Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือ_มาตรฐานการเผยแพร่ผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการ_สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช)

คู่มือ_มาตรฐานการเผยแพร่ผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการ_สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช)

Published by Thanarat MCU Surin, 2023-07-02 10:39:30

Description: คู่มือ_มาตรฐานการเผยแพร่ผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการ_สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช)

Search

Read the Text Version

คมู่ อื มาตรฐานการเผยแพร่ผลงานวจิ ัย และผลงานทางวิชาการ ส�ำนักงานคณะกรรมการวจิ ัยแหง่ ชาติ

ข้อมลู ทางบรรณานุกรมของส�ำนกั หอสมดุ แห่งชาติ National Library of Thailand Cataloging in Publication Data ส�ำนักงานคณะกรรมการวจิ ัยแห่งชาติ.   คมู่ อื มาตรฐานการเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั และผลงานทางวชิ าการ.-- กรงุ เทพฯ : สำ� นกั , 2558. 48 หนา้ . 1. วจิ ัย. I. ช่อื เร่อื ง. 001.4 ISBN 978-974-326-625-6 สงวนลขิ สิทธ์ิ พ.ศ. 2558 3,000 เลม่ พิมพค์ รั้งท่ี 1 จ�ำนวนพมิ พ ์ จดั พมิ พ์โดย ส�ำนักงานคณะกรรมการวิจยั แหง่ ชาติ 196 ถนนพหลโยธนิ แขวงลาดยาว เขตจตจุ กั ร กรงุ เทพฯ 10900 โทร. 0-2561-2445 ตอ่ 464 โทรสาร 0-2579-9202 เวบ็ ไซต์ www.nrct.go.th พิมพ์ท ี่ โรงพมิ พแ์ หง่ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั [5803-011/3,500(2)] 254 ถนนพญาไท แขวงวงั ใหม่ เขตปทมุ วนั กรงุ เทพฯ 10330 โทร. 0-2218-3549-50, โทรสาร 0-2215-3612 เวบ็ ไซต์ www.cuprint.chula.ac.th อีเมล [email protected]

คำ� นำ� นกั วจิ ยั และนกั วชิ าการ จำ� เปน็ ตอ้ งมกี ารสอ่ื สารเพอ่ื เผยแพรค่ วามรู้ ท่ีได้จากงานวิจัย หรือข้อมูลความรู้ทางวิชาการแก่เพ่ือนร่วมวิชาชีพ แหลง่ ทนุ องคก์ รภาครฐั และเอกชน และตอ่ สาธารณชนตลอดเวลา ซง่ึ การ ส่ือสารเผยแพร่น้ีเป็นกระบวนการที่มีความหลากหลายและซับซ้อน ซ่ึง อาจมขี อ้ แตกตา่ งกนั ในการเผยแพรท่ ส่ี อื่ สารออกไปนกั วจิ ยั และนกั วชิ าการ จึงต้องยึดหลักจรยิ ธรรมและมีมาตรฐานทอ่ี า้ งองิ การปฏบิ ัติได้ ทง้ั ในระดับ ประเทศและระดบั สากล ส�ำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ได้ตระหนักถึง ความส�ำคัญในเรื่องน้ี จึงได้ด�ำเนินการจัดท�ำมาตรฐานการเผยแพร่ ผลงานวิจัยและผลงานทางวชิ าการ โดยมอบหมาย นายแพทยก์ ติ ตศิ ักดิ์ กุลวิชิต และคณะรับผิดชอบด�ำเนินการจัดท�ำและได้น�ำเสนอเพ่ือรับฟัง ความคิดเห็นเพิ่มเติม จึงได้น�ำมาปรับปรุงตามล�ำดับจนเห็นว่าสามารถ น�ำออกเผยแพร่ได้ ซ่ึง วช. หวังว่า คู่มือมาตรฐานการเผยแพร่ผลงาน วิจัยและผลงานวิชาการจะสามารถใช้เป็นแนวทางให้แก่นักวิจัยและผู้ที่ เก่ียวข้องทุกภาคส่วนได้รับทราบและสามารถปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้อง ในการเผยแพร่ผลงานวิจัยและผลงานวิชาการ เพื่อท�ำให้ผลงานวิจัย และผลงานวิชาการของไทยก้าวไกล เป็นท่ียอมรับระดับสากลตาม มาตรฐานการวจิ ยั ทเ่ี ปน็ บรรทดั ฐานของนานาชาติ ทง้ั นี้ หนว่ ยงานสามารถ น�ำไปปรบั ใชใ้ หเ้ หมาะสมกับบรบิ ทของแตล่ ะหนว่ ยงานได้

ของนานาชาตทิ งั้ นี้ หนว่ ยงานสามารถนําไปปรับใช้ให้เหม วช. ขอขอบคุณนกั วิจยั คณะผูท้ รงคุณวฒุ ิ คณะท และผู้มีสว่ นเกีย่ วข้อง ทไี่ ดม้ ีสว่ นร่วมในการจัดทาํ ใหค้ วาม ใแหล้คะวผาแู้ มทวเนหชห.็นทกนขแาําว่ อลยรใขะงหเอขาผบ้น้คอยควเู่มสจิณุแนยัอื พนอมักแแรวาลน่ผจิ ะตะัยลผอรมู้งคันฐสีาณเปว่านะน็นนผวเปกทู้จิ รย่ีรยัะวงโคขแยอ้ณุ ลชงนวะฒุ์ทผทไ่ีิ ลดค�ำม้งณใหสีาะ้คว่นทนู่มีป่ทรือรว่ ามกึมงาษใวตนารกชิ ฐผาาารบู้ กจนรดัหิกาทาารำ�รร มีความสมบ เผยแพรผ่ ลหงาวนงัวเจิ ปยั แน็ ลอะผยล่างงายนทิ่งวางา่ วคชิ าู่มกอืารมมาคี ตวารมฐสามนบกรู ณารย์ งิ่เผขน้ึยแแลพะรว่ผช.ลงานวจิ ัยแล หวงั เปน็ อยา่ ฉงยบง่ิ ับวา่ นคมู่ีจ้ อื ะมเาปตน็รฐปานรกะาโรยเผชยนแพต์ ร่อผ่ นลงักานววิจจิ ยัยั แนละกั ผวลงิชาานกวชิ าารกาตร ลอดจนผูเ้ ก ฉบับน้ีจะเป็นประโยชน์ต่อนกั วิจัย นักวชิ าการ ตลอดจนผูเ้ ก่ยี วข้องต่อไป (ศาสตราจ (ศาสตราจารย์ นายแพทย์สุทธพิ ร จิตต์มิตรภาพ) เลขา เลขาธกิ ารคณะกรรมการวิจยั แหง่ ชาติ

สารบญั หนา้ บทนำ� 1 ความเปน็ ผู้นพิ นธ์ (Authorship) 3 ความถกู ตอ้ งของขอ้ มลู (Data Integrity) 8 การจดั การรปู ภาพ (Image Handling) 11 การลอกเลียนโดยมิชอบ (Plagiarism) 13 เอกสารอ้างองิ (Reference) และการอา้ งองิ (Citation) 16 ผลประโยชน์ทบั ซ้อน (Conflict of Interest) 19 ความลบั และความเป็นส่วนตวั (Privacy and Confidentiality) 21 การเผยแพรซ่ ำ�้ (Redundant Publication) 23 การตพี มิ พแ์ บ่งยอ่ ย (Salami Publication) 26 การสง่ บทความวิจยั ตพี ิมพม์ ากกวา่ หนึ่งวารสาร 28 (Simultaneous Submission) การเลือกข้อมลู สง่ ตีพิมพ์ (Selective Publication) 30 การสอ่ื สารโตต้ อบระหวา่ งผูว้ จิ ยั (Correspondences) 32 การถอนบทความ (Retraction of Publication) 34 การขนึ้ ทะเบยี นงานวจิ ัยทางคลินกิ (Clinical Trial Registration) 37 รายนามผู้จัดท�ำ 39



คมู่ อื มาตรฐานการเผยแพร่ผลงานวิจยั และผลงานทางวชิ าการ 1 บทน�ำ จริยธรรมเปน็ สงิ่ ท่ขี ึน้ อยู่กบั บริบท เมอ่ื บรบิ ทเปลี่ยนไป หลกั ปฏบิ ตั ิ อาจเปลี่ยนแปลงไปด้วย อย่างไรก็ตามหลักปฏิบัตินั้นจะขึ้นอยู่กับหลัก ธรรมาภบิ าลและความยตุ ธิ รรม ดว้ ยเหตนุ ้ี จงึ เปน็ การยากทจี่ ะเขยี นแนวทาง ปฏิบัติเพ่ือให้ใช้ได้ในทุกบริบท คณะผู้เขียนจึงเร่ิมต้นในแต่ละหัวข้อด้วย หลกั การและเหตผุ ลกอ่ นแลว้ จงึ ตอ่ ดว้ ยแนวทางปฏบิ ตั ิ โดยยดึ หลกั ธรรมาภบิ าล ความยุติธรรม และบรบิ ทท่คี ดิ วา่ น่าจะพบได้บอ่ ยทส่ี ุด ดงั นัน้ ผอู้ า่ นและผู้นำ� ไปปฏบิ ตั ิ จงึ ตอ้ งทำ� ความเขา้ ใจกบั หลกั การและเหตผุ ลของแตล่ ะหวั ขอ้ กอ่ น จากนนั้ ดแู นวทางปฏบิ ตั ทิ แี่ นะนำ� ในตอนทา้ ยของหวั ขอ้ นน้ั ๆ และเมอ่ื นำ� มาใช้ ในบรบิ ทของตนแล้ว จะเหมาะสมหรือไม่ การเขียนแนวทางปฏิบัติโดยการใช้ถ้อยค�ำให้มีความรัดกุม และ ครอบคลุมกว้างในทุกบริบทเหมือนกฎหมายน้ัน บางครั้งอาจท�ำให้การ อ่านไม่ล่ืนไหล อีกท้ังภาษาที่ใช้อาจเข้าใจยาก คณะผู้เขียนจึงพยายาม เขียนโดยใช้ภาษาที่อ่านง่ายและกระชับ ผู้อ่านจึงต้องท�ำความเข้าใจใน ประเดน็ นด้ี ว้ ย ยกตวั อยา่ งเชน่ คำ� วา่ “ผวู้ จิ ยั ” ซง่ึ หลายๆ แหง่ คณะผเู้ ขยี น จะเลอื กใชค้ ำ� วา่ ผวู้ จิ ยั เพราะเหตกุ ารณใ์ นกรณนี น้ั ๆ มกั จะเกดิ กบั การเผยแพร่ งานวิจัย อย่างไรก็ตาม ถ้าเหตุการณ์นั้นๆ เกิดกับการเผยแพร่งาน วชิ าการ เชน่ การเขียนต�ำรา ผู้วิจยั กอ็ าจจะกลายเปน็ “ผนู้ พิ นธ์” เปน็ ตน้ ผู้น�ำไปปฏิบัติจะต้องพิจารณาว่าเหตุการณ์ที่เกิดข้ึนนั้นเข้ากับหลักการ และเหตุผลของหัวข้อน้ันๆ หรือไม่ ถ้าเป็นหลักการเดียวกัน แนวทางการ ปฏิบัติกจ็ ะเป็นเช่นเดียวกัน

2 ค่มู ือมาตรฐานการเผยแพร่ผลงานวิจยั และผลงานทางวชิ าการ สุดทา้ ยนี้ คณะผูเ้ ขยี นใครข่ อยำ้� ว่า คู่มอื นเ้ี ปน็ เพียงแนวทางปฏิบตั ิ ซ่ึงประโยชน์สูงสุดจะเกิดขึ้นเมื่อผู้ใช้เข้าใจหลักการ และท่ีมาของแนวทาง ปฏบิ ตั นิ นั้ ๆ ซงึ่ จะกอ่ ใหเ้ กดิ สำ� นกึ ในจรยิ ธรรม มากกวา่ การยดึ ตดิ กบั แนวทาง การปฏิบัตติ ามตวั อักษรเท่านน้ั คณะผู้จัดท�ำ

คู่มือมาตรฐานการเผยแพร่ผลงานวจิ ยั และผลงานทางวชิ าการ 3 มาตรฐานการเผยแพร่ผลงานวจิ ยั และผลงานทางวิชาการ 1. ความเปน็ ผูน้ ิพนธ์ (Authorship)   1.1 นยิ าม ผู้นิพนธ์ (Authors) หมายความถึง ผู้ท่ีมีส่วนร่วมในเชิงปัญญา (substantive intellectual contributions) อย่างส�ำคัญในผลงาน ซ่ึงในที่น้ีจะเน้นเฉพาะเร่ืองของผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ ค�ำวา่ มีส่วนรว่ มในเชิงปัญญาอย่างส�ำคญั ตาม Uniform Requirements for Manuscripts Submitted to Biomedical Journals ซึ่งเปน็ ขอ้ ตกลง ของ International Committee of Medical Journal Editors (ICMJE) ทเี่ ปน็ ทยี่ อมรบั กนั อยา่ งกวา้ งขวาง ไดใ้ หเ้ กณฑก์ ารพจิ ารณาความเหมาะสมใน การเปน็ ผ้นู พิ นธว์ ่าจะต้องมีองค์ประกอบครบทั้ง 3 ข้อ ดงั น้ี 1. มสี ว่ นรว่ มในการสร้างโจทยว์ จิ ัยและวางแผนการวจิ ัย เก็บขอ้ มลู หรือวเิ คราะห์และแปลความหมายขอ้ มลู 2. มสี ว่ นรว่ มในการเขยี นหรอื ตรวจสอบบทความวจิ ยั อยา่ งมสี ว่ นรว่ ม ในเชิงปญั ญาของเนือ้ หางาน (ไม่ใชก่ ารตรวจเฉพาะภาษาหรอื รูปแบบ) 3. ได้อา่ นและรบั รองต้นฉบบั บทความสดุ ท้ายกอ่ นส่งไปตพี ิมพ์ ผทู้ ่ีมีองค์ประกอบไม่ครบถว้ นท้งั 3 ขอ้ ไมส่ มควรมีชื่อเปน็ ผนู้ ิพนธ์ แต่หากผู้น้ันมีส่วนเก่ียวข้องกับผลงาน เช่น ให้ความช่วยเหลือทางด้าน เทคนคิ ด้านการเงิน ด้านทรัพยากร การตรวจสอบภาษาและไวยากรณ์ อาจมชี ือ่ อยใู่ นสว่ นท่ีเปน็ กติ ติกรรมประกาศแทน Ghost author หมายความถงึ ผู้ท่มี ีคณุ สมบัติเป็นผูน้ พิ นธ์แตไ่ มไ่ ด้ ช่ือเป็นผ้นู ิพนธ์ ซงึ่ อาจเปน็ การถกู ขโมยผลงานโดยผู้รว่ มงานหรอื ผู้อนื่ หรือ เป็นการสมยอม เช่น เป็นผรู้ บั จ้างทำ� งานวจิ ัยและเขยี นบทความ เปน็ ตน้ Gift author Guest author หรอื Honorary author หมายความถงึ ผทู้ ่ไี มไ่ ดม้ ีคณุ สมบตั เิ ปน็ ผ้นู พิ นธ์แตไ่ ดช้ อื่ เป็นผ้นู ิพนธ์ เช่น หวั หน้าภาควชิ า อาจารย์อาวุโส นกั วิจยั ทมี่ ีชอ่ื เสียง เจ้าของเงินทนุ วิจัย เป็นต้น

