช้ เทคนิคการสร้างแรงจูงใจในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน การประสานผู้นำชุมชนช่วย ประชาสัมพันธ์ การติดตามนักศกึ ษาและเยี่ยมบา้ นเพื่อพบกลุ่มย่อย ผู้ปกครองเป็นท่ีปรึกษา ใช้เทคโนลียี ดิจิทัลให้เป็นประโยชน์สร้างสื่อ เผยแพร่กิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อกระตุ้นความสนใจ และตระหนักถึงการ เรียนรู้ด้วยกลุ่ม Fanpage facebooke และกลุ่ม LINE กศน.ตำบลคลีกลิ้ง ช่วยให้นักศึกษาทราบข่าว ล่วงหนา้ ทันท่วงที มีเวลาเตรยี มตัว ในกรณีที่ออกไปทำงานตา่ งถ่ิน เพื่อสร้างความตระหนักให้นักศึกษามา พบกลมุ่ มากข้ึน และมีสว่ นรว่ มกจิ กรรมการเรยี นรู้ สง่ ผลให้มีการเขา้ สอบของนกั ศึกษามากข้นึ จากเหตุผลที่กล่าวมาข้างต้นศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ ศิลาลาด จึงได้ใช้รูปแบบการบรหิ ารจัดการศกึ ษาโดยใช้ภาคีเครือข่ายจากภาคส่วนต่างๆ ทั้งที่เป็นภาคส่วน ดา้ นประชาชน หนว่ ยงาน และองค์กรภายในชุมชน ตลอดจนสถาบนั การจัดการศึกษาใหเ้ ข้ามามี ส่วนร่วม ในการบริการด้านวิชาการอันจะส่งผลให้สถานศึกษาจัดการศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพและเกิด ประสิทธิผลแกช่ มุ ชนอยา่ งสงู สุด | ผลการปฏิบตั ิงาน Best Practice 4

2. จดุ ประสงคแ์ ละเป้าหมาย ของการดำเนนิ งาน 2.1 จุดประสงค์ 1) เพอ่ื สร้างแรงจูงใจในการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ และการพบกลุ่ม ให้กบั นกั ศกึ ษา การศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน ท่ีลงทะเบียนเรยี นในภาคเรียนนี้ใหม้ ากขน้ึ 2) เพอ่ื ช่วยแก้ไขปัญหาให้กบั นักศกึ ษาท่ีไม่สามารถรว่ มกจิ กรรมการเรยี นรู้ และการพบ กลมุ่ ตามตารางการพบกลุ่ม 3) เพอ่ื เพ่มิ มาตรการการเข้าสอบวัดผลสมั ฤทธิ์ ไมต่ ่ำกวา่ ร้อยละ ๗5 มคี วามตระหนกั การมสี ว่ นรว่ มกิจกรรมการเรียนรู้อยา่ งต่อเนือ่ งเป็นรปู ธรรม 2.2 เปา้ หมาย เชงิ ปริมาณ - นกั ศกึ ษา กศน. ท่ีมีสิทธ์สิ อบ N-NET จำนวน 7 คน เชงิ คุณภาพ - ภาคที กุ ภาคเี ครือข่ายเข้ามามสี ่วนรว่ มในการบริหารจัดการศึกษา ๓.ขน้ั ตอนการดำเนินการ ครู กศน.ตำบลคลีกลิ้ง ได้ดำเนินการจัดกิจกรรมการศึกษาอย่างต่อเนื่อง ณ กศน.ตำบลคลีกลิ้ง ด้วยวิธีการพบกลุ่ม และติดตามเยี่ยมบ้านนักศึกษา มีการพบกลุ่มย่อยที่บ้านในกรณีที่นักศึกษาไม่มาพบ กลุ่ม โดยขอความร่วมมือกับผู้ปกครอง เครือข่ายและชุมชน เริ่มจากการวิเคราะห์ศักยภาพของ กลุ่มเป้าหมาย และสำรวจความต้องการของนักศึกษา เพื่อจัดทำแผนการเรียนรู้รายบุคคลให้กับนักศึกษา ที่จะสามารถนำมาเป็นแนวทางในการปรับปรงุ และแก้ไขปัญหาได้ ตามวธิ ีการดังน้ี ๓.๑ วธิ ีการประชาสมั พนั ธ์ และรับสมคั รนกั ศึกษา (Plan) ๓.