4 คู่มอื มาตรฐานการเผยแพร่ผลงานวจิ ยั และผลงานทางวชิ าการ ผูน้ ิพนธ์หลัก (Senior author หรือ Corresponding author) หมายความถงึ ผทู้ ท่ี ำ� หนา้ ทป่ี ระสานงานกบั ผรู้ ว่ มนพิ นธอ์ นื่ ๆ ในการเตรยี ม ต้นฉบับบทความ หรือส่งบทความเพื่อตีพิมพ์ และประสานงานในการ ตอบสนองตอ่ ขอ้ คำ� ถาม ขอ้ วิจารณ์ จากประชาคม ผนู้ ิพนธช์ อื่ แรก (First author) ในหลายๆ สาขา ชือ่ แรกจะถอื ว่า เปน็ ผู้ที่มสี ่วนมากที่สุดในผลงานแตก่ ็ไมไ่ ด้เปน็ ท่ยี อมรบั กนั เช่นนัน้ เสมอไป ผนู้ พิ นธร์ ว่ ม (Co-author) หมายความถงึ ผนู้ พิ นธอ์ น่ื ทไี่ มใ่ ชผ่ นู้ พิ นธห์ ลกั Contributorship หมายความถึง การช้ีแจงบทบาทของผู้นิพนธ์ แต่ละคนเพ่อื แสดงความโปร่งใสเปน็ ข้อก�ำหนดของบางวารสาร   1.2 หลักการและเหตผุ ล ตามคำ� เรยี ก ผนู้ พิ นธค์ อื ผเู้ ขยี น ผวู้ จิ ยั คอื ผทู้ ำ� งานวจิ ยั อยา่ งไรกต็ าม ในแวดวงวิชาการและงานวิจัยเราต้องการให้ผู้นิพนธ์เป็นผู้วิจัย และผู้วิจัย ไดม้ โี อกาสเปน็ ผู้นิพนธ์ หลักการของความเป็นผู้นิพนธ์ คือ ผู้นิพนธ์จะต้องมีส่วนร่วมใน เชิงปัญญาของผลงานอย่างส�ำคัญและทุกคนจะต้องสามารถรับผิดชอบ ต่อความถูกต้องของเนื้อหาของผลงานนั้น ความเป็นผู้นิพนธ์เป็นส่ิงท่ีนับ ไดอ้ ยา่ งเปน็ รปู ธรรมและมคี วามสำ� คญั อยา่ งยงิ่ ตอ่ ความกา้ วหนา้ ของนกั วจิ ยั ดังนั้นความเป็นผู้นิพนธ์เป็นประเด็นของข้อพิพาทท่ีพบได้บ่อย เช่น มี ผู้อ้างสิทธิ์ว่าควรจะได้เป็นผู้นิพนธ์ของผลงานชิ้นใดช้ินหน่ึง หรือมีผู้โต้แย้ง ว่าบุคคลท่ีมีช่ือเป็นผู้นิพนธ์ไม่สมควรจะได้รับสิทธิ์นั้น หลัก 3 ประการ ของ ICMJE จะช่วยในการพิจารณาความเหมาะสมของผู้นิพนธ์ได้อย่าง เป็นระบบ อย่างไรก็ตาม ในทางปฏิบัติยังมีความเป็นไปได้ท่ีจะเกิดปัญหา ทจ่ี ะเกดิ กบั ผทู้ ม่ี สี ว่ นรว่ มในเนอ้ื งานตามคณุ สมบตั ขิ อ้ 1 แตข่ าดองคป์ ระกอบ ข้ออ่ืน ทั้งในแบบต้ังใจ เช่น ผู้นิพนธ์หลักจงใจไม่ให้ผู้ร่วมงานบางคน มีส่วนร่วมในเนื้องานตามคุณสมบัติตามข้อ 1 ร่วมเขียนและรับรอง

คมู่ อื มาตรฐานการเผยแพร่ผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการ 5 ต้นฉบับ บทความ จึงท�ำให้ผู้ร่วมงานคนดังกล่าวไม่มีคุณสมบัติของ ผู้นิพนธ์ครบถ้วน และแบบไม่ได้ต้ังใจ เช่น อาจารย์ที่ปรึกษาน�ำเนื้อหา ของวิทยานิพนธ์ของนักศึกษาท่ีส�ำเร็จการศึกษาไปหลายปีแล้ว มาเขียน บทความเพ่ือตีพิมพ์ แต่ไม่สามารถติดต่อนักศึกษาได้ ดังน้ันนักศึกษา จึงไม่มีคุณสมบัติครบองค์ประกอบของผู้นิพนธ์ท้ัง 3 ข้อดังกล่าวข้างต้น กรณีเช่นนี้หากอาจารย์ยึดหลักการของ ICMJE นักศึกษาจะไม่มีสิทธิ์เป็น ผู้นิพนธ์ แต่หากไม่ใส่ช่ือนักศึกษา อาจารย์ก็ท�ำผิดจริยธรรมเพราะเอางาน ของนกั ศกึ ษามาเขยี นโดยไมใ่ สช่ อื่ นกั ศกึ ษา การทผ่ี นู้ พิ นธห์ ลกั และผเู้ กยี่ วขอ้ ง รบั รอู้ งคป์ ระกอบทงั้ สามขอ้ ทำ� ใหว้ างแผนไดล้ ว่ งหนา้ เพอ่ื ลดกรณพี พิ าท และ การทำ� ผิดจรยิ ธรรมทัง้ ท่ตี ง้ั ใจและไม่ตงั้ ใจได้   1.3 แนวทางการปฏิบัติ 1. ผนู้ พิ นธใ์ นทกุ ระดบั ตอ้ งทราบเกณฑก์ ารพจิ ารณาความเหมาะสม ในความเปน็ ผู้นิพนธข์ า้ งตน้ 2. ผู้วิจัยทุกคนควรจะเจรจากันอย่างตรงไปตรงมาต้ังแต่ก่อนเร่ิม ลงมือท�ำวจิ ัย (หรืออย่างชา้ ทส่ี ุดก่อนเร่มิ เขยี นบทความ) เพ่อื ให้ไดข้ อ้ ตกลง ร่วมกันว่าจะมีบทความออกมาจากงานวิจัยก่ีบทความ ผู้ใดควรจะมีชื่อเป็น ผนู้ พิ นธใ์ นบทความใด ผใู้ ดสมควรจะอยใู่ นกติ ตกิ รรมประกาศ โดยผนู้ พิ นธห์ ลกั มีหนา้ ที่ประสานงานในการเตรียมต้นฉบับบทความ และเม่ือเขียนบทความ เสรจ็ แลว้ ผนู้ พิ นธห์ ลกั ตอ้ งสง่ ตน้ ฉบบั สดุ ทา้ ยใหผ้ นู้ พิ นธร์ ว่ มทกุ คนรบั รองกอ่ น สง่ ไปตพี มิ พ์ 3. ควรตกลงกันก่อนการเขียนงานวิจัยว่าล�ำดับช่ือของผู้นิพนธ์จะ เปน็ อย่างไร จะใช้หลกั การใดในการก�ำหนดลำ� ดับ เช่น การเรยี งล�ำดบั ตาม ปรมิ าณงานทม่ี สี ว่ นรว่ ม การเรยี งลำ� ดบั ตามอกั ษรละตนิ หรอื การเรยี งลำ� ดบั ตามอักษรไทย เป็นต้น และผู้ใดจะเปน็ corresponding author

6 คมู่ อื มาตรฐานการเผยแพรผ่ ลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการ 4. ผนู้ พิ นธท์ กุ คนควรมคี ำ� อธบิ ายทสี่ ามารถชแ้ี จงกบั ทกุ ฝา่ ยทม่ี สี ว่ นได้ สว่ นเสยี ได้ว่า ผ้ทู ีม่ ีชื่อในผลงานมคี ณุ สมบัตเิ ป็นผู้นพิ นธ์อย่างไร (contrib- utorship) แม้บางวารสารจะไม่ได้ตอ้ งการส่วนนีก้ ต็ าม 5. หากเป็นงานวิจัยที่ตนเองมิได้เป็นผู้สร้างข้อมูลน้ันเอง ก่อนเริ่ม งานวิจัย ผู้วิจัยควรเชิญชวนผู้สร้างข้อมูลเหล่าน้ันมาร่วมเป็นคณะผู้วิจัย โดยโอกาสเป็นผนู้ พิ นธ์ด้วย หากผสู้ ร้างข้อมลู น้นั ๆ ปฏเิ สธที่จะมสี ว่ นร่วมจึง สามารถด�ำเนินการต่อโดยไม่มผี ู้สรา้ งขอ้ มูลในทมี วิจยั หรอื เป็นผนู้ ิพนธ์ การ ปฏิเสธน้ันอาจจะเปน็ ด้วยวาจาหรอื เปน็ ลายลักษณ์อกั ษรทางกลมุ่ ผูว้ ิจัยควร พจิ ารณาตามความเหมาะสม 6. ส�ำหรับ ghost author ท่ีถูกละชื่อไปในฐานะผู้นิพนธ์ ต้อง พจิ ารณาคณุ สมบตั ขิ องตนเองตามเกณฑก์ ารพจิ ารณาความเหมาะสมในการ เปน็ ผนู้ พิ นธข์ า้ งตน้ ก่อน หากมนั่ ใจวา่ ตนมคี ุณสมบตั คิ รบถ้วนใหน้ �ำหลักฐาน ไปพดู คยุ กบั ผนู้ พิ นธห์ ลกั อยา่ งตรงไปตรงมา เพอ่ื ขอเพม่ิ ชอื่ ผนู้ พิ นธ์ (ดขู อ้ 9) 7. ผู้ท่ีไดร้ บั การใสช่ ่ือให้เปน็ gift author หากพบกอ่ นการตีพิมพ์ ควรขอให้ผู้นิพนธ์หลักถอนชื่อออกด้วยเหตุผลว่าตนเองไม่มีคุณสมบัติของ ผนู้ พิ นธ์ครบถว้ น ซ่ึงเปน็ การผดิ หลกั จรยิ ธรรม ถา้ บทความได้ตพี ิมพไ์ ปแล้ว อาจขอถอนช่ือออก (ดูขอ้ 9) 8. ในกรณีที่มีข้อพิพาทเร่ืองความเป็นผู้นิพนธ์และไม่สามารถแก้ ปญั หาได้ดว้ ยการพดู คยุ กับผู้นิพนธห์ ลกั ขัน้ ตอนต่อไปควรเป็นการเสนอข้อ พพิ าทนน้ั ตอ่ หนว่ ยงานตน้ สงั กดั หรอื หนว่ ยงานทม่ี อี ำ� นาจหนา้ ทวี่ นิ จิ ฉยั ชข้ี าด ขอ้ พพิ าทนนั้ 9. วารสารท่ีมีมาตรฐาน จะเปิดโอกาสให้มีการแก้ไขหลังตีพิมพ์ไป แลว้ โดยการเพม่ิ หรอื ถอนชอื่ ผนู้ พิ นธห์ รอื แมแ้ ตถ่ อนทง้ั บทความได้ แตใ่ นทกุ กรณคี วรกระทำ� ผา่ นผนู้ พิ นธห์ ลกั และควรไดร้ บั ความยนิ ยอมจากผนู้ พิ นธร์ ว่ ม ทั้งหมด

คู่มือมาตรฐานการเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั และผลงานทางวชิ าการ 7 10. การกลา่ วขอบคณุ ผมู้ สี ว่ นชว่ ยในกติ ตกิ รรมประกาศเปน็ สง่ิ ทคี่ วร ทำ� อยา่ งไรกต็ ามมขี อ้ พงึ พจิ ารณาสองประการคอื กติ ตกิ รรมประกาศไมค่ วร ยาวเกินไป และควรขออนุญาตจากผู้ที่นิพนธ์ประสงค์จะขอบคุณเสียก่อน หากสามารถกระท�ำได้

8 คูม่ ือมาตรฐานการเผยแพร่ผลงานวจิ ยั และผลงานทางวิชาการ 2. ความถกู ตอ้ งของขอ้ มูล (Data Integrity)   2.1 นิยาม ข้อมลู (Data) หมายความถึง ข้อเท็จจรงิ ท่รี วบรวมได้จากการวิจัย ซึง่ ใชเ้ ปน็ ฐานของการวเิ คราะห์ประมวลผล การสรา้ งขอ้ มลู เทจ็ (Fabrication) หมายความถงึ การสรา้ งขอ้ มลู ข้ึนโดยมีเจตนาท่ีจะให้ผู้อื่นเข้าใจว่าเป็นข้อมูลที่ได้จากการทดลองหรือจาก การเก็บรวบรวมงานวจิ ัย การปลอมแปลงหรอื บดิ เบอื นขอ้ มลู (Falsification) หมายความถงึ การปกปิด บิดเบือน หรือท�ำให้ผิดจากความเป็นจริง โดยการตัดทอน ดดั แปลง ปรงุ แตง่ แกไ้ ขขอ้ มลู ขอ้ ความ หรอื การปฏบิ ตั อิ นื่ ใดในกระบวนการ วิจัย เพื่อใหเ้ ป็นไปตามขอ้ สรปุ ท่ผี ู้วิจยั ต้องการ   2.2 หลักการและเหตผุ ล ในการเผยแพร่ผลงานวิจัย ผู้อ่านย่อมมีสมมติฐานว่าผู้วิจัยจะ รายงานผลตามความเปน็ จรงิ นนั่ คอื ปราศจากการรายงานขอ้ มลู ทค่ี ลาดเคลอื่ น จากความเป็นจริง ไม่ว่าจะเป็นการสร้างข้อมูลเท็จ (fabrication) หรือการปลอมแปลง หรือบิดเบือนข้อมูล (falsification) ซ่ึงรวมถึงการ ตกแต่ง หรือเลือกแสดงข้อมูลเฉพาะที่สอดคล้องกับข้อสรุป การกระท�ำ ดงั กลา่ วเปน็ สง่ิ ทย่ี อมรบั ไมไ่ ด้ การทผ่ี อู้ า่ นนำ� ผลงานวจิ ยั ทไี่ มไ่ ดอ้ ยบู่ นรากฐาน ของขอ้ มลู ทถี่ กู ตอ้ งไปใชต้ อ่ อาจนำ� ไปสกู่ ารสญู เสยี ความนา่ เชอ่ื ถอื ของผวู้ จิ ยั ของวงการวิจยั โดยรวม ทรัพยากรทใ่ี ช้ในการวจิ ัย หรอื แม้แตช่ วี ิต   2.3 แนวทางการปฏิบตั ิ 1. ในการเกบ็ ขอ้ มูล ผู้วจิ ัยในทุกระดับต้องมัน่ ใจว่า กระบวนการเก็บ ข้อมูลท่ีใช้ในการวิจัยจะท�ำให้ได้ข้อมูลที่มีความน่าเชื่อถือ (reliable) และ ถกู ตอ้ งเหมาะสม (valid) ตามมาตรฐานและจรยิ ธรรมในแตล่ ะสาขา ซงึ่ จะตอ้ ง