๑.๑ การรับสมคั รนักศึกษา ➢ ครู กศน.ตำบล ได้มีการประชาสัมพันธ์ ลงพื้นที่เพื่อแนะแนว และการรับสมัคร นักศึกษาใหม่ ในหมู่บ้าน ตำบลคลีกลิ้ง ใช้สถานที่ทำการผู้ใหญ่บ้าน โดยจัดทำแผ่นพับ จัดทำหนังสือการ รับสมัครนักศึกษาใหก้ ำนนั ผูใ้ หญบ่ ้าน ทง้ั ๑1 หม่บู ้านในตำบลประชาสมั พนั ธ์กระจายข่าว ➢ กศน.ใช้ Socail Network ในการประชาสมั พันธก์ ารรบั สมัครนักศึกษา ➢ จัดทำปา้ ยประชาสมั พนั ธต์ ่าง ๆ ➢ สำรวจประชากรวัยเรยี นทีอ่ ยู่นอกระบบการศึกษา ตำบลคลีกลง้ิ ทกุ หมู่บ้าน เพื่อให้เขา้ ส่รู ะบบการศกึ ษา ➢ การลงพื้นที่รับสมัครนักศึกษาใหม่ด้วยตนเองที่บ้าน ให้นักศึกษาเขียนใบสมัคร และรับรองสำเนาเอกสาร กรอกเอกสารวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคลสำหรับนักศึกษาใหม่แต่ละภาคเรียน ครูได้ทราบความต้องการของผู้เรียน เพื่อจัดทำแผนการเรียนรู้รายบุคคลให้กับผู้เรียน และจัดกระบวนการ เรียนการสอนใหส้ อดคลอ้ งตามกลมุ่ ความตอ้ งการของผเู้ รียนน้ัน | ผลการปฏิบัติงาน Best Practice 5

➢ ครูลงทะเบียนนักศึกษาใหม่และเก่า มีการวิเคราะห์ผู้เรียน และสำรวจความ ต้องการของนักศึกษา เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ เพื่อจัดทำแผนการเรียนรู้รายบุคคลให้กับนักศึกษา ให้สอดคล้องกบั ความถนดั ความสนใจ และความตอ้ งการของผเู้ รียน และแจ้งใหน้ กั ศกึ ษาทราบ รูปแบบกจิ กรรม/วธิ กี าร/ขั้นตอนทส่ี ำคัญ 1. คดั กรอง /แบ่งกลุ่ม 2. วางแ➢ผน/ 3. ดาเนินการแก้ปัญหา นักเรีย กาหนดกิจกรรมราย และพฒั นาการอ่าน กลุ่มที่คดั กรอง การเขยี นภาษาไทย 6. พฒั นา 5.รวบรวมสรุปผล 4.ประเมนิ ผลการอ่าน แก้ไข / ปรับปรุง การเขยี นของนกั เรียน แผนผังแสดงขน้ั ตอนการดำเนนิ งาน ๓.๑.๒ การจดั กระบวนการเรยี นรู้ ➢ แจ้งนกั ศึกษาท่ลี งทะเบยี นในภาคเรยี นนนั้ ๆ ทั้งนกั ศกึ ษาเก่าและนกั ศกึ ษาใหม่ให้ ทราบและเข้ารว่ มกิจกรรมโครงการปฐมนเิ ทศนกั ศึกษา ➢ จดั กระบวนการเรยี นรู้แบบพบกลุม่ ที่ กศน.ตำบลคลีกล้ิง หมู่ 7 ระดับประถมศึกษา ทุกวันอังคาร เวลา ๐๙.๐๐ – ๑๒.๐๐ น. ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ทุกวันพุธ เวลา ๐๙.๐๐ – ๑๒.๐๐ น. และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ทกุ วันพฤหัสบดี เวลา ๐๙.๐๐ – ๑๒.๐๐ น. ➢ แจ้งนักศึกษาให้เข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน แต่ละกิจกรรมที่ กศน. อำเภอไดจ้ ัดใหก้ ับนกั ศกึ ษา ๓.๑.๓ ดา้ นการวดั ผลประเมนิ ผล ➢ การวัดผลประเมินรายวิชาระหว่างภาคเรียน ๖๐ คะแนน และปลายภาคเรียน ๔๐ คะแนนผู้เรียนต้องเข้าสอบปลายภาคเรียน และมีคะแนนสอบปลายภาคเรียนรวมกับคะแนนระหว่าง ภาคเรียนจงึ จะผ่านเกณฑ์ขัน้ ตำ่ การทำแบบฝึกหัด ได้แก่ แบบฝึกหัดท้ายบทเรียนในสือ่ การเรียนรู้รายวิชา ต่างๆ หรือเป็นแบบฝึกหัดที่ช่วยเสริมให้เกิดทักษะการเรียนรู้ และเข้าใจในบทเรียนตามจุดประสงค์การ เรียนรใู้ นแต่ละบทเรยี น ➢ การประเมินคณุ ธรรม ประเมิน ตอ่ เนื่องตลอดภาคเรียน โดยประเมินจากผลงาน เน้นพฤติกรรมบ่งชี้ คุณธรรมทั้ง 11 ประการ ได้แก่ ความสะอาด สุภาพ กตัญญูกตเวที ความขยัน ประหยัด ซื่อสตั ย์ สามคั คี มีน้ำใจ มวี ินัย รกั ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ และรกั ความเป็นไทย ยดึ ม่นั ในวถิ ีชีวิตและ การปกครองตามระบอบประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข โดยต้องผ่านระดบั พอใชข้ ึ้นไป | ผลการปฏบิ ตั ิงาน Best Practice 6

➢ การประเมินกิจกรรม กพช. ผู้เรียนต้องปฏิบัติกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิตไม่ น้อยกว่า ๒๐๐ ชว่ั โมงโดยมีขอบข่ายเนอ้ื หาทงั้ ในภาคทฤษฎแี ละภาคปฏิบัติ ➢ การประเมินคุณภาพการศึกษานอกระบบระดับชาติผู้เรียนเข้ารับการประเมิน คุณภาพการศึกษานอกระบบระดับชาติ ในภาคเรียนสุดท้ายของการจบหลักสูตร และดำเนินการก่อนสอบ ปลายภาคของภาคเรียนนนั้ ๆ โดยไม่มีผลต่อการสอบได้ หรอื สอบตกของผู้เรยี น ➢ การเข้าสอบปลายภาคเรียนผู้เรียนต้องเข้าสอบปลายภาคเรียน และมีคะแนน สอบปลายภาคเรียนรวมกับคะแนนระหว่างภาคเรียนถงึ จะผ่านเกณฑ์ข้นั ต่ำ ๓.๒ วธิ กี ารจัดการเรยี นรู้ ( Do ) ➢ ประชาสัมพันธ์แจ้งนักศึกษาที่ลงทะเบียนในภาคเรียน ทั้งนักศึกษาเก่า และ นักศึกษาใหม่ ให้นักศึกษาทราบและเข้าร่วมกิจกรรมโครงการปฐมนิเทศนักศึกษา มีคู่มือนักศึกษาให้ทราบ โครงสร้างหลักสูตรการเรยี นแบบ กศน. ครแู จง้ วันเวลาและสถานทพ่ี บกลุ่มของนกั ศกึ ษา และรบั ใบงานของ นกั ศกึ ษาท่ีลงทะเบยี นตามรายวิชาของแต่ละคน แนะนำการเขา้ ร่วมกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้เรียน การเข้าสอบเรยี นในแตล่ ะระดบั ➢ เมื่อปฐมนิเทศนักศึกษาเรียบร้อยแล้ว ครูจะทำการประเมินรู้ระดับการรู้หนังสือ สำหรับนักศึกษาใหม่ที่ลงทะเบียนเรียน และตรวจสุขกายสุขภาพจิตของนักศึกษาทุกคน เพื่อให้ทราบถึง ปญั หาสขุ ภาพรา่ งกาย จติ ใจ ของนกั ศึกษา เวลาการจดั กจิ กรรมให้นักศกึ ษา ➢ จัดกระบวนการเรียนรู้แบบพบกลุ่ม ท่ี กศน.ตำบลคลีกลิ้ง แม้นักศึกษาจะมาก หรือน้อย แต่ครูก็ต้องจัดกระบวนการเรียนรู้แบบพบกลุ่มอย่างต่อเน่ือง ทำสม่ำเสมอ เพื่อให้เป็นมาตรฐาน ของครู และเพ่อื ใหน้ ักศกึ ษามคี วามตระหนกั ในหน้าท่ขี องตนเอง ➢ กรณีที่ กศน.ตำบล จัดกิจกรรมโครงการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ครูจะแจ้ง นักศกึ ษาทราบทางโทรศัพท์ ทางกลุ่มLine / Chat Massage หวั ใจสำคญั คือ Fanpage facebooke กศน. ตำบล ช่วยให้นักศึกษาทราบข่าวล่วงหน้า ทันท่วงที มีเวลาเตรียมตัว ในกรณีที่ออกไปทำงานต่างถิ่น และ แจ้งผู้ปกครองให้ทราบเพ่ือช่วยเตือนใหน้ ักศึกษาเข้าร่วมกจิ กรรม ที่คณะครูได้จัดใหก้ ับนักศึกษาแต่ละภาค เรยี นนนั้ ๆ ➢ รายงานกจิ กรรมการพบกลุ่ม และการรว่ มกิจกรรมพัฒนาผเู้ รียน ผ่าน Line ผ่าน Fanpage facebooke กศน.ตำบล และ facebooke กศน.อำเภอ เป็นการเผยแพร่ข่าวสารการจัดกิจกรรม การเรียนรู้ ที่ต่อเนื่องอย่างสม่ำเสมอ ช่วยให้นักศึกษาที่ไม่ได้เข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ทราบข่าว และ ตดิ ต่อ ปรึกษาเพอ่ื นๆท่มี าร่วมกจิ กรรมสมำ่ เสมอ ➢ หลังจากที่สำนักงาน กศน. แจ้งตารางการสอบปลายภาค ครูจะแจ้งกำหนดการ สอบ วัน เวลาสถานที่สอบ ให้นักศึกษาได้ทราบล่วงหน้าอย่างน้อย 1 เดือน เพื่อให้นักศึกษาเตรียมลางาน มาสอบ กรณีนักศึกษาที่คาดว่าจะจบในภาคเรียนนี้ ที่ต้องเข้ารับการทดสอบทางการศึกษานอกระบบ ระดับชาติ (N – NET) ครูจะต้องแจ้งนักศึกษาให้ทราบล่วงหน้าตั้งแต่ลงทะเบียนเรียน เพื่อให้นักศึกษา เตรยี มตวั ในการเขา้ สอบ และทำกจิ กรรม กพช.ให้ครบ ๒๐๐ ชัว่ โมง ในภาคเรยี นที่นักศกึ ษาจะจบ ➢ การส่งใบงาน หลังจากการสอบ N- NET เรียบร้อยแล้ว โดยครูกำหนดวันส่งใบ งานให้กับนักศกึ ษาตัง้ แตว่ ันปฐมนิเทศ โดยให้ส่งให้ทันเวลาเพื่อครูจะได้ให้คะแนนการทำแบบฝึกหัดใบงาน เป็นคะแนนเกบ็ และวิเคราะหผ์ ู้เรยี นแตล่ ะคนวา่ ผู้เรียนมีอปุ สรรคอะไรในการเรยี นของนักศกึ ษาแต่ละคน | ผลการปฏบิ ัติงาน Best Practice 7

➢ การประเมินระดับการรู้หนังสือของผู้ที่คาดว่าจะจบ โดยครูนัดนักศึกษาเข้ารับ การประเมินก่อนสอบปลายภาคเรียน ๑ เดือน เพ่ือประเมินการอ่านออกและการเขียนได้ของนักศึกษา เป็นไปตามเกณฑ์ทีส่ ำนกั งาน กศน.กำหนดหรอื ไม่ ➢ ส่งตารางสอบปลายภาคเรียนนักศกึ ษารายบุคคล เพื่อใหน้ ักศึกษาเข้าสอบ ตาม กำหนดวัน เวลา สถานที่ และรายละเอยี ดของระเบยี บการเข้าสอบ ➢ กิจกรรมการติวเข้มเติมเต็มความรู้ก่อนสอบปลายภาคเรียน โดยนำนักศึกษาเข้า ร่วมกจิ กรรมทุกระดับ เพ่ือเพิ่มความรู้ และนำความรทู้ ีไ่ ด้รับไปพัฒนาผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นใหส้ ูงขึ้นมีการ นำแผนการดำเนินงานไปสู่การปฏิบัติ การดำเนินการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน วิธีพบกลุ่มทุกกระดับชั้น ตามวันเวลาสม่ำเสมอ อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ยึดหลกั การจดั กระบวนการจัดการเรียนรโู้ ดยคณะครู เป็นผู้ขับเคล่ือน เน้นการมีสว่ นร่วมของผู้เรยี นเปน็ สำคัญ โดยนำนกั ศกึ ษาร่วมกิจกรรมพฒั นาผูเ้ รียนดา้ นตา่ งๆท่ี กศน.