คมู่ ือมาตรฐานการเผยแพร่ผลงานวิจยั และผลงานทางวิชาการ 9 พิจารณาปัจจัยตา่ งๆ อย่างถถี่ ้วน ตั้งแตก่ ารออกแบบการทดลอง มาตรฐาน ของสารเคมแี ละกระบวนการความสามารถในการทำ� ซำ้� ได้ (repeatability) ขีดจ�ำกัดของการตรวจวัดของเคร่ืองมือหรือวิธีการท่ีเลือกใช้การประเมิน ความนา่ เชือ่ ถอื ของข้อมูลดว้ ยหลักสถติ ิ เปน็ ต้น 2. หัวหน้าหรอื ผปู้ ระสานงานโครงการวจิ ยั จะตอ้ งให้ความรูเ้ ก่ียวกบั ความถกู ตอ้ งของขอ้ มลู แกผ่ วู้ จิ ยั โดยพงึ ทำ� ตนใหเ้ ปน็ แบบอยา่ งและไมเ่ พกิ เฉย ต่อการปฏิบัติท่ีส่งผลกระทบต่อความถูกต้องหรือความน่าเช่ือถือของข้อมูล เช่น การปลอมแปลงข้อมลู การตกแตง่ ข้อมูล การไมจ่ ดบนั ทกึ ขอ้ มูล การ นำ� เสนอขอ้ มลู ทไ่ี มม่ หี ลกั ฐานยนื ยนั การเลอื กกำ� จดั ขอ้ มลู บางสว่ น หรอื การนำ� ตัวอย่างบางตัวอย่างออกจากการทดลอง การเลือกแสดงเฉพาะข้อมูลที่ดี ทสี่ ดุ หรอื ทเี่ ปน็ กรณพี เิ ศษวา่ เปน็ ขอ้ มลู ทเ่ี ปน็ ตวั แทนของการทดลอง ทำ� การ ทดลองโดยไมม่ ตี วั เทยี บ (control) หรอื ไมม่ กี ารทำ� ซำ้� หรอื การใชว้ ธิ กี ารทาง สถิตทิ ี่ไมเ่ หมาะสมในการวเิ คราะหห์ รือจดั การขอ้ มูล 3. ในกรณที ก่ี ารวจิ ยั นนั้ ทำ� ในหอ้ งทดลอง ผวู้ จิ ยั จะตอ้ งเกบ็ หลกั ฐาน การได้มาซ่ึงข้อมูล เช่น สมุดบันทึกผลการทดลองที่มีเลขหน้า บันทึก ด้วยปากกา ไม่ใช้น้�ำยาลบค�ำผิด ถ้าจะมีการขีดฆ่าให้ขีดฆ่าโดยที่ผู้อ่าน ยงั สามารถอ่านข้อความเดิมได้ มกี ารลงวันที่และมีการลงนามรบั รองพรอ้ ม พยาน ไฟลร์ ปู ภาพหรอื ไฟลข์ อ้ มลู ตา่ งๆ ทไ่ี ดจ้ ากเครอ่ื งมอื ในรปู แบบทไ่ี มไ่ ด้ ผา่ นการประมวลผลใดๆ ตวั อยา่ งเซลลห์ รอื เนอื้ เยอื่ หลกั ฐานเหลา่ นค้ี วรเกบ็ ไวใ้ นทปี่ ลอดภยั และสามารถเรยี กหาเพอ่ื ตรวจสอบยนื ยันไดเ้ มอื่ จ�ำเป็น 4. การตกแต่งรูปภาพเพื่อการน�ำเสนอในผลงานวิจัยอาจท�ำได้ใน ขอบเขตทีเ่ หมาะสม (ดหู ัวข้อ image handling ประกอบ) แต่ในทุกกรณี พึงมกี ารสำ� รองไฟลร์ ูปภาพตน้ ฉบับไวด้ ว้ ย

10 คู่มือมาตรฐานการเผยแพร่ผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการ 5. ข้อมูลวิจัยทุกชนิดและเอกสารท่ีเกี่ยวข้องควรเก็บไว้อย่าง ปลอดภัย ไม่ควรท�ำลายท้ิงถึงแม้ว่างานน้ันจะเสร็จและได้รับการตีพิมพ์ไป แลว้ ก็ตาม สามารถตรวจสอบไดเ้ มื่อตอ้ งการ ถ้าเปน็ ขอ้ มูลอิเล็กทรอนิกสก์ ็ ใหท้ �ำขอ้ มลู สำ� รอง (backup data) เอาไวด้ ว้ ย 6. ถา้ พบเหน็ พฤตกิ รรมทสี่ งสยั ผรู้ ว่ มวจิ ยั อาจมีการสร้างข้อมูลหรอื ปลอมแปลงข้อมูล ไม่ควรเก็บไว้แต่เพียงผู้เดียว ควรแจ้งผู้บังคับบัญชาใน ล�ำดับชั้นต่อไป เช่น ถ้าพบว่าเพ่ือนร่วมห้องทดลองอาจปลอมแปลงข้อมูล ก็ให้แจ้งหัวหน้าห้องทดลอง ถ้าสงสัยหัวหน้าโครงการวิจัยก็ให้แจ้งหัวหน้า องคก์ รนน้ั ๆ เชน่ คณบดี ผอู้ ำ� นวยการสถาบนั อธกิ ารบดี ฯลฯ ทงั้ น้ี การแจง้ ควร เปน็ ไปอย่างปราศจากอคติ โดยแจง้ ขอ้ เท็จจรงิ ท่ีตนพบเห็น

ค่มู ือมาตรฐานการเผยแพร่ผลงานวิจัยและผลงานทางวชิ าการ 11 3. การจัดการรูปภาพ (Image Handling)   3.1 นิยาม ภาพดิจิตอล (Digital image) หมายความถึง ภาพท่ีผ่าน กระบวนการสรา้ งสรรค์โดยคอมพวิ เตอร์ เชน่ ผ่านการสแกน การถ่ายภาพ ด้วยกล้องดิจิตอล หรือการสร้างภาพขึ้นใหม่ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เปน็ ตน้ ซงึ่ แสดงผลภาพในลกั ษณะสองมติ ใิ นหนว่ ยทเี่ รยี กวา่ จดุ ภาพ (pixel) การจดั การรปู ภาพ(Imagehandling)หมายความถงึ การเปลย่ี นแปลง ทั้งหมดที่เกิดข้ึนกับรูปภาพเดิม เช่น การปรับความเข้มของแสง ปรับ คอนทราสต์ (contrast) ปรับสี การลบหรือเพ่ิมส่วนใดส่วนหนึ่งของภาพ การน�ำภาพจากคนละแหล่งมาตัดต่อรวมกัน เป็นต้น ในที่น้ีหมายถึง การจัดการรูปภาพเพอื่ ใชป้ ระกอบในการเผยแพร่ผลงานวจิ ยั   3.2 หลกั การและเหตุผล ในยุคของโลกดิจิตอล ผู้วิจัยมีเคร่ืองมือที่สามารถใช้ตกแต่งหรือ ดัดแปลงรูปภาพได้อย่างแพร่หลายและง่ายดาย ในบางคร้ังผู้วิจัยอาจ ต้องการท�ำการตกแต่งดัดแปลงรูปภาพ เพ่ือให้การส่ือสารด้วยภาพมีความ ชัดเจนรัดกุมมากขึ้น อย่างไรก็ตามการตกแต่งหรือดัดแปลงที่ไม่เหมาะสม อาจก่อให้เกิดปัญหาของการสร้างข้อมูลเท็จ หรือการปลอมแปลงหรือ บิดเบือนข้อมูลได้ดังนั้นจึงจ�ำเป็นต้องมีหลักเกณฑ์เพ่ือเป็นมาตรฐานแก่ ผู้วิจัยเพื่อยึดเป็นหลักปฏิบัติโดยท่ัวกัน ดังจะเห็นตัวอย่างจากคู่มือที่ เกย่ี วกบั การจดั การรปู ภาพในวารสารทางวทิ ยาศาสตรห์ ลายๆ ฉบบั นอกจากนี้ บรรณาธกิ ารของวารสารบางวารสารยงั สามารถใชซ้ อฟตแ์ วรเ์ พอ่ื ตรวจดกู าร จดั การรปู ภาพท่ีผดิ มาตรฐานได้ด้วย ถงึ แมว้ ่าวารสารบางฉบับไมไ่ ดม้ ีเกณฑ์ เขียนไว้อยา่ งชดั เจน ผ้วู จิ ัยหลกั จะต้องรับผิดชอบดแู ลการตกแต่งรปู ภาพให้ ถกู ตอ้ งตามหลักเกณฑ์และใหค้ วามรู้แกน่ กั ศกึ ษาหรือผู้ช่วยวจิ ัยด้วย

12 ค่มู อื มาตรฐานการเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยและผลงานทางวิชาการ   3.3 แนวทางการปฏบิ ัติ 1. ไมค่ วรเนน้ หรอื ทำ� ใหส้ ว่ นใดสว่ นหนง่ึ ของภาพเขม้ ขน้ึ (enhance) ท�ำให้ส่วนใดส่วนหน่ึงของภาพจางลง (obscure) เปลี่ยนต�ำแหน่งส่วนใด สว่ นหนึง่ ของภาพ (move) ลบสว่ นใดส่วนหนง่ึ ของภาพ (remove) หรือ เพม่ิ สว่ นใดสว่ นหนง่ึ ของภาพ (introduce) 2. การปรับความเข้มของแสง คอนทราสต์ (contrast) หรือความ สมดุลของสี สามารถท�ำได้ต่อเม่ือเป็นการปรับกับภาพท้ังหมดโดยรวม ไมเ่ ลือกปรบั เฉพาะบางสว่ นของภาพ และการปรับนั้นจะตอ้ งไมท่ �ำใหข้ ้อมูล บางส่วนจางลงหรือหายไปจากภาพตน้ ฉบับ 3. ไม่น�ำภาพที่ได้จากการทดลองที่ต่างกัน มารวมกันเป็นภาพ เดยี วกนั ถา้ จะนำ� มาเสนอพรอ้ มกนั ตอ้ งมเี สน้ หรอื กรอบแบง่ และบง่ ชคี้ วาม แตกต่างไวอ้ ยา่ งชัดเจน เช่น ภาพท่ีมาจากคนละตำ� แหนง่ ภายในเจล (gel) เดยี วกนั ภาพทม่ี าจากตา่ งเจลกนั ภาพทถ่ี า่ ยมาจากตา่ ง field กนั ภาพทไี่ ด้ มาจากการถา่ ยรูปทีป่ รบั ความเข้มของแสงตา่ งกนั 4. ในทุกกรณี จะต้องมีการส�ำรองไฟลร์ ปู ภาพตน้ ฉบบั ไวเ้ สมอ และ ทกุ ขน้ั ตอนในการปรบั แตง่ รปู ภาพใหผ้ วู้ จิ ยั บนั ทกึ ลำ� ดบั วธิ กี าร ปรมิ าณ ของ การปรบั แตง่ พรอ้ มทงั้ โปรแกรมทีใ่ ชใ้ นการปรับแตง่ ไวด้ ้วย 5. เมอื่ ผวู้ จิ ยั ตอ้ งการเผยแพรร่ ปู ภาพทผ่ี า่ นการเปลย่ี นแปลงมาแลว้ ให้แจ้งบรรณาธิการด้วยว่า รูปภาพดังกล่าวได้ผ่านการเปล่ียนแปลง และ ถ้าบรรณาธิการต้องการทราบรายละเอียดของการเปล่ียนแปลง และ/หรือ รปู ภาพตน้ ฉบับ ผูว้ ิจยั ต้องสามารถสง่ ให้บรรณาธิการตรวจสอบได้

ค่มู ือมาตรฐานการเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั และผลงานทางวิชาการ 13 4. การลอกเลียนโดยมิชอบ (Plagiarism)   4.1 นิยาม การลอกเลยี นโดยมชิ อบ (Plagiarism) หมายความถงึ การลอกเลยี น โดยมิชอบ ซ่ึงการลอกเลียนดังกล่าวอาจจะเป็นการลอกเลียนความคิด บทความ ทำ� นองเพลง รูปภาพ หรือข้อมลู หรอื สิ่งตา่ งๆ ที่มคี ณุ ค่าทางการ สรา้ งสรรค์   4.2 หลกั การและเหตุผล ในทางกฎหมาย จะมกี ฎหมายทรพั ยส์ นิ ทางปญั ญาคมุ้ ครองทรพั ยส์ นิ ทางปญั ญาตา่ งๆ อยู่แล้ว เช่น ลขิ สิทธิ์สิทธิบตั ร เครื่องหมายการคา้ ฯลฯ ดงั น้นั เมื่อเราเอย่ ถงึ plagiarism จึงจะหมายถงึ สิง่ ทก่ี ฎหมายมิได้คุ้มครอง หรือการลอกเลียนนั้นไม่เข้าข่ายผิดกฎหมาย แต่เน่ืองจากการลอกเลียน ดงั กลา่ วเปน็ การลอกเลยี นโดยมชิ อบ นกั วชิ าการและนกั วจิ ยั จงึ ไมพ่ งึ ประสงค์ ให้มีการลอกเลียนเช่นน้ี หลักการของการปกป้องทรัพย์สินทางปัญญาทั้ง ในทางกฎหมายและทางจรยิ ธรรม กเ็ พอื่ สง่ เสริมใหม้ กี ารสร้างสรรค์ โดยให้ ผสู้ ร้างสรรค์ได้มโี อกาสไดป้ ระโยชนจ์ ากการสร้างสรรค์ แต่ในขณะเดยี วกนั ประโยชน์ต่างๆ เหลา่ นั้น ต้องอยูใ่ นสมดุลภายใตเ้ งื่อนไขความยุตธิ รรมและ มนุษยธรรม เน่ืองจากในทางปฏิบัติ การลอกเลียนโดยมิชอบท่ีเกิดขึ้นในการ เผยแพร่งานวิชาการและงานวิจัยส่วนใหญ่จะเป็นการลอกเลียนบทความ (การเขียน) แนวทางปฏิบตั ดิ า้ นล่างจงึ เน้นไปทีก่ ารเขียนอยา่ งเหมาะสม   4.3 แนวทางปฏิบตั ิ 1. ในกรณีท่ีข้อความที่เราเขียนข้ึน เป็นองค์ความรู้หรือข้อมูลจาก ผู้นิพนธ์ท่านอื่นหรือบทความอ่ืนและข้อความน้ันผู้อ่านอาจจะต้องการรู้ที่มา ที่ไป ใหอ้ ้างองิ บทความเดิมไว้ด้วย (ดูหวั ข้อ references and citations ประกอบ)

14 ค่มู ือมาตรฐานการเผยแพร่ผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการ 2. จากกรณใี นขอ้ แรก ผเู้ ขยี นควรจะตอ้ งพยายามทวนความ (para- phrase) หรือ ย่อความ (summarize) ดว้ ยวาจา ลีลา และโวหารของ ตนเองในการเลา่ องคค์ วามรนู้ นั้ ๆ ไมค่ วรนำ� ลลี าและโวหารของเดมิ มาใชใ้ หม่ ยกเวน้ ในกรณที ก่ี ารเลา่ ความหรอื ทวนความ ไมส่ ามารถเลา่ ใหมไ่ ดด้ ว้ ยวาจา ลลี า และโวหารใหม่ได้ 3. ในบางกรณีการทวนความหรือย่อความ อาจท�ำให้ความหมาย เปลย่ี นไป หรืออรรถรสในการอา่ นเปลีย่ นไป เชน่ ความเดิมเป็นร้อยกรอง ความเดมิ เปน็ การเลน่ คำ� และมคี วามหมายหลายแงใ่ หผ้ อู้ า่ นคดิ หรอื ความเดมิ เป็นประโยคอมตะ ซ่ึงผู้อ่านส่วนใหญ่รู้จักดี ในกรณีดังกล่าวผู้เขียนจ�ำเป็น ตอ้ งยกขอ้ ความเดมิ มาทง้ั ชดุ ใหผ้ เู้ ขยี นใสข่ อ้ ความเดมิ ไวภ้ ายในเครอ่ื งหมาย อญั ประกาศ พร้อมท้ังอา้ งอิงข้อความเดิมดว้ ย 4. เมอ่ื เขยี นบทความเสร็จทุกครงั้ แลว้ ควรตรวจสอบโดยการเทยี บ บทความท่ีตนเขียนกับบทความท่ีตนใช้อ้างอิง เพ่ือให้แน่ใจว่าไม่มีข้อความ ใดทเ่ี ข้าขา่ ยการลอกเลยี นโดยมชิ อบ 5. ในการเขียนบทความ พึงหลีกเล่ียงการอ่านจากเอกสารอ้างอิง พร้อมกับเขียนต้นฉบับบทความไปด้วยหรือคัดลอกข้อความจากที่อื่นมา แปะในต้นฉบบั บทความทกี่ ำ� ลังเขยี น ถา้ ปฏิบัตติ ามหลักการนไ้ี ดโ้ อกาสท่จี ะ บังเอิญเขียนไปตรงกับข้อความในเอกสารอ้างอิงจนเข้าข่าย plagiarism จะเป็นไปได้ยาก ในกรณีที่ผู้เขียนยังไม่แน่ใจว่าข้อความที่ตนเขียนนั้น ซ�้ำ กับข้อความท่ีผู้อ่ืนเขียนก่อนหน้านี้อย่างไม่เหมาะสมหรือไม่ ผู้เขียนอาจจะ ตรวจสอบโดยโปรแกรมตรวจสอบ plagiarism ตา่ งๆ ท่มี อี ย่ทู อ้ งตลาดได้ บางวารสาร (http://en.wikipedia.org/wiki/Plagiarism_detection) 6. ในกรณีท่ีบทความต้นฉบับที่ผู้เขียนต้องการน�ำมาอ้างอิงเป็น บทความทตี่ นเขยี นเอง หรอื ขอ้ ความทผี่ เู้ ขยี นตอ้ งการเขยี นนน้ั ผเู้ ขยี นไดเ้ คย เขียนลงบทความอ่นื มาแลว้ เพอ่ื หลกี เล่ียงข้อกล่าวหาการลอกเลยี นตนเอง

คู่มอื มาตรฐานการเผยแพร่ผลงานวิจยั และผลงานทางวชิ าการ 15 โดยมชิ อบ (self-plagiarism) ใหผ้ เู้ ขยี นพงึ ปฏบิ ตั ติ อ่ ขอ้ เขยี นของตนดงั่ เปน็ ขอ้ เขยี นของบคุ คลอน่ื กลา่ วโดยยอ่ คอื มกี ารทวนความหรอื ยอ่ ความและการ อ้างอิงอยา่ งเหมาะสม 7. การที่สองบทความมีข้อความเหมือนกันน้ัน ในตัวมันเองมิได้เป็น plagiarism ไปโดยอัตโนมัติหรือการที่ท�ำการอ้างอิงแล้ว ก็มิใช่เป็นการ ปฏิเสธว่าข้อความดังกล่าวมิใช่ plagiarism โดยสิ้นเชิง ผู้พิจารณาควร พิจารณาหลักการและเหตุผลและแนวทางปฏิบัติทั้งหมดดังกล่าวข้างต้น โดยรวม 8. หลกั การขา้ งตน้ สามารถนำ� มาประยกุ ตใ์ ชใ้ นกรณขี องรปู ภาพหรอื ขอ้ มลู อยา่ งอืน่ ไดด้ ว้ ย ในกรณขี องรปู ภาพหรือตารางแสดงข้อมลู ถ้ามกี าร เผยแพรซ่ ำ�้ จะตอ้ งขออนญุ าตจากเจา้ ของลขิ สทิ ธกิ์ อ่ นและมกี ารอา้ งองิ อยา่ ง เหมาะสมดว้ ย

16 ค่มู ือมาตรฐานการเผยแพร่ผลงานวิจยั และผลงานทางวชิ าการ 5. เอกสารอา้ งองิ (Reference) และ การอา้ งองิ (Citation)   5.1 นิยาม เอกสารอ้างอิง (Reference) หมายความถึง ส่ิงท่ีใช้อ้างอิงเพื่อ สนับสนุนข้อมูล ความเห็น ข้อความหรือข้อสรุป ท่ีผู้นิพนธ์เขียนไว้ในงาน วชิ าการหรอื งานวจิ ยั เอกสารอา้ งองิ นอี้ าจจะเปน็ สงิ่ ตา่ งๆ ตอ่ ไปน้ี เชน่ ตำ� รา บทความวิจัย วิทยานพิ นธ์ บทความจากวารสารทง้ั วารสารวจิ ัยและวารสาร ท่ัวไป ข่าวจากหนงั สอื พมิ พ์ เว็บไซต์ ข้อกฎหมาย เปน็ ต้น   5.2 หลักการและเหตุผล เนอ่ื งจากเอกสารอา้ งองิ ถกู ใชเ้ พอื่ สนบั สนนุ ขอ้ ความทผี่ นู้ พิ นธเ์ ขยี น ผนู้ พิ นธจ์ งึ ตอ้ งอา่ นเอกสารทตี่ นใชต้ ามเหมาะสม ทงั้ นเ้ี พอื่ ใหแ้ นใ่ จวา่ เอกสาร นนั้ สามารถสนบั สนุนข้อความทต่ี นเขียนได้จริงๆ   5.3 แนวทางปฏบิ ัติ 1. เมอ่ื ผนู้ พิ นธค์ ดิ วา่ ขอ้ ความทตี่ นเขยี นนนั้ ตอ้ งการเอกสารสนบั สนนุ ผนู้ พิ นธค์ วรจะเลอื กเอกสารทเี่ หมาะสมทส่ี ดุ มาใชเ้ พอ่ื สนบั สนนุ ขอ้ ความนน้ั 2. ผนู้ พิ นธต์ ้องอา่ นเอกสารท่ตี นจะใช้เปน็ เอกสารอ้างองิ ก่อนเสมอ 3. ไมค่ วรอา้ งองิ แหลง่ ข้อมลู ทุตยิ ภมู ิ (เชน่ เว็บไซต์ หนังสอื ต�ำรา เป็นตน้ ) หรอื บทความทบทวนวรรณกรรม (review article) แตค่ วรอา้ งอิง จากเอกสารท่ีเป็นนพิ นธ์ตน้ ฉบบั (original article) 4. ควรอ้างอิงเอกสารเท่าที่จ�ำเป็นอย่างเหมาะสม ไม่ควรอ้างอิง เอกสารที่มากเกินไปจนพรำ�่ เพรือ่ 5. ไม่ควรน�ำบทคดั ย่อ (abstract) มาเปน็ เอกสารอ้างอิง 6. การอา้ งองิ เอกสารทยี่ งั ไมไ่ ดต้ พี มิ พแ์ ตไ่ ดร้ บั การตอบรบั การตพี มิ พ์ จากวารสารนน้ั ๆ แล้วควรระบไุ ว้วา่ เปน็ “in press” หรอื “forthcoming” ผนู้ พิ นธค์ วรไดร้ บั คำ� ยนิ ยอมเปน็ ลายลกั ษณอ์ กั ษรในการอา้ งองิ เอกสารชนดิ นี้ และจะตอ้ งตรวจสอบดว้ ยว่าเอกสารนั้นได้รับการตอบรบั ให้ตีพิมพจ์ รงิ

คู่มือมาตรฐานการเผยแพร่ผลงานวิจัยและผลงานทางวชิ าการ 17 7. การอา้ งองิ เอกสารทไ่ี ม่ไดร้ บั การตพี มิ พ์ แต่เป็นเอกสารท่ีไดเ้ คย ส่งเพ่ือพจิ ารณาการตีพมิ พ์ (submitted) หรอื การอ้างองิ ข้อมูลที่ไม่เคยสง่ ตีพิมพ์ ควรจะระบุไวว้ า่ เป็น “unpublished data” หรอื “unpublished observations” และควรไดร้ บั คำ� ยนิ ยอมเปน็ ลายลกั ษณอ์ กั ษรดว้ ย อยา่ งไร กต็ ามควรใชก้ ารอา้ งองิ เอกสารชนดิ นอ้ี ยา่ งระมดั ระวงั และใชใ้ นกรณที จี่ ำ� เปน็ เท่านั้น เนื่องจากไม่สามารถตรวจสอบความถูกต้องได้ นอกจากนี้ผู้ท่ีอยู่ใน ฐานะผู้ประเมินผลงาน (peer reviewer) ไม่ควรน�ำต้นฉบับบทความที่ บรรณาธิการส่งมาให้พิจารณาไปใช้อ้างอิงจนกว่าบทความนั้นจะได้รับการ ตพี ิมพเ์ รียบรอ้ ยแลว้ 8. ควรหลกี เลย่ี งการอา้ งองิ จากการพดู คยุ สว่ นตวั (personal com- munication) นอกเสียจากว่าข้อมูลน้ันไม่สามารถหาได้จากแหล่งอ่ืนแล้ว เทา่ น้นั ในกรณเี ชน่ นค้ี วรระบุช่อื และวนั เวลาของผู้ทพี่ ูดคยุ ไว้ในวงเลบ็ ท้ังนี้ ควรตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลและได้รับค�ำยินยอมเป็นลายลักษณ์ อกั ษรด้วย 9. เมื่อผู้นิพนธ์ได้ท�ำการทวนความ (paraphrase) หรือย่อความ (summarize) มาจากบทความอื่นไม่ว่าจะเป็นบทความของตนเองหรือ บทความของผู้อื่นก็ตาม ผู้นิพนธ์ควรที่จะอ้างอิงเอกสารต้นฉบับน้ันไว้ด้วย (ดหู ัวขอ้ plagiarism ประกอบ) 10. ผนู้ พิ นธต์ อ้ งตรวจสอบความถูกตอ้ งของรายการเอกสารอา้ งอิง ทัง้ ในแง่ของรปู แบบและเนื้อหา 11. ผู้นิพนธ์ไม่ควรใช้บทความท่ีถูกถอดถอน (retracted publication) ออกไปแล้วมาเป็นเอกสารอ้างอิง ยกเว้นข้อความท่ี ต้องการการสนับสนุนนั้นเป็นข้อความท่ีเกี่ยวข้องกับกระบวนการถอดถอน ซง่ึ ในกรณเี ชน่ น้ีควรระบไุ ว้ใน เอกสารอา้ งอิงด้วยว่าเป็นเอกสารทไี่ ด้ถูกถอน ออกไปแล้ว ดังตัวอย่างตอ่ ไปน้ี

18 คู่มือมาตรฐานการเผยแพร่ผลงานวจิ ยั และผลงานทางวิชาการ “การท่ีผ้นู พิ นธม์ ีผลประโยชนท์ ับซ้อนและไม่ประกาศแต่แรก อาจเป็นเครอ่ื ง บ่งบอกถึงเจตนาอันไม่บริสุทธิ์ใจ และบางครั้งผลประโยชน์ทับซ้อนนั้นๆ ก็อาจสร้างแรงจูงใจให้เกิดการประพฤติมิชอบทางวิชาการอย่างร้ายแรง เช่น fabrication หรือ falsification ได้ ด่ังเช่นในกรณีของงานวิจัยที่ พยายามเช่ือมโยงวัคซีน Measles, Mumps and Rubella (MMR) เขา้ กบั Autism (1) เป็นตน้ ” เอกสารอา้ งองิ Wakefield AJ, Murch SH, Anthony A, et al.Ileal-lymphoid-nodular hyperplasia, non-specific colitis, and pervasive developmental disorder in children [retracted in : Lancet. 2004 ; 363(9411) : 750]. Lancet. 1998 ; 351(9103) : 637-641.

คมู่ อื มาตรฐานการเผยแพรผ่ ลงานวิจยั และผลงานทางวชิ าการ 19 6. ผลประโยชน์ทบั ซอ้ น (Conflict of Interest)   6.1 นิยาม ผลประโยชนท์ ับซอ้ น (Conflict of Interest) จะเกดิ ขน้ึ เม่อื ความ สมั พนั ธข์ องผวู้ จิ ยั อาจกอ่ ใหเ้ กดิ อคตกิ บั กระบวนการวจิ ยั และหรอื กระบวนการ เผยแพร่งานวจิ ยั ความสมั พนั ธน์ ี้อาจเปน็ ความสมั พนั ธท์ างดา้ นบวกหรือลบ ก็ได้ หรืออาจเป็นความสัมพันธ์ส่วนบุคคล ความสัมพันธ์เชิงธุรกิจ ความ สัมพันธ์ทางการเงิน ฯลฯ และอคติที่อาจเกิดข้ึนน้ันอาจเกิดขึ้นจริงหรือไม่ เกดิ ขน้ึ กไ็ ด้ เพยี งแตม่ คี วามเปน็ ไปไดท้ จี่ ะเกดิ ขน้ึ และอคตนิ น้ั ๆ เมอื่ เกดิ แลว้ อาจส่งผลทางตรงหรือทางอ้อมต่อกระบวนการวิจัยและ/หรือกระบวนการ เผยแพรง่ านวิจยั โดยประโยชนอ์ าจตกแก่ผู้วจิ ยั หรอื ผอู้ ่นื   6.2 หลกั การและเหตผุ ล เมื่อผู้วิจัยต้องการหาค�ำตอบด้วยกระบวนการวิจัย จ�ำต้องใช้ กระบวนการท่ีมีอคติน้อยท่ีสุดหรือเกิดอคติให้น้อยท่ีสุด นักวิชาการเมื่อ ต้องการเผยแพร่งานวิชาการก็จ�ำต้องเผยแพร่โดยปราศจากอคติ ดังนั้นวิธี การจัดการกับผลประโยชน์ทับซ้อนท่ีดีที่สุดก็คือการหลีกเล่ียงความสัมพันธ์ อันอาจก่อให้เกิดอคติเหล่านั้น อย่างไรก็ตาม ความสัมพันธ์บางประการ ผู้วิจัยก็ไม่อาจหลีกเล่ียงได้ ซ่ึงเม่ือมีความสัมพันธ์เหล่านี้เกิดข้ึนส่ิงที่ผู้วิจัย พงึ ปฏิบัติกค็ ือการประกาศให้ผู้อา่ นทราบ อนึ่ง ผลประโยชน์ทับซ้อนนั้น โดยตัวของมันเองมิได้เป็นส่วนของ การผิดจริยธรรม หากแต่กระบวนการจัดการเมื่อเกิดข้ึนแล้วต่างหากท่ี อาจก่อให้เกิดการประพฤติผิดจริยธรรมได้ โดยเฉพาะอย่างย่ิงเมื่อผู้วิจัยมี ความตงั้ ใจซ่อนผลประโยชนท์ ับซอ้ นนั้นไว้มใิ หผ้ ู้อ่านทราบ

20 คู่มอื มาตรฐานการเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยและผลงานทางวชิ าการ   6.3 แนวทางปฏิบตั ิ 1. ผวู้ จิ ยั ควรพยายามหลกี เลยี่ งผลประโยชนท์ บั ซอ้ นมิให้เกิดข้นึ 2. ผวู้ จิ ยั พงึ ตระหนกั วา่ เปน็ หนา้ ทข่ี องผวู้ จิ ยั ทตี่ อ้ งสำ� รวจตนเองและ คณะวา่ มีผลประโยชนท์ ับซ้อนหรอื ไม่ 3. เมอ่ื เกดิ ผลประโยชน์ทบั ซอ้ นขึ้นแลว้ ผู้วจิ ัยพึงประกาศให้ผ้อู ่าน ทราบโดยอาจแจง้ ใหบ้ รรณาธกิ ารทราบ หรอื เขยี นประกาศไวใ้ นบทความเลย ผวู้ จิ ยั มคิ วรคดิ ไปเองวา่ ผลประโยชนท์ บั ซอ้ นนนั้ ๆ มโี อกาสกอ่ ใหเ้ กดิ อคตนิ อ้ ย มากจนไม่จ�ำเป็นต้องประกาศให้ผู้อ่านทราบ บรรณาธิการควรเป็นผู้ท�ำการ ตดั สินใจ 4. วารสารสว่ นใหญจ่ ะมนี โยบายเกย่ี วกบั ผลประโยชนท์ บั ซอ้ นชดั เจน อยแู่ ลว้ และบางวารสารอาจแยกเปน็ ประเภทต่างๆ เพ่ือความชัดเจน ผ้วู จิ ยั มหี นา้ ทใี่ นการอา่ นและปฏบิ ตั ติ ามนโยบายของวารสารนนั้ ๆ กอ่ นสง่ เรอ่ื งเพอื่ ขอรบั การตีพิมพเ์ สมอ 5. ในกรณีที่เป็นคณะผู้วิจัย เป็นความรับผิดชอบและหน้าที่ของ ผู้วิจัยทุกท่านท่ีพึงประกาศผลประโยชน์ทับซ้อนของตน โดยมีผู้วิจัยหลัก ทำ� หน้าท่ีรวบรวม 6. ในกรณที ่วี ารสารหรือผ้อู ่านเกดิ ความสงสัยและสอบถามกลับมา เปน็ หนา้ ทขี่ องผวู้ จิ ยั ทต่ี อ้ งตอบขอ้ สอบถามเหลา่ นน้ั ดว้ ยความบรสิ ทุ ธใิ์ จและ ปราศจากอคติ 7. ในกรณีที่ผู้วิจัยเกิดความสงสัยว่าความสัมพันธ์ใดๆ เป็น ผลประโยชนท์ บั ซอ้ นหรอื ไม่ ใหถ้ อื วา่ เปน็ และปฏบิ ตั ดิ งั เชน่ เปน็ เอาไวก้ อ่ นเสมอ 8. ในบางกรณีผู้วิจัยอาจเพ่ิงทราบว่าตนมีผลประโยชน์ทับซ้อน หลงั จากเผยแพรง่ านวจิ ยั ไปแลว้ ในกรณเี ชน่ นใ้ี หผ้ วู้ จิ ยั ประกาศตามหลงั โดยอาจ แจง้ ใหว้ ารสารทราบ (ดหู วั ข้อ correspondences ประกอบ)

คู่มือมาตรฐานการเผยแพร่ผลงานวจิ ัยและผลงานทางวิชาการ 21 7. ความลับและความเปน็ ส่วนตวั (Privacy and Confidentiality)   7.1 นยิ าม ข้อมูลที่เป็นความลับ หมายความถึง ข้อมูลท่ีไม่ควรถูกเปิดเผย ให้ล่วงรู้ไปถึงบุคคลท่ีสาม ทั้งน้ีอาจเป็นเพราะเหตุผลหลายประการ เช่น ก่อให้เกิดความเสื่อมเสีย อับอาย ก่อให้เกิดการสูญเสียความเป็นส่วนตัว หรือก่อให้เกิดความเสียหายต่อธุรกิจหรือการเงินต่อผู้หนึ่งผู้ใด หรือผู้เป็น เจ้าของขอ้ มูลมีความประสงค์ท่จี ะไมเ่ ปิดเผย เป็นต้น ความเป็นส่วนตวั หมายความถงึ ขอบเขตทัง้ ท่ีจบั ตอ้ งไดแ้ ละทเี่ ปน็ ส่ิงสมมติที่แยกผู้ใดผู้หนึ่งออกจากผู้อ่ืนและส่ิงแวดล้อม ทั้งน้ีในบางกรณี ขอบเขตต่างๆ เหลา่ น้ีอาจต้องอาศัยความลบั ในการสร้าง อนงึ่ จะเหน็ วา่ ความลบั และความเปน็ สว่ นตวั มใิ ชเ่ ปน็ สงิ่ เดยี วกนั แต่ มีความเกี่ยวพนั กันไดใ้ นหลายกรณี   7.2 หลักการและเหตผุ ล หลกั การและเหตผุ ลของความลบั และความเปน็ สว่ นตวั เปน็ หลกั การ ที่มีอยู่ในทกุ สังคมทกุ ชนชัน้ และทุกเชือ้ ชาติ ซง่ึ สะท้อนในเห็นในรปู แบบของ กฎหมายตา่ งๆ อยา่ งไรกต็ ามในการทำ� วจิ ยั บางครงั้ ผวู้ จิ ยั อาจไดอ้ ภสิ ทิ ธใ์ิ นการ รับรู้ข้อมูลบางอย่าง ที่เมื่อถูกเปิดเผยออกไปอาจละเมิดหลักการของความ ลบั และความเป็นส่วนตัวได้ ปญั หาดงั กลา่ วมักพบบอ่ ยในกรณีของการวิจัย ในสาขาวทิ ยาศาสตรช์ วี ภาพ ในสาขาวทิ ยาศาสตรช์ วี ภาพนน้ั ความสมั พนั ธ์ ระหวา่ งแพทยแ์ ละคนไขถ้ กู สรา้ งขนึ้ ดว้ ยความเชอื่ ถอื และเชอื่ มน่ั ซงึ่ กนั และกนั ซึ่งความเชื่อถือน้ีจะมีการรักษาความลับและความเป็นส่วนตัวของคนไข้ เปน็ สว่ นประกอบทส่ี ำ� คญั เมอ่ื แพทยม์ บี ทบาทเปน็ นกั วจิ ยั เพมิ่ ดว้ ย อาจทำ� ให้ เกิดความรู้สึกที่ต้องรายงานข้อมูลท้ังหมดต่อประชาคมวิจัยและสาธารณะ ผู้วิจัยจึงควรมีความระมัดระวังเป็นพิเศษเมื่อท�ำการวิจัยและเม่ือต้องการ เผยแพร่งานวจิ ยั

22 คู่มือมาตรฐานการเผยแพร่ผลงานวิจัยและผลงานทางวชิ าการ   7.3 แนวทางปฏิบัติ 1. ในกรณีท่ีเป็นการวิจัยในสาขาวิชาชีพท่ีมีจริยธรรมแห่งวิชาชีพ เกยี่ วกบั ความลบั และความเปน็ สว่ นตวั อยแู่ ลว้ (เชน่ สาขาวทิ ยาศาสตรช์ วี ภาพ) การท�ำงานวิจัยและการเผยแพร่งานวิจัยน้ันไม่ควรละเมิดจริยธรรมแห่ง วชิ าชีพ 2. ในกรณที ก่ี ารทำ� งานวิจยั และ/หรอื เผยแพร่นั้นๆ จ�ำต้องละเมิด หลักการแห่งวิชาชีพ (อาจเป็นเพราะประโยชน์ท่ีได้ต่อสังคมส่วนรวมมี มากกว่า) ผู้วิจัยควรขอความเห็นค�ำขออนุญาตจากทุกฝ่ายรวมท้ังองค์กร กลาง เชน่ คณะกรรมการจรยิ ธรรม (ethics committee, institution review board) ถึงแมจ้ ะไม่ถกู บงั คบั ดว้ ยกฎระเบียบใหข้ ออนุญาตกอ่ นกต็ าม 3. ผู้วิจัยควรแยกข้อมูลท่ีสามารถบ่งบอกหรือระบุตัวบุคคล ท่ีอาจ น�ำไปถึงการละเมิดความลับและความเป็นส่วนตัวของผู้เข้าร่วมงานวิจัย ได้ ท้ังนี้เพ่ือให้ผู้ที่ไม่มีหน้าท่ีในการระบุตัวบุคคลสามารถระบุตัวบุคคลได้ และเพื่อให้มีระดบั ความปลอดภยั ในการเก็บรักษาข้อมูลทีเ่ หมาะสม 4. ในกรณที ผี่ ูว้ จิ ยั จำ� เปน็ ต้องตีพมิ พภ์ าพถา่ ยบคุ คล เช่น ภาพผปู้ ่วย ผวู้ จิ ยั ควรจะปกปอ้ งความเปน็ สว่ นตวั ของผปู้ ว่ ยดว้ ยการ เผยแพรภ่ าพเฉพาะ สว่ นทจ่ี ำ� เปน็ ในการแสดงขอ้ มลู คาดแถบดำ� บรเิ วณทอี่ าจใชบ้ ง่ บอกตวั บคุ คล ได้ เชน่ ใบหนา้ หรอื ดวงตา ถ้าบรเิ วณที่ตอ้ งการแสดงข้อมลู นั้นเปน็ บริเวณ ทสี่ ามารถบง่ บอกตวั บคุ คลได้ นอกจากผวู้ จิ ยั จะขออนญุ าตจากคณะกรรมการ จรยิ ธรรมการวิจยั (ดขู อ้ 2) แล้ว ผูว้ ิจยั ยังควรต้องขออนุญาตเผยแพรภ่ าพ และข้อมลู ดังกลา่ วจากผ้ปู ว่ ยอกี ทางหน่ึงดว้ ย 5. เมื่อผู้วิจัยต้องการใช้ข้อมูลจากการสนทนากับบุคคลอ่ืนหรือ ระหว่างบุคคลอ่ืนมาเป็นเอกสารอ้างอิงควรขออนุญาตจากผู้เก่ียวข้องก่อน จะน�ำมาใช้ (ดูหัวข้อเอกสารอ้างอิงและการอ้างอิงประกอบ) และในค�ำขอ อนุญาตให้ถามอย่างชัดเจนว่าสามารถระบุชื่อได้หรือไม่ หรือจะให้ระบุช่ือ หรือไม่

คู่มอื มาตรฐานการเผยแพร่ผลงานวจิ ยั และผลงานทางวชิ าการ 23 8. การเผยแพร่ซ้ำ� (Redundant Publication)   8.1 นิยาม การเผยแพร่ซ�้ำ (Redundant Publication) หมายความถงึ การ เผยแพรง่ านวจิ ยั ขอ้ มลู หรอื บทความเดมิ ซงึ่ เคยถกู เผยแพรไ่ ปแลว้ โดยอาจ เปน็ การเผยแพร่ข้อมูลทงั้ หมดหรอื เพียงบางสว่ น การเผยแพรก่ อ่ นหนา้ โดย ตนเองหรอื บคุ คลอน่ื การเผยแพรโ่ ดยใชส้ อ่ื เดยี วกนั หรอื สอ่ื แตกตา่ งกนั การ เผยแพรโ่ ดยใชข้ อ้ ความโวหารเดยี วกนั หรอื ตา่ งกนั และการเผยแพรโ่ ดยภาษา เดยี วกันหรอื แตกตา่ งกนั เปน็ ตน้ หลักการและเหตผุ ล การเผยแพรซ่ ้ำ� อาจก่อให้เกดิ ปัญหาได้หลายประการด้วยกัน เชน่ 1. การใช้ทรัพยากรอย่างไม่เหมาะสม ท้ังนี้เนื่องจากทรัพยากรใน การเผยแพรง่ านวิจัยและงานวิชาการมีจ�ำกัด เจ้าของทรพั ยากรจึงต้องการ ใช้ทรพั ยากรนัน้ อย่างมีประสทิ ธภิ าพมากทสี่ ดุ และหากเจ้าของทรัพยากรที่ ถกู ใชใ้ นการเผยแพรซ่ ำ้� ทราบวา่ งานชนิ้ นนั้ เคยถกู เผยแพรม่ ากอ่ นหนา้ นแ้ี ลว้ อาจไม่ยนิ ดีให้ใชท้ รพั ยากรของตนในการเผยแพร่ซ�ำ้ 2. การละเมดิ ลขิ สทิ ธใิ์ นกรณที ก่ี ารเผยแพรง่ านครงั้ แรกนน้ั มลี ขิ สทิ ธ์ิ คมุ้ ครองอยู่ การเผยแพร่ซำ้� ในบางบริบทอาจเปน็ การละเมิดลขิ สิทธไิ์ ด้ 3. การวเิ คราะหข์ อ้ มลู ซำ้� ในกรณที เี่ ปน็ การเผยแพรข่ อ้ มลู วจิ ยั ซำ้� และ ผู้อ่านไม่ทราบว่าข้อมูลจากการเผยแพร่ซ้�ำซ้อนเป็นข้อมูลเดียวกัน อาจ กอ่ ใหเ้ กดิ การวเิ คราะหข์ อ้ มลู โดยเขา้ ใจผดิ วา่ ขอ้ มลู ซำ�้ ซอ้ นดงั กลา่ วเปน็ ขอ้ มลู ทแี่ ตกตา่ งกันได้ เชน่ ในกรณขี อง systematic review และหรือ meta analysis เปน็ ตน้ 4. การให้รางวัล การตอบแทน ความน่าเชอ่ื ถือ เกดิ ความซ�ำ้ ซ้อน เน่ืองจากในแวดวงวิชาการและการวิจัย ยังคงใช้การเผยแพร่เป็นตัวชี้วัด ตวั หน่ึง การเผยแพร่ซ้�ำซ้อนอาจก่อให้เกิดการให้ความน่าเช่ือถือ (credit) ซ�ำ้ ซอ้ นขึน้

24 คูม่ อื มาตรฐานการเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยและผลงานทางวชิ าการ   8.2 แนวทางการปฏิบตั ิ 1. เมื่อจ�ำเป็นต้องเผยแพร่ซ้�ำให้แจ้งให้เจ้าของทรัพยากรคร้ังแรก และครั้งที่สองทราบทั้งคู่ เช่น ถา้ ผู้วิจัยได้ลงตีพิมพ์งานวิจัยในวารสาร ก. ไปแลว้ ตอ่ มาคดิ ว่างานน้นั จะเป็นประโยชน์กบั ผ้อู า่ นวารสาร ข. ซ่ึงอาจจะ ไม่ไดอ้ ่านวารสาร ก. จะตอ้ งแจ้งใหบ้ รรณาธกิ ารทัง้ วารสาร ก. และ วารสาร ข. ทราบว่างานนี้เคยตีพิมพ์แล้วในวารสาร ก. หรือในกรณีท่ีผู้วิจัยได้เคย นำ� เสนอผลงานน้ีในงานประชมุ วชิ าการทีใ่ ดทีห่ น่ึงมาแล้วต่อมาตอ้ งการลงตี พมิ พ์ในวารสาร ควรแจ้งให้วารสารน้นั ๆ ทราบว่าเรือ่ งดงั กล่าวเคยน�ำเสนอ ท่ใี ดและเมือ่ ไรมาแลว้ 2. ในการเผยแพรง่ านครงั้ ทสี่ องใหอ้ า้ งองิ ถงึ การเผยแพรค่ รง้ั แรกดว้ ย 3. ในการเผยแพร่คร้ังท่ีสอง หากใช้สื่อเดียวกับครั้งแรก เช่น เปน็ บทความทงั้ คู่ ใหพ้ ยายามสอื่ ดว้ ยการทวนความ (paraphrase) ใหม้ ากทสี่ ดุ เทา่ ท่เี ป็นไปได้ ทง้ั นีเ้ พอ่ื หลกี เลี่ยงการละเมดิ ลิขสทิ ธแ์ิ ละการลอกเลียนโดย มิชอบ (ดูหัวขอ้ plagiarism ประกอบ) 4. หากการเผยแพร่ครั้งแรกเป็นงานท่ีมีลิขสิทธ์ิคุ้มครอง ให้ขอ อนญุ าตการใชง้ านลขิ สทิ ธจ์ิ ากเจา้ ของกอ่ นการใช้ เชน่ การเผยแพรค่ รง้ั ทส่ี อง จำ� เป็นต้องใชต้ ารางจากการเผยแพร่ครงั้ แรก ใหข้ ออนญุ าตกอ่ น 5. ในกรณีท่ีข้อมูลหรือบางส่วนของข้อมูลในการเผยแพร่ครั้งท่ี สองเป็นข้อมูลเดียวกับการเผยแพร่คร้ังแรกให้ระบุให้ชัดเจนว่าส่วนใดเป็น สว่ นเดยี วกนั เชน่ ในการเผยแพรค่ ร้งั แรกมอี าสาสมคั รในงานวจิ ัย 30 คน ต่อมามอี าสาสมัครเพมิ่ ขนึ้ เป็น 100 คน และผ้วู จิ ัยต้องการเผยแพรข่ ้อมลู เพม่ิ เตมิ ในกรณีนผ้ี วู้ ิจัยควรบอกผู้อ่านให้ชัดเจนว่า สว่ นใดในการวเิ คราะห์ ขอ้ มูลมาจากขอ้ มูลของอาสาสมัคร 30 คน ในการเผยแพร่ครงั้ แรก

คู่มอื มาตรฐานการเผยแพรผ่ ลงานวิจยั และผลงานทางวิชาการ 25 6. ถ้าเป็นไปได้ควรใส่เชิงอรรถ (footnote) ให้ผู้อ่านทราบ เช่น งานวิจัยนี้เคยน�ำเสนอในการประชุมใดมาก่อนหรืองานน้ีเป็นส่วนหนึ่งของ วิทยานิพนธ์ หรอื งานนี้เป็นการแปลจากงานใดในภาษาอน่ื 7. เมอ่ื ตอ้ งการใชง้ านเผยแพรท่ ซี่ ำ้� ซอ้ นนใี้ นการขอรางวลั ผลงานทาง วิชาการ หรอื การตอบแทนต่างๆ ให้แจ้งผูพ้ ิจารณาดว้ ยว่างานชนิ้ ใดเป็นงาน ทซ่ี ำ�้ ซ้อนกนั อยู่ รวมทงั้ แจง้ ว่าสว่ นใดเปน็ สว่ นทซ่ี �้ำซอ้ น หรอื ในกรณที ร่ี างวลั หรือผลตอบแทนต่างๆ ถูกให้มาโดยเจ้าตัวมิได้เป็นผู้ขอ เม่ือทราบว่าได้รับ ก็ควรแจ้งให้ผู้พิจารณาทราบเช่นเดียวกนั

26 คู่มือมาตรฐานการเผยแพรผ่ ลงานวิจยั และผลงานทางวชิ าการ 9. การตีพมิ พแ์ บง่ ย่อย (Salami Publication)   9.1 นิยาม การตพี มิ พแ์ บง่ ยอ่ ย (Salami Publication) หมายความถงึ การนำ� งานวจิ ยั ทมี่ คี วามเหมาะสมทจี่ ะตพี มิ พเ์ ปน็ บทความเดยี ว นำ� มาซอยแบง่ ยอ่ ย แยกสง่ ตพี มิ พเ์ ปน็ บทความหลายๆ บทความอยา่ งไมเ่ หมาะสมและไมจ่ ำ� เปน็ ซง่ึ ในการสง่ ตพี มิ พน์ นั้ ๆ อาจเปน็ การสง่ ตพี มิ พโ์ ดยบคุ คลหรอื กลมุ่ บคุ คลทเ่ี ปน็ คนเดียวกนั หรือต่างกนั ก็ได้   9.2 หลักการและเหตุผล การตพี มิ พแ์ บง่ ยอ่ ยอาจเปน็ พฤตกิ รรมพงึ ประสงคห์ รอื ไมพ่ งึ ประสงค์ กไ็ ด้ ตวั อยา่ งเชน่ งานวจิ ยั ชน้ิ ใหญแ่ ละมขี อ้ มลู มาก ไมส่ ามารถนำ� เสนอไดใ้ น บทความเดยี ว หรอื บางครง้ั ขอ้ มลู มกี ารเกดิ ขนึ้ อยา่ งตอ่ เนอื่ งทำ� ใหม้ ขี อ้ มลู ใหม่ มาน�ำเสนอ ผวู้ จิ ัยจำ� ตอ้ งเผยแพร่ในบทความมากกวา่ หนงึ่ บทความ ในกรณี เชน่ นี้อาจถอื เป็นการตพี มิ พ์แบง่ ยอ่ ยอยา่ งเหมาะสมได้ ในขณะท่ีงานวิจัยบางงานสามารถตีพิมพ์ได้ในบทความเดียว แต่ แยกข้อมลู บางอยา่ งออกมานำ� เสนอในอีกบทความหนง่ึ ท้งั ๆ ท่ีสามารถน�ำ ข้อมูลนั้นใส่ในอีกคอลัมน์ของตารางท่ีมีแล้วในบทความแรกได้ กรณีเช่นน้ี ถอื ว่าเปน็ การตพี ิมพแ์ บง่ ยอ่ ยอยา่ งไมเ่ หมาะสม จะเห็นได้ว่าความเหมาะสมหรือไม่ของการตีพิมพ์แบ่งย่อยนั้นเป็น อัตวิสัย อย่างไรก็ตามประเด็นที่จะต้องน�ำมาพิจารณาจะเป็นประเด็นเดียว กบั การเผยแพรซ่ ำ�้ (ดหู วั ขอ้ redundant publication ประกอบ) กลา่ วคอื มกี ารใช้ทรพั ยากรรว่ มกนั อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพและความโปรง่ ใสหรอื ไม่   9.3 แนวทางปฏิบตั ิ 1. ในกรณีท่ีงานวิจัยนั้นเป็นงานใหญ่ และผู้วิจัยคิดว่าต้องแบ่ง ตีพิมพ์เป็นหลายงานตั้งแต่ก่อนท�ำงานวิจัยอยู่แล้ว ผู้วิจัยหรือกลุ่มผู้วิจัย

คูม่ อื มาตรฐานการเผยแพร่ผลงานวิจยั และผลงานทางวชิ าการ 27 ควรตกลงกันต้ังแต่ก่อนท�ำงานวิจัยว่าจะตีพิมพ์ก่ีบทความ แต่ละบทความ จะมขี อ้ มูลอะไรบา้ ง และผใู้ ดจะเปน็ ผนู้ พิ นธข์ องแตล่ ะบทความ 2. ในกรณีท่ีงานวิจัยนั้นยังไม่เคยได้รับการเผยแพร่ และผู้วิจัย ตอ้ งการทจ่ี ะแบง่ ยอ่ ยการตพี มิ พพ์ รอ้ มๆ กนั ผวู้ จิ ยั ควรแจง้ บรรณาธกิ าร (หรอื เจ้าของทรพั ยากร เช่น ผูจ้ ัดประชุม ถ้าการเผยแพร่เปน็ การน�ำเสนอในงาน ประชุม) ว่ามีการเผยแพร่งานวิจัยอีกช้ินหนึ่งในเวลาเดียวกัน โดยมีข้อมูล ที่แตกต่างกันระหว่างการเผยแพร่ทั้งสอง และควรมีความพยายามในการ อ้างการเผยแพร่อีกงานซ่ึงกันและกันด้วย ตัวอย่างเช่น ผู้วิจัยแบ่งข้อมูล ออกเปน็ งาน A และ งาน B สง่ ไปขอรับการตีพิมพใ์ นวารสารสองวารสาร ในเวลาเดยี วกนั นอกจากการแจง้ บรรณาธกิ ารแลว้ ในบทความของงาน A ผู้วิจัยควรจะอ้างงาน B ด้วย โดยอาจจะเขียนว่า under submission ตอ่ มาถา้ งาน B ไดร้ บั การตพี มิ พก์ อ่ นงาน A ผวู้ จิ ยั สามารถเปลยี่ นแปลงขอ้ มลู เอกสารอา้ งองิ ได้ 3. ถ้าข้อมูลของงานวิจัยน้ันเคยได้รับการตีพิมพ์ (เผยแพร่) เป็น บางส่วนไปก่อนหน้าแล้ว เมื่อจะตีพิมพ์ข้อมูลเพ่ิมเติมก็ควรอ้างถึงงานแรก ด้วยและแจ้งบรรณาธิการถึงการตีพิมพ์คร้ังแรก นอกจากนั้นในบทความ หลังควรบ่งบอกให้ผู้อ่านทราบอย่างชัดเจนว่าข้อมูลใดเป็นข้อมูลท่ีเคย เผยแพรไ่ ปแล้ว

28 คูม่ อื มาตรฐานการเผยแพรผ่ ลงานวิจยั และผลงานทางวิชาการ 10. การสง่ บทความวจิ ยั ตพี มิ พม์ ากกวา่ หนง่ึ วารสาร (Simultaneous Submission)   10.1 นยิ าม การส่งบทความตีพิมพ์มากกว่าหนึ่งวารสาร (Simultaneous Submission) หมายความถงึ การสง่ บทความวจิ ยั เพอ่ื การตพี มิ พม์ ากกวา่ หนงึ่ วารสาร โดยอาจส่งในเวลาเดียวกันหรือส่งไปวารสารหนึ่งแล้วยังไม่ได้รับ คำ� ตอบจึงส่งเรอื่ งเดียวกันไปยงั อกี วารสารหน่ึง   10.2 หลักการและเหตุผล วารสารส่วนใหญ่ต้องใช้ทรัพยากรค่อนข้างมากในการพิจารณา ลงตพี มิ พบ์ ทความใดบทความหนงึ่ ไมว่ า่ จะเปน็ บคุ ลากรทดี่ ำ� เนนิ เอกสาร เวลา และผพู้ จิ ารณาใหค้ วามเหน็ (peer reviewer) ดงั นนั้ การสง่ บทความตพี มิ พ์ มากกวา่ หนงึ่ วารสาร จงึ เปน็ การใชท้ รพั ยากรตา่ งๆ เหลา่ นอ้ี ยา่ งไมเ่ หมาะสม และหากบทความที่ส่งไปได้รับการตีพิมพ์ทั้งสองแห่งหรือมากกว่าสองแห่ง โดยมีเนื้อหาเหมือนกันหรือคล้ายคลึงกันอาจก่อให้เกิดปัญหาการละเมิด จรยิ ธรรมในประเดน็ อนื่ ๆ อกี (ดหู วั ขอ้ plagiarism, salami publication และ redundant publication ประกอบ) อนึ่ง ปัจจุบันได้มีความพยายามในการสร้างระบบข้ึน เพื่อให้เกิด ความโปร่งใสและเอื้อให้เกิดการแข่งขันกันระหว่างวารสารอย่างยุติธรรม โดยใหผ้ นู้ พิ นธส์ ามารถสง่ ตพี มิ พผ์ า่ นระบบนไ้ี ดม้ ากกวา่ หนง่ึ วารสาร อยา่ งไร กต็ ามระบบนย้ี งั ไมเ่ กดิ ขนึ้ ดงั นน้ั ดว้ ยหลกั การของการใชท้ รพั ยากรรว่ ม การสง่ ตีพมิ พม์ ากกว่าหนึง่ วารสารในเวลาเดยี วกนั จงึ ยงั เปน็ เร่ืองไม่ควรปฏบิ ัตอิ ยู่   10.3 แนวทางการปฏบิ ตั ิ 1. เม่ือส่งเรื่องตีพิมพ์ไปยังวารสารใดวารสารหน่ึงแล้ว ควรรอจน ไดร้ บั การปฏเิ สธจากวารสารนน้ั กอ่ นทจ่ี ะสง่ ไปยงั วารสารอนื่ หากกระบวนการ ประเมินยังไมเ่ สร็จส้ินแตจ่ ำ� เปน็ ต้องเปลีย่ นวารสาร (เชน่ มขี อ้ มูลเพ่ิมเตมิ ท่ี

คู่มือมาตรฐานการเผยแพร่ผลงานวิจยั และผลงานทางวิชาการ 29 ทำ� ให้คณุ คา่ ของผลงานเพม่ิ ขึน้ หรอื ลดลง) ควรแจง้ ยกเลิกการสง่ ตพี ิมพ์กบั วารสารนนั้ และรอจนไดร้ บั การยนื ยนั จากบรรณาธกิ ารกอ่ นจงึ พจิ ารณาสง่ ไป ยังวารสารอ่นื ตอ่ ไป 2. เพ่ือหลีกเลี่ยงปัญหาการส่งผลงานตีพิมพ์ซ�้ำซ้อน ในกรณีที่มี ผู้นิพนธ์มากกว่าหนึ่งคนซ่ึงต่างคนต่างส่งโดยไม่ได้แจ้งผู้ร่วมนิพนธ์ทั้งหมด กอ่ น (เปน็ สงิ่ ทไ่ี มค่ วรทำ� ) คณะผนู้ พิ นธค์ วรยดึ หลกั การเปน็ ผนู้ พิ นธ์ (ดหู วั ขอ้ authorship ประกอบ) โดยเครง่ ครดั และตกลงรว่ มกนั วา่ ใครจะมหี นา้ ทเี่ ปน็ ผสู้ ง่ ผลงานตพี มิ พแ์ ละใหผ้ นู้ น้ั เปน็ คนเดยี วทรี่ บั ผดิ ชอบตดิ ตอ่ ประสานงานกบั บรรณาธิการ ตง้ั แตส่ ่งผลงานจนถงึ การตีพิมพใ์ นที่สดุ 3. ในการประชมุ วชิ าการ บางครง้ั ผจู้ ดั ประชมุ จะใหผ้ นู้ ำ� เสนอผลงาน ส่งบทความเพ่ือพิจารณาลงตีพิมพ์ในวารสารที่ผู้จัดประชุมเป็นเจ้าของอยู่ และในบางกรณอี าจใหผ้ นู้ พิ นธล์ งนามโอนลขิ สทิ ธใิ์ หไ้ วล้ ว่ งหนา้ ในกรณเี หลา่ น้ี ผู้นิพนธ์ควรปฏิบัติเสมือนตนได้ส่งเรื่องไปให้วารสารพิจารณา กล่าวคือ หลงั การประชมุ เมอ่ื ผนู้ พิ นธต์ อ้ งการสง่ ไปยงั วารสารอนื่ ใหแ้ จง้ ผจู้ ดั ประชมุ วา่ ตน จะสง่ ไปลงตพี มิ พ์ยังวารสารอน่ื แลว้ รอคำ� ตอบจากผจู้ ัดประชุมก่อนเสมอ

30 คู่มือมาตรฐานการเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั และผลงานทางวิชาการ 11. การเลือกขอ้ มลู ส่งตพี ิมพ์ (Selective Publication)   11.1 นยิ าม การเลอื กขอ้ มลู สง่ ตพี มิ พ์ (Selective Publication) หมายความถงึ การเผยแพรผ่ ลงานวิชาการหรือผลงานวิจัย โดยคดั เลือกเฉพาะผลท่เี ป็นไป ในทิศทางท่ีตนต้องการหรือเลือกที่จะไม่เผยแพร่ผลงานโดยมีเจตนาให้ผู้รับ ส่ือเข้าใจหรือแปลผลต่างไปจากการท่ีได้รับทราบผลทั้งหมดหรือมีเจตนา ซอ่ นเรน้ ข้อมลู   11.2 หลักการและเหตุผล เม่ือผู้วิจัยมีค�ำถามและเลือกท่ีจะตอบค�ำถามน้ันด้วยกระบวนการ วจิ ยั แล้ว เมอ่ื ได้คำ� ตอบออกมาควรเผยแพรใ่ ห้ผอู้ ื่นได้รับรถู้ ึงกระบวนการใน การตอบคำ� ถามรวมท้ังผลท่ไี ด้ แมว้ ่าผลทีไ่ ดอ้ าจไมเ่ ปน็ ไปตามแนวทางท่ตี น ตัง้ สมมตุ ฐิ านไว้ก็ตาม อยา่ งไรกต็ าม เนอื่ งจากขอ้ จำ� กดั ทางดา้ นทรพั ยากรโดยเฉพาะเนอ้ื ที่ ในการตีพิมพ์ ท�ำให้ผ้วู จิ ยั อาจไมส่ ามารถเผยแพร่รายละเอยี ดทกุ อยา่ งทพ่ี บ จากงานวจิ ยั ได้ และอาจตอ้ งเลอื กนำ� เสนอเฉพาะขอ้ มลู ทค่ี ดิ วา่ เปน็ ประโยชน์ และควรน�ำเสนอ จะเห็นได้ว่าเส้นแบ่งระหว่างการผิดจริยธรรมหรือไม่ ใน พฤตกิ รรมอยา่ งเดยี วกนั นน้ั อยทู่ เี่ จตนาและผลจากการไมน่ ำ� เสนอขอ้ มลู ตา่ งๆ จะทำ� ใหผ้ ้อู ่านเข้าใจผดิ จากทคี่ วรจะเป็นหรือไม่ บรรณาธิการก็มีส่วนในการคัดเลือกผลงานวิจัยที่จะปรากฏต่อ สาธารณชน ดังน้ันบรรณาธิการจึงควรคัดเลือกบทความลงตีพิมพ์จาก คุณภาพของงานวิจัยและประโยชน์ท่ีผู้อ่านจะได้รับจากบทความดังกล่าว เช่น ควรเลือกตีพิมพ์ผลงานท่ีพบความแตกต่าง (positive trials) และ ไมพ่ บความแตกตา่ ง (negative trials) ระหวา่ งกลมุ่ ทดลองและกลมุ่ ควบคมุ ดว้ ย มิใช่เลือกตพี ิมพเ์ พยี งดา้ นใดดา้ นหนง่ึ เท่าน้ัน

ค่มู อื มาตรฐานการเผยแพรผ่ ลงานวิจยั และผลงานทางวชิ าการ 31   11.3 แนวทางการปฏิบัติ 1. ผ้วู ิจัยพึงรายงานผลของการวจิ ัยอยา่ งถกู ตอ้ ง ไม่บิดเบอื น ตรง ตามระเบียบวิธีวิจัยทุกคร้ังไม่ว่าผลการวิจัยนั้นจะเป็นบวกหรือลบ หรือเป็น ไปหรือไม่เป็นไปตามสมมติฐานท่ีต้ังไว้ โดยมิให้ผลประโยชน์ของผู้ให้ทุน (sponsor) หรือผลประโยชนส์ ่วนตัวมาเป็นเครอ่ื งชี้นำ� 2. หากเป็นไปได้ กลุ่มผู้วิจัยควรตกลงกันก่อนการท�ำวิจัยว่าจะ รายงานตวั แปรใดและจะวเิ คราะห์ตัวแปรใด ดว้ ยวธิ กี ารอยา่ งไร 3. บรรณาธกิ ารพึงพิจารณาตพี มิ พเ์ ผยแพร่ผลงานวจิ ยั ท่ีมีระเบียบ วธิ วี จิ ยั ทีถ่ ูกต้อง และใหผ้ ลที่นา่ เชอื่ ถือ โดยนำ� ผลของการวิจัยมาเป็นตวั ชนี้ ำ� ว่าสมควรตพี ิมพเ์ ผยแพรห่ รือไม่

32 คมู่ ือมาตรฐานการเผยแพร่ผลงานวิจยั และผลงานทางวชิ าการ 12. การสอื่ สารโตต้ อบระหวา่ งผู้วจิ ยั (Correspondences)   12.1 นิยาม การสอ่ื สารโตต้ อบระหวา่ งผวู้ จิ ยั (Correspondence) หมายความถงึ การโตต้ อบหรอื การสอ่ื สารระหวา่ งคณะผวู้ จิ ยั หรอื ผนู้ พิ นธก์ บั บคุ คล วารสาร หรือองค์กรอื่น โดยหัวข้อของการส่ือสารเก่ียวข้องกับงานวิชาการหรืองาน วิจัยท่ีเคยเผยแพร่ไปก่อนหน้านั้น ทั้งน้ีการส่ือสารอาจอยู่ในรูปแบบใดก็ได้ เชน่ ทางวาจา ทางอเี มล จดหมาย เป็นต้น   12.2 หลักการและเหตผุ ล ในการเผยแพร่งานวิชาการหรืองานวิจัย บางครั้งผู้เผยแพร่จ�ำเป็น ตอ้ งสอื่ สารกบั ผอู้ นื่ ไมว่ า่ จะเปน็ การแกไ้ ขขอ้ มลู ตอบคำ� ถามคำ� วจิ ารณ์ ฯลฯ การสื่อสารน้ีควรมีข้อมูลที่ถูกต้อง เป็นตัวแทนความเห็นหรือค�ำตอบของ ผู้วิจยั ทั้งกลมุ่ และอย่ภู ายในระยะเวลาอนั เหมาะสม   12.3 แนวทางปฏิบัติ 1. ในกรณีท่ีผู้วจิ ยั หรอื ผูน้ พิ นธ์มเี พยี งคนเดียว ผนู้ พิ นธ์ยอ่ มตอ้ งทำ� หน้าทีน่ ี้โดยอตั โนมตั ิ แตเ่ มื่อผวู้ ิจัยหรอื ผนู้ พิ นธ์เปน็ คณะที่มมี ากกวา่ หนงึ่ คน ควรทจี่ ะตกลงกนั ใหผ้ หู้ นงึ่ ผใู้ ดทำ� หนา้ ทเ่ี ปน็ ตวั แทนกลมุ่ ในการสอ่ื สารระหวา่ ง กลุม่ กบั ผู้อ่นื 2. ตัวแทนกลุ่มในการส่ือสารน้ี ควรจะเป็นผู้ท่ีรู้เกี่ยวกับงานที่ เผยแพร่เป็นอย่างดี แต่ถ้างานท่ีเผยแพร่นั้นเป็นงานใหญ่และซับซ้อนมาก อาจไมจ่ ำ� เปน็ ตอ้ งรลู้ กึ ในทุกๆ ดา้ น 3. เมอื่ ตวั แทนกลมุ่ จำ� เปน็ ตอ้ งสอ่ื สารในประเดน็ ทเ่ี ปน็ ความเหน็ หรอื ประเดน็ ทม่ี ใิ ชข่ อ้ เทจ็ จรงิ ตวั แทนผนู้ ค้ี วรตดิ ตอ่ ผวู้ จิ ยั หรอื ผนู้ พิ นธท์ งั้ กลมุ่ เพอื่ ตกลงรว่ มกนั วา่ จะสื่อสารอย่างไร

คมู่ อื มาตรฐานการเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั และผลงานทางวชิ าการ 33 4. ในกรณที ผี่ วู้ จิ ยั เหน็ วา่ ขอ้ มลู ทไี่ ดเ้ คยเผยแพรไ่ ปกอ่ นหนา้ นม้ี คี วาม ผดิ พลาดไมค่ รบถว้ น ซงึ่ เปน็ ความผดิ พลาดทมี่ ไิ ดท้ ำ� ใหเ้ นอ้ื หาหลกั เปลยี่ นไป เชน่ ขอ้ ความหรอื ตวั เลขไมถ่ กู ตอ้ ง ไมค่ รบถว้ น ไมช่ ดั เจนพอ ผวู้ จิ ยั ควรตดิ ตอ่ บรรณาธกิ ารของหนงั สอื หรอื วารสารนน้ั ๆ โดยเรว็ ทสี่ ดุ เพอ่ื ลงขอ้ ความแกไ้ ข (corrections, corrigendum, addendum, etc) อนงึ่ การทขี่ อ้ ความแกไ้ ข นนั้ จะไดร้ บั การตพี มิ พห์ รอื ไมน่ นั้ อยทู่ ด่ี ลุ ยพนิ จิ ของบรรณาธกิ าร ผวู้ จิ ยั ไมค่ วร อนุมานว่าบรรณาธกิ ารอาจไม่ตพี ิมพ์ให้ จึงไมต่ ิดตอ่ แจง้ ขอ้ ผิดพลาดนน้ั ๆ 5. ในกรณที ผี่ วู้ จิ ยั ลงบทความในวารสารและมผี วู้ จิ ารณช์ ขี้ อ้ ผดิ พลาด กลา่ วคำ� นยิ มหรอื อน่ื ๆ ผา่ นมาทางวารสาร และบรรณาธกิ ารของวารสารนน้ั ๆ สง่ เรอ่ื งเพอ่ื ใหผ้ วู้ จิ ยั ตอบ ผวู้ จิ ยั ควรตระหนกั วา่ เปน็ ความรบั ผดิ ชอบในฐานะ นักวชิ าการ นกั วจิ ยั ท่ตี ้องตอบประเด็นตา่ งๆ เหล่านนั้ อย่างปราศจากอคติ และภายในระยะเวลาอนั เหมาะสม

34 คู่มอื มาตรฐานการเผยแพร่ผลงานวจิ ัยและผลงานทางวชิ าการ 13. การถอนบทความ (Retraction of Publication)   13.1 นยิ าม Retraction of Publication (การถอนบทความ) หมายความถงึ กระบวนการยกเลกิ บทความทเี่ คยไดร้ บั การเผยแพรไ่ ปแลว้ ซง่ึ อาจเปน็ เพยี ง บางส่วนหรือทั้งหมดของบทความ การถอนบทความอาจท�ำได้โดยเร่ิมจาก ผูน้ พิ นธท์ ุกท่าน บางทา่ น หรอื บรรณาธกิ ารของวารสารน้ันกไ็ ด้ สิทธิในการ ถอดถอนนั้นสุดท้ายจะขึ้นอยู่กับบรรณาธิการ อย่างไรก็ตามกฎหมายไทยมี การคมุ้ ครองธรรมสทิ ธิ์ (moral rights) ไวแ้ ก่ผ้นู พิ นธ์ดว้ ยถงึ แมผ้ นู้ พิ นธจ์ ะ ได้ท�ำการโอนลขิ สิทธขิ์ องบทความตนไปใหแ้ กว่ ารสารน้ันๆ แลว้   13.2 หลกั การและเหตุผล ในการเผยแพร่งานวิจัยและงานวิชาการน้ัน บางคร้ังผู้วิจัยอาจพบ ว่าข้อมูลที่เผยแพร่นั้นไม่ควรได้เผยแพร่ต่อไป เช่น มีข้อมูลที่ไม่เป็นจริง บดิ เบือน เกิดความผิดพลาด ไมส่ ามารถท�ำซ�้ำได้ การวเิ คราะหท์ างสถติ ทิ ี่ มคี วามล�ำเอยี ง หรือไมเ่ ปน็ ไปตามท่ตี กลงกนั ไว้ หรอื ผ้วู จิ ยั อาจจะมที ัศนคติ ที่เปล่ียนไปจากบทความ ขอ้ สรุปทต่ี นเคยตพี ิมพ์ เปน็ ตน้ นอกจากนัน้ อาจ เป็นบทความที่มีการท�ำผิดจริยธรรมการท�ำวิจัย เช่น การปลอมแปลงหรือ บดิ เบอื นขอ้ มูล (falsification) การสรา้ งข้อมลู เทจ็ (fabrication) และ/ หรือ การลอกเลียนโดยมิชอบ (plagiarism) (ดูหัวข้อ data integrity และ plagiarism ประกอบ) ซง่ึ จะเห็นวา่ ในกรณีตา่ งๆ เหล่าน้ี ทำ� ใหม้ ีการ เปลยี่ นแปลงของเนื้อหาหลกั ของบทความไปอย่างมาก หรือมกี ารแกไ้ ขทไ่ี ม่ เขา้ ขา่ ยลกั ษณะของการแกไ้ ขบทความ (corrections)จงึ จำ� เปน็ ตอ้ งยกเลกิ บทความนนั้ ๆ ดว้ ยการถอนบทความนนั้ ออกโดย อาจถอนเปน็ บางสว่ น (par- tial retraction) หรือท้งั บทความก็ได้

คมู่ ือมาตรฐานการเผยแพรผ่ ลงานวิจยั และผลงานทางวิชาการ 35 ในเชงิ วชิ าการ บทความทถี่ กู ถอนออกไปแลว้ (retracted publication) มนี ยั วา่ ขอ้ มลู และขอ้ สรปุ ตา่ งๆ ของบทความดง้ั เดมิ นน้ั ไมถ่ กู ตอ้ ง จงึ ไมค่ วรจะ นำ� ไปใชใ้ นการอา้ งองิ หรอื เปน็ พนื้ ฐานในการทำ� วจิ ยั เรอ่ื งนนั้ ๆ ตอ่ ไป ยกเวน้ แต่ ในกรณที ต่ี อ้ งการอา้ งองิ นนั้ เกย่ี วขอ้ งกบั ประเดน็ ทท่ี ำ� ใหเ้ รอ่ื งนนั้ ถกู ถอดถอน (ดหู วั ข้อ reference and citation ประกอบ)   13.3 แนวทางการปฏิบตั ิ 1. กลุ่มผู้วิจัยควรตกลงกันในกลุ่มว่า จะถอนส่วนใดของบทความ หรอื ถอนทัง้ บทความ หลงั จากน้นั จึงเขียนจดหมายแจง้ ความประสงค์พรอ้ ม ทั้งเหตผุ ลไปยังบรรณาธกิ ารโดยลงช่ือทา้ ยจดหมายรว่ มกัน 2. เม่ือบรรณาธิการตัดสินใจถอนบทความตามความประสงค์ของ ผูว้ จิ ยั แลว้ ต้องลง“บทความถอดถอน” (retraction of publication หรือ retraction notice) เพื่อช้ีแจงถึงสาเหตุของการถอนบทความนั้นๆ อน่ึง ตวั บทความถอดถอนควรมเี ลขหน้าของตนเองโดยมิใช่เปน็ ใบแทรก และให้ อา้ งองิ ถงึ บทความเดมิ ทถี่ กู ถอนดว้ ยในกรณที ว่ี ารสารนนั้ ถกู ทำ� ดรรชนใี นฐาน ข้อมูล บทความถอดถอนนี้ต้องอยู่ในดรรชนีเช่นเดียวกับบทความเดิมท่ีถูก ถอนออกไป ท้ังนี้เพื่อให้ผู้ค้นข้อมูลได้มีโอกาสค้นพบและทราบว่าบทความ น้นั ๆ ไดถ้ กู ถอนออกไปแลว้ 3.“บทความถอดถอน” ควรมชี อื่ เรอ่ื ง (title) ชอ่ื ผวู้ จิ ยั และคำ� สำ� คญั (keywords) เหมือนกับบทความท่ถี ูกถอน ทง้ั นเี้ พื่อเพิม่ โอกาสใหผ้ ูส้ ืบคน้ ขอ้ มลู ได้มโี อกาสคน้ พบวา่ บทความนนั้ ๆ ไดถ้ กู ถอนไปแล้วมากทสี่ ดุ 4. ไม่ว่าบทความเดิมจะถกู ถอนด้วยสาเหตุใดก็ตาม บทความเดมิ ท่ี ถกู ถอนออกไปจะตอ้ งไมถ่ กู ทำ� ลาย หรอื ลบทง้ิ จากฐานขอ้ มลู ของวารสารนน้ั ๆ แต่อาจมีข้อความให้ผู้อ่านทราบว่าบทความน้ีได้ถูกถอนออกไปแล้ว เช่น การใชล้ ายนำ�้ หรอื การพมิ พท์ สี่ ว่ นหวั ของบทความนนั้ วา่ “retracted” ในทกุ ๆ หนา้

36 คูม่ อื มาตรฐานการเผยแพร่ผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการ 5. บรรณาธกิ ารควรใหค้ วามสำ� คญั แกก่ ารถอนบทความและพจิ ารณาลง “บทความถอดถอน” โดยเรว็ ท่ีสุด 6. ในกรณีท่ีบรรณาธิการคิดว่าบทความน้ันๆ สมควรจะถูกถอนแต่ ผวู้ จิ ยั ปฏเิ สธทจ่ี ะถอน เชน่ กรณกี ารลอกเลยี นบทความโดยมชิ อบ (plagiarism) หรอื มกี ารปลอมแปลงขอ้ มลู (fabrication) บรรณาธกิ ารสามารถจะดำ� เนนิ การถอนบทความดังกล่าวโดยมิต้องได้รับความยินยอมจากผู้วิจัย ท้ังน้ี เนอื่ งจากบรรณาธกิ ารมสี ทิ ธแิ ละความรบั ผดิ ชอบเตม็ ทกี่ บั บทความตา่ งๆ ใน วารสารท่ีตนรับผิดชอบ

คู่มือมาตรฐานการเผยแพร่ผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการ 37 14. การขนึ้ ทะเบยี นงานวจิ ยั ทางคลนิ กิ (Clinical Trial Registration)   14.1 นิยาม การขน้ึ ทะเบยี นงานวจิ ยั ทางคลนิ กิ (Clinical Trial Registration) หมายความถงึ การนำ� ขอ้ มลู งานวจิ ยั บนั ทกึ ในฐานขอ้ มลู เปดิ ทส่ี ามารถเขา้ ถงึ และคน้ หาได้ งานวิจัยทางคลินิก (Clinical Research) หมายความถึง งานวจิ ัย ทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั คน (อาสาสมคั ร) และมกี ารนำ� ขอ้ มลู ทางคลนิ กิ มาใชป้ ระโยชน์ งานวจิ ยั ทางคลนิ กิ แบบทดลอง (Clinical Trial) หมายความถงึ งาน วจิ ยั ทางคลนิ กิ ทมี่ กี ารใหย้ า สารเคมี การรกั ษา การฟน้ื ฟู อปุ กรณ์ และอน่ื ๆ ให้ กบั อาสาสมคั รท่เี ขา้ รว่ มงานวิจัย และมีการวัดผล (ข้อมลู ) จากอาสาสมัคร มาใชใ้ นการวิเคราะหแ์ ละสรุปผล   14.2 หลกั การและเหตผุ ล การขึ้นทะเบียนงานวิจัยทางคลินิก มีประโยชน์และผลพึงประสงค์ หลายประการด้วยกัน คืองานวิจยั ทางคลินิกแบบทดลอง เปน็ งานวิจยั ทผี่ ล ของงานวิจัยสามารถน�ำมาใช้เปล่ียนแปลงวิธีการรักษา การฟื้นฟูและการ ดแู ลผปู้ ว่ ย แตเ่ นอ่ื งจากงานวจิ ยั ทเี่ กดิ ขน้ึ บางงานวจิ ยั ใหผ้ ลการศกึ ษาไมต่ รง ตามทผ่ี วู้ จิ ยั ตอ้ งการและ/หรอื ผลการศกึ ษาไมแ่ สดงวา่ การรกั ษาใหมม่ คี วาม แตกต่างจากการรักษาวิธีเดิม จึงพบว่ามีงานวิจัยจ�ำนวนหน่ึงที่ไม่ลงตีพิมพ์ และ/หรือ เผยแพร่ให้สาธารณชนได้รับทราบ บางงานวิจัยเลือกเฉพาะผล การวิจัยที่เป็นประโยชน์ต่อผู้ให้การสนับสนุนแต่ไม่เปิดเผยข้อมูลทั้งหมด (ดูหวั ขอ้ selective publication ประกอบ) ดังนั้นองค์กรท่ีเกยี่ วขอ้ งกบั การตีพิมพ์งานวิจัยทางวิทยาศาสตร์สุขภาพ และองค์การอนามัยโลกจึงมี การบังคับให้มีการข้ึนทะเบียนงานวิจัยทางคลินิก ก่อนท่ีจะด�ำเนินการวิจัย กับอาสาสมัครคนแรก เพ่ือให้สาธารณชนและประชาคมวิจัยได้รับทราบถึง งานวิจัยทีเ่ กดิ ขึ้นแล้วหรือก�ำลังจะเกดิ ขน้ึ ในอนาคต

38 คมู่ ือมาตรฐานการเผยแพร่ผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการ นอกจากนแ้ี ลว้ ฐานขอ้ มูลงานวิจัยทางคลนิ ิกเหล่านี้ ยังสามารถน�ำ ไปใชป้ ระโยชนอ์ ืน่ ๆ ได้ เชน่ แหล่งทนุ หรือองคก์ รที่ควบคุมนโยบาย สามารถ เหน็ ภาพของงานวจิ ยั โดยรวมทเี่ กดิ ขนึ้ ผวู้ จิ ยั สามารถใชป้ ระโยชนจ์ ากขอ้ มลู งานวิจยั และผรู้ ่วมวิจัย รวมถึงอาสาสมัครต่างๆ กส็ ามารถเขา้ ถงึ งานวจิ ัยได้ สะดวกขึ้น   14.3 แนวทางการปฏิบัติ 1. ผู้วจิ ยั มหี น้าท่ีในการขนึ้ ทะเบียนงานวจิ ัยทางคลินิก 2. ผู้วิจัยควรข้ึนทะเบียนงานวิจัยในฐานข้อมูลท่ีได้รับการยอมรับ และการรับรองจากองค์การอนามัยโลก โดยลงทะเบียนในหวั ข้อต่างๆ ตาม ข้อก�ำหนดสากลที่ไดร้ ะบไุ ว้ 3. ผู้วิจัยต้องรับผิดชอบต่อความถูกต้องของข้อมูลท้ังหมดท่ีได้ข้ึน ทะเบยี นไว้ 4. ผูว้ ิจยั ควรข้นึ ทะเบยี นงานวจิ ยั ในระยะเวลาท่ีเหมาะสม และควร เขา้ ไปปรบั ปรุงขอ้ มูลให้ถกู ตอ้ งและทนั สมยั ตามสงิ่ ท่ีเกดิ ขึ้นจริง 5. การข้ึนทะเบียนงานวิจัยสามารถกระท�ำได้ผ่านฐานข้อมูลใดก็ได้ ทไี่ ดร้ บั การยอมรบั และการรบั รองจากองคก์ ารอนามยั โลก ฐานขอ้ มลู งานวจิ ยั ทางคลนิ กิ ทมี่ ขี นาดใหญแ่ ละมผี นู้ ยิ มเขา้ ไปขน้ึ ทะเบยี นกนั มาก เชน่ ฐานขอ้ มลู clinicaltrials.gov (http://www.clinicaltrials.gov) และ ฐานขอ้ มลู cur- rent controlled trials (http://www.controlled-trials.com) อยา่ งไรกต็ าม สำ� หรบั ผวู้ จิ ยั ทตี่ อ้ งการขน้ึ ทะเบยี นในฐานขอ้ มลู ของประเทศไทย สามารถขน้ึ ทะเบยี นไดท้ ี่ http://www.clinicaltrials.in.th 6. หลงั จากขน้ึ ทะเบยี นงานวจิ ยั แลว้ จะไดร้ บั เลขทะเบยี นงานวจิ ยั ซง่ึ จะแตกตา่ งกนั ไปแลว้ แตฐ่ านขอ้ มลู เมอื่ ผวู้ จิ ยั ตอ้ งการเผยแพรง่ านวจิ ยั ของตน เชน่ การตพี มิ พบ์ ทความลงในวารสาร ใหบ้ ง่ บอกเลขทะเบยี นงานวจิ ยั ทไ่ี ดข้ น้ึ ทะเบยี นไวด้ ว้ ย โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ถา้ งานวจิ ยั นนั้ เปน็ งานวจิ ยั ทางคลนิ กิ แบบ ทดลอง

คมู่ อื มาตรฐานการเผยแพร่ผลงานวจิ ยั และผลงานทางวชิ าการ 39 รายนามผ้จู ดั ทำ� 1. นพ.กิตติศกั ด์ิ กลุ วิชิต ภาควชิ าจกั ษวุ ทิ ยา คณะแพทยศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั 2. ศ.ดร.ธีรยทุ ธ วิไลวัลย์ ภาควชิ าเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย 3. ศ.นพ.อนันต์ ศรเี กียรติขจร ภาควชิ าสรีรวิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย 4. ผศ.พญ.สมนพร บณุ ยะรัตเวช สองเมือง ภาควชิ าอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 5. ศ.พญ.วสี ตลุ วรรธนะ ภาควชิ าจักษุวิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั 6. รศ.นพ.รุง่ ศักดิ์ ศิวานุวฒั น์ ภาควชิ าศัลยศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย 7. ศ.พญ.ดร.ณัฏฐยิ า หิรัญกาญจน์ ภาควชิ าจุลชวี วิทยา คณะแพทยศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั 8. รศ.นพ.สมเกียรติ อัศวภรู ีกรณ์ ภาควิชาจกั ษุวทิ ยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั ขอนแกน่

ผู้ประสานงาน : ฝา่ ยพฒั นามาตรฐานการวจิ ยั กองมาตรฐานการวจิ ยั สำ� นกั งานคณะกรรมการวจิ ยั แหง่ ชาติ 196 ถนนพหลโยธนิ แขวงลาดยาว เขตจตจุ ักร กรุงเทพมหานคร 10900 โทรศัพท์ 02-579-9202, 02-561-2445 ตอ่ 464 โทรสาร 02-579-9202

พมิ พ์ที่ : โรงพิมพแ์ ห่งจุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย [5803-011/3, 500(2)] 254 ถนนพญาไท แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทร. 0-2218-3549-50, 0-2215-3612 website: http://www.cuprint.chula.ac.th e-mail: [email protected]