อำเภอ ไดจ้ ดั ขึ้น เพือ่ สร้างแรงจงู ให้กบั นักศึกษา ใหม้ คี วามใฝ่รู้ ใฝ่เรยี น ตระหนกั ในหนา้ ท่ีของตน และเตรียมพร้อม ที่จะเขา้ สอบปลายภาคเรยี น ๓.๓ วิธกี ารติดตามนกั ศึกษา การติดตามนักศึกษา โดย “เย่ียมยามถามข่าว” (Check) การตดิ ตาม เยยี่ มบา้ นเพื่อเปน็ การสร้าง แรงจงู ใจในการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ และการพบกลุ่มของนกั ศึกษา ว่านักศึกษามีความร้มู ากน้อยเพียงใด จากการเรยี นรู้ และมปี ัญหาด้านใดบา้ ง ซึง่ ผ้ปู กครองคือท่ีปรึกษาของท้ังครูและผู้เรยี น เพ่ือชว่ ยสร้างขวัญ และกำลังใจใหผ้ เู้ รียนเกิดความตระหนัก มคี วามกระตือรือร้นใฝเ่ รียนรู้ ครูติดตามเยยี่ มบา้ นนักศึกษาท่ี มีสทิ ธ์สิ อบ จำนวนร 7 คน คือเย่ียมยามถามข่าวเร่อื ยๆ โดยเรม่ิ ตั้งแต่ลงทะเบยี นเรียนใหน้ ักศึกษา มีเทคนิคคอื ไป “เยีย่ มยามถามขา่ ว”ทัง้ ก่อนคลอดหรอื หลงั คลอด การเจ็บไข้ไดป้ ว่ ย ทำเสมือนว่าครูและนักศึกษาคือญาตกิ นั ชว่ ยเหลอื งานบุญประเพณใี นหมู่บา้ นชุมชน การ ประชุม หรอื การรวมกลุ่มของ อสม. แม่บา้ น โดยเฉพาะนักศึกษาที่มชี ว่ งวยั ๑๕- ๒๑ ปี จำนวน 3 คน ต้องให้ความสนทิ สนมโดยใช้จิตวทิ ยาเปน็ พิเศษ นกั ศึกษาท่ีมีช่วงวยั ๒๒ ปี ขึน้ ไป จำนวน 4 คน มีนักศึกษาพบกลุ่มและเข้าร่วมกจิ กรรมอย่างต่อเน่ือง จำนวน 7 คน คนทีท่ ำงานตา่ งจังหวัด จะรับใบงานไป ทำและติดตอ่ ทางโทรศัพท์ และSocail ทาง Chat / Line จำนวน 21 คน ครูให้คำแนะนำการเรียนรู้ที่ เหมาะสม การศึกษาค้นคว้าเพม่ิ เติมจากแหลง่ เรยี นรู้ ต่างๆ มใี บงานใหท้ ำและส่งตามนัดหมาย เพ่ือชว่ ยให้ นักศึกษาได้เรียนรู้ตลอดเวลา แจง้ วนั เวลาเข้าสอบให้กับนักศึกษาใหม้ าเขา้ สอบปลายภาคตามวนั เวลาที่ กำหนด ครพู บกลมุ่ ย่อย ท่บี า้ น ทท่ี ำงาน ของนักศกึ ษา ในกรณที ท่ี ำงานประจำ ในช่วงเวลาท่นี ักศึกษา สะดวก เพื่อสร้างแรงจงู ให้นกั ศกึ ษา เกดิ ความตระหนักในหน้าท่ีของตนเอง มีความใฝ่รู้ ใฝเ่ รยี น และ กระตือรอื ร้นทจี่ ะต้องเข้าสอบในปลายภาคเรยี นน้ัน | ผลการปฏบิ ัติงาน Best Practice 8

ครูจดั ตง้ั กลุ่ม Line / Chat Massage หวั ใจสำคัญคอื Fanpage facebooke กศน.ตำบล LINEกลมุ่ นักศกึ ษากศน.ตำบล ชว่ ยให้นักศกึ ษาทราบขา่ วล่วงหนา้ ทันท่วงที มีเวลาเตรียมตวั ทัน ในกรณีผู้ ที่ทำงานต่างถ่ิน และนักศึกษาทราบกำหนดการจัดกิจกรรมการเรียนรูด้ า้ นต่างๆ การมสี ว่ นร่วมในชุมชน ครู นำนกั ศกึ ษาเข้าร่วมกจิ กรรมพัฒนาหมบู่ า้ นรว่ มกบั หน่วยงานองค์กรตา่ งๆ รว่ มงานบุญพิธี ประเพณีในชมุ ชน เพอื่ ให้นกั ศึกษาสามารถปรับตวั ให้เข้าสูส่ ังคมได้ดขี ้นึ ๓.๔ การมสี ่วนร่วมกบั ภาคีเครือข่าย ในการสร้างแรงจูงใจในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (Action ) วางแผนการดำเนินงาน การติดตาม การสร้างแรงจูงใจ ให้ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ การพบกลุ่ม และเพิ่มจำนวนผู้เข้าสอบปลายภาค โดยคณะครูร่วมวางแผนการทำงาน และปฏิบัติตามแผนร่วมกับภาคีเครือข่าย โดยการเข้าร่วมประชุมผ้กู ับ นำชุมชนตำบล ทุกหมู่บ้าน และสำรวจผู้ที่อยู่นอกระบบการศึกษา เพื่อให้ได้รับการศึกษาอย่างทั่วถึง วิเคราะห์ สภาพปัญหา วางแผนหาทางแก้ไขปัญหาร่วมกันเมื่อเกิดปัญหาและอุปสรรคในการมาพบกลุ่ม และรว่ มกิจกรรมของผู้เรียน จนบรรลตุ ามวตั ถปุ ระสงค์ ตลอดจนการยกย่องเชิดชู สรา้ งขวญั และให้กำลังใจ กับนักศึกษาทีเ่ รียนจบหลักสตู ร กระบวนการการสรา้ งแรงจงู ใจ ให้ผู้เรียนเขา้ รว่ มกจิ กรรมการเรียนรู้ เพอ่ื เพมิ่ จำนวนผเู้ ขา้ สอบ การวางแผนการสรา้ งแรงจูงใจและติดตามนักศึกษาใหเ้ ข้าสอบ - การประชาสัมพนั ธ์การรบั สมคั รนักศึกษาโดยผา่ นเสียงตามสายของหมบู่ า้ น - ทำแผนการลงพน้ื ทีร่ ับสมคั ร มแี ผน่ พบั แนะนำและรบั สมัครทบ่ี ้าน - วิเคราะหผ์ ู้เรยี นเพื่อใหค้ รไู ดร้ ู้สภาพปัญหาของผู้เรียนและความต้องการในการจดั การเรียนรู้ - ดำเนินงานต่อเนื่องจากการวางแผน โดยการจดั โครงการปฐมนเิ ทศ และชแี้ จงวนั พบกลมุ่ - ดำเนินการนิเทศ แนะนำ กำกบั ติดตาม เพอื่ ให้งานเปน็ ไปตามแผนทก่ี ำหนด ๔. ผลการดำเนนิ งานและประโยชน์ท่ไี ด้รบั เทคนิคการสร้างแรงจูงใจในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เป็นกิจกรรมที่ต่อเนื่องมา ตั้งแต่เปิดภาค เรียน ซึ่งครู กศน.ตำบล ดำเนินการจัดกระบวนการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องและเป็นรูปธรรม โดยครู กศน. ตำบล เป็นผู้ขับเคลื่อน มีการจัดทำแผนการจัดกระบวนการเรยี นรูร้ ายสัปดาห์ ปฏิทินการพบกลุ่ม แจ้งให้ นักศึกษารับทราบโดยทั่วกัน โดยความร่วมมือกับผู้ปกครอง เครือข่ายและชุมชน เริ่มจากการวิเคราะห์ ศักยภาพของกลุ่มเป้าหมาย และสำรวจความต้องการของนักศึกษา เพื่อจัดทำแผนการเรียนรู้รายบุคคล ให้กับนักศึกษา จากการติดตาม เยี่ยมบ้าน การพบกลุ่ม ส่งผลในการมีส่วนร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนใน ชุมชน จัดทำเวทีประชาคม เพื่อวางแผนดำเนินการ การศึกษาด้านอาชีพ และปัญหาเร่งด่วน ที่จะสามารถ นำมาเป็นแนวทางในการปรับปรุงและแก้ไขปัญหาได้ถูกวิธี ส่งผลให้การดำเนินการจัดกิจกรรมการศึกษา นอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีคุณภาพและประสิทธิภาพดี ดังนั้นการใช้เทคโนลียีดิจิทัลให้เป็น ประโยชน์สร้างสื่อ เผยแพร่กิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อกระตุ้นความสนใจ และตระหนักถึงการเรียนรู้อย่าง ต่อเนื่อง ด้วยกลุ่มLine การสร้างกลุ่ม Chat Massage หัวใจสำคัญคือ Fanpage facebooke กศน.ตำบล และ LINE กลุ่มนักศึกษากศน.ตำบล ชว่ ยใหน้ ักศกึ ษาทราบข่าวลว่ งหนา้ ทนั ท่วงที มเี วลาเตรยี มตัว ในกรณี | ผลการปฏิบตั ิงาน Best Practice 9

ที่ออกไปทำงานต่างถิ่น สามารถสร้างความตระหนักในกิจกรรมการเรียนรู้ การพบกลุ่ม ส่งผลให้มีการเข้า สอบของนักศึกษามากขึน้ ผลความสำเรจ็ ของนักศกึ ษา ระดับการศกึ ษา จำนวนผมู้ สี ทิ ธิ์สอบ เขา้ สอบ รอ้ ยละผู้เขา้ สอบ ประถม ประจำภาคเรียนที่ 2 ปีการศกึ ษา 2564 - -- มธั ยมศึกษาตอนตน้ 100 มัธยมศึกษาตอนปลาย 33 100 44 รวม 77 100 % | ผลการปฏิบัติงาน Best Practice 10

๕. ปัจจัยความสำเรจ็ ๕.๑ สถานศกึ ษามีการเอ้ืออำนวยให้การสนับสนุน ในกจิ กรรมพฒั นาผ้เู รยี นเต็มศกั ยภาพ ๕.๒ ครู กศน.ตำบล ทีอ่ อกติดตามนิเทศและแนะนำการทำงานใหม้ ปี ระสิทธิภาพ ๕.๓ ครูเปน็ ผมู้ คี วามรู้ความสามารถ รจู้ ักนำจิตวิทยามาใช้ มีความมุ่งมั่นต้ังใจ มีความเสยี สละ และ เปน็ แบบอยา่ งที่ดีให้กับผูเ้ รียน - การจัดกระบวนการเรียนรู้ดว้ ยวิธีตา่ ง ๆ - พบกลุ่มยอ่ ยท่ี บา้ น ที่ทำงานของนักศกึ ษา - การติดตาม เย่ียมบ้านนกั ศกึ ษา ในแบบ”เยย่ี มยาม ถามขา่ ว”เพ่ือสรา้ งความสนทิ คนุ้ เคย ๕.๔ นักศกึ ษาตระหนกั และมีความมุ่งม่นั ต้งั ใจในการเรยี น ปฏิบัติตามคำแนะนำที่ไดร้ ับ - นกั ศกึ ษามีความตระหนกั ใฝ่รู้ใฝ่เรียน รู้จักคน้ ควา้ ความร้จู ากแหล่งเรียนรู้ตา่ งๆเพื่อทำใบงาน ๕.๕ ผปู้ กครองใหค้ วามรว่ มมือและสนบั สนนุ จากการตดิ ตามเย่ยี มบา้ น เปน็ ทป่ี รึกษาทด่ี ีร่วมกนั ๕.๕ ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษาเปน็ ผมู้ ีวิสยั ทศั น์ ให้การสนับสนุนในการทำงาน และสรา้ งขวญั กำลงั ใจ ให้กับบุคลากรในการดำเนินกิจกรรมเปน็ อยา่ งดี ๖. ประโยชนท์ ่ไี ดร้ บั เทคนิคการสร้างแรงจูงใจในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สูผ่ ลการเขา้ สอบปลายภาค และการพบกลุ่ม เปน็ กจิ กรรมท่ีต้องทำต่อเน่ือง สมำ่ เสมอ และเป็นรูปธรรม เพือ่ เปน็ การสรา้ งมาตรฐานทด่ี ีของครผู ้สู อน การ ให้ความร่วมมือท่ีดีกับคณะครู กศน.ตำบลคลีกลิ้ง อำเภอศิลาลาด ในการดำเนินการจัดกระบวนการเรยี นรู้ อย่างต่อเนื่อง ณ กศน.ตำบลคลีกลิ้ง หมู่ที่ 7 ซึ่งจัดทำแผนการจัดกระบวนการเรียนรู้รายสัปดาห์ ปฎิทิน การพบกลมุ่ ให้นกั ศกึ ษาช่วยใหส้ ามารถรู้รายวชิ าทีจ่ ะเรยี น โดยมกี ารนิเทศติดตามผลจากทา่ นผู้อำนวยการ และคณะครู จะเห็นได้ว่าการสร้างแรงจูงใจที่ดีให้กับนักศึกษา จากการติดตาม เยี่ยมบ้าน การพบกลุ่มท่ี บ้าน สร้างความคุ้นเคยอันดี รับทราบปัญหา และหาแนวทางแก้ไขปัญหาร่วมกัน โดยความร่วมมือกับ ผปู้ กครอง ภาคเี ครอื ข่ายและชมุ ชน ใช้เทคโนลยี ดี ิจิทลั ให้เปน็ ประโยชน์สร้างสอ่ื เผยแพร่กจิ กรรมการเรียนรู้ เพื่อกระตุ้นความสนใจ และตระหนักถึงการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ด้วยกลุ่ม Line การสร้างกลุ่ม Chat Massage Fanpage facebooke กศน.ตำบล ส่งผลให้การดำเนินการจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีคุณภาพและประสิทธิภาพดี เพื่อเพิ่มมาตรการในการเข้าสอบวัดผลสัมฤทธ์ิ ปลายภาคเรียนของนกั ศึกษาใหม้ ากขึ้น และมสี ว่ นรว่ มในการจัดกิจกรรมการเรียนรอู้ ย่างต่อเนอ่ื ง ๗. การเผยแพร่ ในการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ และการพบกล่มุ เผยแพร่ทาง ๗.๑ เว็บไซต์ หรือ Fanpage กศน.ตำบล Website ww.facebook.com/nfe.kleeking Fanpage://:https://www.facebook.com/nfenongbuaban ๗.๒ เผยแพร่ ทางเพจ facebook กศน.อำเภอศลิ าลาด จังหวดั ศรสี ะเกษ 7.3 LINE กล่มุ กศน.ตำบล | ผลการปฏบิ ตั ิงาน Best Practice 11

8. ขอ้ เสนอแนะ 8.1 ควรดำเนนิ การให้ตอ่ เน่อื ง และขยายผลกิจกรรม ส่อู งคก์ รตา่ งๆ ในพน้ื ที่ 8.2 หาแหลง่ เรียนร/ู้ ปราชญ์ ภมู ิปญั ญาทอ้ งถนิ่ เพิ่มเติมและประสานงานตอ่ เน่อื ง 8.3 พัฒนาให้เป็นคลังภูมิปัญญาท้องถิ่นบนสื่อออนไลน์เพื่อให้ชนรุ่นหลังได้ศึกษาข้อมูลได้ 9. เอกสารอา้ งอิง สำนกั งานสง่ เสรกิ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย.นโยบายและจดุ เน้นการดำเนนิ งาน สำนกั งาน กศน. ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564 กล่มุ แผนงาน สำนกั งาน กศน. เขา้ ถึงไดจ้ าก http://203.147.24.83/onieWeb/plann/download.html (วันทค่ี น้ หาข้อมลู 20 เมษายน 2564) | ผลการปฏบิ ัติงาน Best Practice 12

ภาพประกอบ \\\\\\ มีการจัดกจิ กรรการเรียนการสอน / พบกลุ่ม | ผลการปฏบิ ัติงาน Best Practice 13

มีการติดตามเยย่ี มยามถามข่าว “ลุยถงึ ท่ี” | ผลการปฏิบตั ิงาน Best Practice 14

ผลความสำเร็จของนักศกึ ษา ระดับการศึกษา จำนวนผมู้ ีสิทธ์สิ อบ เข้าสอบ รอ้ ยละผู้เขา้ สอบ ประถม ประจำภาคเรียนท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2564 - มัธยมศึกษาตอนต้น -- 100 มัธยมศึกษาตอนปลาย 100 33 รวม 44 100 % 77 | ผลการปฏิบตั ิงาน Best Practice 15

คณะผจู้ ัดทำ ทป่ี รึกษา สีมาขันธ์ ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอศลิ าลาด นาหอ่ ม ครู คศ.1 ๑. นางพัชรีวรรณ สรุ ะโคตร ครผู ชู้ ่วย ๒. นางสาวฐณชั ญ์พร 3. นายเอกวทิ ย์ ครู กศน.ตำบล ผ้พู มิ พ์/ตรวจ/จัดทำรูปเล่ม ๑. นางสาวชญานน์ ันท์ สีวสิ ทุ ธ์ิ | ผลการปฏบิ ัติงาน Best Practice 16

| ผลการปฏบิ ตั ิงาน Best Practice 17


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook