21 บตั รความรู หนว ยที่ 2 ระบบควบคุมนํา้ มนั เช้ือเพลิงเคร่อื งยนตแ กส โซลนี ดว ยอเิ ลก็ ทรอนิกส บทนํา ระบบควบคุมการเชื้อเพลิง เปนระบบยอยระบบหน่ึง ของระบบฉีดเชื้อเพลิงอิเล็กทรอนิกส และเปนระบบท่ีมีความสําคัญตอประสิทธิภาพการทํางานของเครื่องยนต ท่ีใชระบบฉีดเช้ือเพลิงแทน ระบบคารบูเรเตอร ระบบเชื้อเพลิงจะทําหนาที่จายน้ํามันเชื้อเพลิงภายใตความดันท่ีเหมาะสมใหกับ ระบบเพ่ือใหหัวฉีดประจําสูบฉีดนํ้ามันเชื้อเพลิงเขาผสมกับปริมาณอากาศท่ีเขาสูกระบอกสูบ ตาม สภาวะการ ทเ่ี ครื่องยนตต อ งการมเี น้ือหาในการศกึ ษาดงั น้ี 1 สวนประกอบของระบบเชอื้ เพลงิ ระบบนํา้ มนั เช้อื เพลงิ ทาํ หนาที่จายนํา้ มนั เชื้อเพลงิ โดยปม นาํ้ มันเชื้อเพลงิ แรงดันสูง สงไปยังราง หัวฉีด เพ่ือเก็บรักษาแรงดัน เพื่อจายน้ํามันภายใตความดันสูง ไปยังหัวฉีด โดยมีตัวควบคุมความดัน ทําหนาที่รักษาความดันในระบบไวที่ 2.55 Kg/cm2 (36-41 PSI) ในระบบเชื้อเพลิงประกอบดวย อุปกรณท่ีสําคัญคือ ถังนํ้ามันเชื้อเพลิง (Fuel tank) ปมน้ํามัน (Fuel pump) กรองนํ้ามัน (Fuel filter) รางหัวฉีด (Dritributor pipe) ตัวควบคุมความดัน (Pressure regurator) และหัวฉีดประจํา สบู (Injector) ภาพท่ี 2-2 โครงสรางระบบนํ้ามนั เช้อื เพลงิ ทมี่ า : www.rjes.com
22 1.1 ถังนํ้ามนั เชอ้ื เพลงิ (Fuel Tank) ถังนํ้ามันเชื้อเพลิง ทําหนาท่ี เก็บสํารองน้ํามันเช้ือเพลิงไวใหเพียงพอตอความตองการของ ระบบการทาํ งานเครือ่ งยนต ภายในถังนาํ้ มันเชื้อเพลิงจะติดต้ังชุดสงสัญญาณวัดระดับปริมาณน้ํามัน สํารองไว ในรถยนตรุนใหม ๆ จะติดต้ังปมนํ้ามันเชื้อเพลิงไวในถังเช้ือเพลิงดวยตัวถังนํ้ามันเชื้อเพลิง จะติดต้ังอยูใตตัวถังรถบริเวณใตเบาะน่ังผูโดยสารตอนหลัง ถังนํ้ามันเช้ือเพลิงจะถูกออกแบบใหมี ภาพรางเขากับโครงสราง รอง-มุมของตัวรถแตละรุน ขนาดความจุของถังน้ํามันเชื้อเพลิงจะแตกตาง กันไป ท้ังน้ี ข้ึนอยูกับขนาดความจุปริมาตรดูดของเครื่องยนต ควรเติมน้ํามันใหเต็มอยูตลอดเวลา เพือ่ ลดการเปน เหงื่อ ซ่ึงมีโอกาสทําใหม นี ้าํ ปนอยใู นถงั ระดบั นํ้ามนั เชื้อเพลงิ ถานอยเกินไปจะทําใหเกิด ปญ หาปม นํ้ามนั เช้อื เพลิงชํารดุ ไดง ายปจจบุ ันถังนาํ้ มันจะสรา งจากวัสดุที่ทําดวยพลาสติกแทนเหล็กขึ้น รูปเนอ่ื งจากมคี วามยืดหยนุ ที่สงู กวา และนํ้าหนกั เบา ปมเชอื้ เพลงิ กรองเชื้อเพลงิ ตัวควบคุมแรงดันและตวั รับรูระดับเช้ือเพลงิ ตัวรบั รูระดบั เช้ือเพลงิ ทอเชือ้ เพลงิ ไป-กลบั ทอ ระบายไอเชือ้ เพลิง ทอ กาลักนํา้ ทอเตมิ เชือ้ เพลิง ภาพที่ 2-3 ถงั นํ้ามันเชอื้ เพลงิ
23 1.1.1 ปม น้ํามันเช้ือเพลงิ (Fuel pump) ปมน้ํามันเช้ือเพลิง ทําหนาท่ี ดูดนํ้ามันเชื้อเพลิงจากถังนํ้ามันเช้ือเพลิง แลวทําใหนํ้ามัน เชื้อเพลิงมีแรงดันสูงขึ้นสงไปยังหัวฉีด ปมนํ้ามันเชื้อเพลิงท่ีใชกับเคร่ืองยนตหัวฉีด จะเปนปมแบบใช ไฟฟา ปจ จบุ นั ปม น้ํามันเชอ้ื เพลงิ จะตดิ ต้งั อยภู ายในถังนาํ้ มนั เชือ้ เพลงิ รวมกับชุดลูกลอยวัดระดับน้ํามัน เชื้อเพลิงทําใหสามารถระบายความรอนไดดีขณะทํางานเสียงจะเบา ปมนํ้ามันเชื้อเพลิงแบงออกได เปน 1.1.1.1 ปมนํ้ามันเช้ือเพลิงแบบลุกกลิ้ง (Roller pump) มักติดตั้งอยูภายนอกถัง น้ํามันเชื้อเพลิง สามารถตรวจสอบการทํางานไดงาย ตรวจสอบการรั่วของระบบนํ้ามันเชื้อเพลิงได โดยสะดวก ภาพที่ 2-4 ปมน้ํามนั เชื้อเพลิงแบบลกุ กล้ิง (Roller pump) ภาพที่ 2-5 แสดงการทํางานของปมแบบลกู กล้งิ ที่มา : www. Hrsbsataff.ednet.ns.ca
24 หลักการทํางานของปมน้ํามันเช้ือเพลิงแบบลูกกล้ิง เม่ือปมทํางาน มอเตอรไฟฟาจะขับแผนโร เตอรตัวกลางใหหมุน ทําใหลูกกลิ้งท่ีอยูระหวางโรเตอรกับผนังของเส้ือปมเบียดกับผนังเส้ือปมท่ี ออกแบบเปน ลักษณะวงรี ทาํ ใหเ กิดแรงดูด ดูดน้ํามันเช้ือเพลิงเขาที่ทางเขาของปมน้ํามันเช้ือเพลิง เม่ือ หมุนโรเตอรตอไปลูกกล้ิงก็จะอัดน้ํามันใหมีแรงดันสูงดันลิ้นกันกลับใหเปด ดันนํ้ามันเช้ือเพลิงออกไป ยังชองทางออกปมลูกกลิ้งประกอบดวย โรเตอร (Rotor) ซ่ึงสวมอยูภายในเสื้อปม (Pump spacer) ในลักษณะที่เยื้องศูนยกัน ปมลูกกล้ิงถูกขับโดยมอเตอรไฟฟา เม่ือโรเตอรหมุนลูกกลิ้ง (Roller) ก็จะ ถูกทําใหเคลื่อนที่ไปตามพื้นผิวผนังภายในของเส้ือปม ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงชองวางระหวาง ลูกกลิ้งแตละตัวท่ีแตกตางกัน ทําใหเกิดการดูดน้ํามันจากถังนํ้ามันเช้ือเพลิง และสงนํ้ามันเชื้อเพลิงไป ยงั หัวฉดี ดังภาพที่2-4 ชองวางระหวางลูกกลิ้งทางดานซายมือจะคอย ๆ มีปริมาตรเพ่ิมขึ้นจึงเกิดการ ดูดนํ้ามันเช้ือเพลิงเขามา และเม่ือโรเตอรหมุนตอไปปริมาตรจะคอย ๆ เล็กลง ทําใหมีความดันสูงข้ึน ซ่ึงจะตรงกับชองน้ํามันออก (Outlet port) พอดี น้ํามันเชื้อเพลิงจึงไหลออกทางชองนํ้ามันออก ตัว เก็บเสียง (Silencer) ทําหนาที่ ระงับอาการส่ันสะเทือนและเสียงจากปม เน่ืองจากการผลิตความดัน น้ํามันเช้ือเพลิง ใหอยูในรูปการเคล่ือนไหวของไดอะแฟรม ล้ินกันกลับ (Check valve) ทําหนาท่ี รักษาความดนั นํ้ามันเชอ้ื เพลงิ ใหต กคางอยใู นทอน้ํามันเชอื้ เพลิง เพ่ือทําใหการสตารทงายข้ึน หากไมมี ความดันตกคาง จะทําใหเกิดฟองอากาศภายในทอน้ํามันเช้ือเพลิงไดงายในขณะอุณหภูมิสูง ทําให สตารทเครื่องยนตยากในครั้งตอไป ล้ินระบาย (Relief valve) ทําหนาที่ ปองกันความดันน้ํามัน เชื้อเพลิง ซึ่งหมุนเวียนภายในมอเตอร และปมไมใหมีความดันเกินคาที่กําหนด (ประมาณ 3.4-5.0 บารขึ้นอยูกับบริษัทผูผลิตดวย) เม่ือความดันเกินคาท่ีกําหนด ล้ินระบายจะถูกดันใหเปด น้ํามันจะ ระบายกลบั ไปทางชอ งนา้ํ มนั เขา ปมนํา้ มันเชอื้ เพลงิ แบบนี้มขี อดีก็ คือ น้ํามันเชื้อเพลิงจะชว ยระบายความรอนใหแ กมอเตอร และทาํ ใหน ้ํามนั เช้อื เพลิงมีอุณหภูมสิ งู ขึน้ จึงเผาไหมไ ดงา ย แตมขี อเสยี คอื จะมีเสยี งดงั ในการทํางาน เน่อื งจากลูกกลิ้งตองเสยี ดสกี ับเส้อื ปม 1.1.1.2 ปมนํ้ามันเชื้อเพลงิ แบบใบพดั (Van pump) ปม น้าํ มนั เชื้อเพลิงแบบใบพัด (Van pump) ตดิ ตง้ั อยูภายในถังนา้ํ มนั เช้อื เพลิงซ่ึงการติดตงั้ ปม น้ํามันเชื้อเพลิงแบบน้ี ทําใหขอดีกวาการติดตั้งภายนอกถัง คือ ถังนํ้ามันเช้ือเพลิงจะชวยปองกันการ กระแทกจากกอนหินหรือวัสดอุ นื่ มาโดนปมนา้ํ มนั มีเสยี งเงียบขณะปมน้ํามันเชื้อเพลิงทํางาน ปองกัน การเกิดสุญญากาศในทอน้ํามันขณะปมดูดนํ้ามันเชื้อเพลิง น้ํามันเช้ือเพลิงชวยระบายความรอน ของ ปมน้ํามันเช้ือเพลิงไดดีกวา สวนของใบพัดไมไดสัมผัสกับเส้ือปมโดยตรง ทําใหมีอายุการใชงานนาน กวา ไมเ ปลืองเนื้อที่ในการตดิ ตั้ง และไมต อ งเดินทอ ทาง
25 ภาพที่ 2-6 ปมนาํ้ มันเชอื้ เพลงิ แบบใบพดั (Van pump) ภาพท่ี 2-7 แสดงโครงสรา งและการทํางานของปมแบบใบพัด ที่มา : www. Gasthai.com หลกั การทํางานของปม น้าํ มนั เชอื้ เพลงิ แบบใบพัด (Van pump) เมื่อมอเตอรหมุนจานหมุนของ ปมน้ํามันเชื้อเพลิง จะหมุนในทิศทางเดียวกัน ใบพัดปม (Blade) จะหมุนตามไปดวย ซึ่งอยูบนขอบ
26 นอกของจานหมุน ใบพัดจะดูดนํ้ามันเบนซินจากทางเขาของปมนํ้ามันเช้ือเพลิง และสงไปยังชองทาง น้าํ มนั ออก นา้ํ มันเบนซนิ จะถกู จา ยออกทางชอ งทางออก ผา นล้ินกนั กลับและลิ้นระบายแรงดนั ล้ินกันกลับและล้ินระบายแรงดันนํ้ามันเบนซินทั้งคูจะเปด-ปด เพ่ือรักษาความดันนํ้ามันเบนซินใหอยู ประมาณ 2.5.-3.5 บาร ในขณะเครื่องยนตทํางาน เม่ือเคร่ืองยนตดับล้ินกันกลับ และลิ้นระบายจะ รกั ษาความดันตกคางเหลือไว ทําใหสตารทเครอ่ื งยนตติดงาย 1.1.2 ปม แรงดันสงู (High pressure fuel pump) ปมแรงดันสูง ใชกับเครื่องยนต GDI (Gasoline Direct Injection )ทําหนาท่ีสรางแรงดันสูง ประมาณ(34-206 บาร) เพ่ือเอาชนะความดันในหองเผาไหม ปมแรงดันสูง ใชกลไกที่เชื่อมตอการ หมุนมาจากเครือ่ งยนต เปนตัวขับ สวนใหญใชเฟองทดมาจาก เพลาขอเหวี่ยง หรือบางรุนใชเฟองขับ มาจาก เพลาลูกเบยี้ ว ภาพท่ี 2-8 ปม แรงดันสูง (High pressure fuel pump) 1.1.3 กรองเช้อื เพลงิ (Fuel filter) กรองน้ํามันเช้ือเพลิง ทําหนาท่ี กรองเศษผงและส่ิงสกปรกตาง ๆ ท่ีปนอยูในน้ํามันเชื้อเพลิง กอนสง เขาหัวฉีดเครื่องยนต ติดตั้งอยูระหวางปมน้ํามันเช้ือเพลิงกับทอจายน้ํามันเชื้อเพลิง (ทอเรล) กรอง นํ้ามันเชือ้ เพลิงมอี ายกุ ารใชงานประมาณ 50,000-80,000 กิโลเมตร ถา กรองนาํ้ มันเชื้อเพลิงเริ่มอุดตัน จะมีผลทําใหเคร่ืองยนตสตารทติดยาก เรงไมขึ้นหรือเคร่ืองยนตเดินเบาไมเรียบ มีอาการสะดุด ปจจุบัน กรองเชื้อเพลิงที่ใช ม2ี ชนิดคอื ชนิดอยูในถงั น้ํามัน และชนิดท่อี ยูน อกถงั นํา้ มนั
27 กรองเชื้อเพลิง ภาพท่ี 2-9 กรองเชอื้ เพลงิ ชนดิ อยูในถังน้ํามัน ภาพที่ 2-10 กรองเชอื้ เพลิงชนดิ นอกถงั นํ้ามัน
28 1.2 วงจรควบคมุ ไฟฟาปอนECMและปม นาํ้ มันเช้ือเพลงิ วงจรไฟฟาควบคุม ใหปมทํางานเฉพาะตอนท่ีเคร่ืองยนตทํางานเทานั้น หากเครื่องยนตดับ ปมน้ํามัน เช้ือเพลิงจะหยุดทํางานทันที แมวาสวิทชกุญแจ จะเปดอยู (อยูตําแหนง ON) ก็ตาม ท้ังนี้ เพื่อ ปองกันอันตราย ท่ีอาจจะเกิดข้ึนจากกรณีรถยนตเกิดอุบัติเหตุและมีการแตกหักของทอทางน้ํามัน เชือ้ เพลิง ซ่ึงอาจทาํ ใหเกดิ ไฟไหมข น้ึ ได มกี ารควบคุมการทํางานดังนี้ 1.2.1 เม่อื สวิตชก ุญแจอยทู ตี่ าํ แหนง ON ไฟบวกจาก ขั้ว IG2(สสี ายB-R) เขาฟว ส IG2 10 A ออกจากฟวส IG2 ไปรอท่ีขั้วที่1 ของ COPN Relay(รีเลยปมเช้ือเพลิง) ในกลองฟวส และออกจาก กลองฟวส (สีสายB-0) เขาท่ีข้ัว9 (IGSW) ของ ECM ระบบรับทราบสัญญาณ IGSW ปลอยไฟ+ออก จาก ข้ัว ที่8 (MREL) (สีสายB-W) ไปที่ EFI Relay ] ลงกราวดผานขั้วท่ี2(สายสีW-B) ทําให ที่ EFI Relay ทํางานตอ หนาสมั ผสั ระหวา งขวั้ 5กบั 3 สง ไฟ + จาก ฟวส EFI 20 A ออกจากข้ัวที่3 (สีสายB- R) เขา ข้ัว B+ และB2+ของ ECM แตปมเช้ือเพลิงจะยังไมทํางาน (หมายเหตุ บางรุนปมจะส่ัง ทํางาน 3-5 วินทแี ลวตดั การทํางานเพือ่ ชวยสรางแรงดนั ในระบบ) 1.2.2 เมื่อสวิตชกุญแจอยูที่ตําแหนง START เมื่อเคร่ืองยนตหมุน สัญญาณ STA1 (สีสายB- Y) ผานสวิตชเกียรวาง(รถท่ีใชเกียรอัตโนมัติ)และสวิตชครัชในรถที่ใชเกียรธรรมดา (สีสายB-W) สงไปยัง ECM ขั้ว12(STA) ECM จะเปด วงจรขวั้ 25 FC เพ่ือลงกราวด ขดลวด COPN Relay(รีเลยปม เชอื้ เพลิง) ลงกราวดค รบวงจรทาํ ให หนาสัมผสั ระหวางขว้ั 5กับ3 ตอ กนั จากนั้นกระแสไฟจากข้ัวท่ี5 ของ COPN Relay(รีเลยปมเช้ือเพลิง) จะถูกปลอยใหไหลผานขั้ว3 (สีสายL-B) เขาไปยังปมน้ํามัน เชื้อเพลิงลงกราวด(สีสายW-B) ครบวงจร ปม นาํ้ มนั เชอื้ เพลงิ ทาํ งาน 1.2.3 ขณะเครอื่ งยนตห มนุ หรือเคร่ืองยนตท าํ งาน ECM จะไดรับสัญญาณ NE+ จาก เซน็ เซอรตาํ แหนงเพลาขอเหว่ียงเขาท่ีข้ัว 27( NE+) ECM จะเปดวงจรขว้ั 25 FC เพอื่ ลงกราวด ขดลวดรเี ลยปมเชื้อเพลงิ ลงกราวดครบวงจร ปม เชอื้ เพลงิ จะยังทาํ งานตลอด 1.2.4 ถาเคร่ืองยนตดับถงึ แมวา สวิตชก ญุ แจ จะอยูที่ ON สัญญาณ NE+ จะไมถูกสง เขาไป ยัง ECM ทาํ ให ECM จะปดวงจรขวั้ 25 FC สัง่ หยดุ การลงกราวด รีเลยเ ปดวงจรทําใหปม น้ํามนั เช้อื เพลิงหยดุ การทํางาน 1.2.5 เมอ่ื รถชนหรือพลิกคว่ําเมอื่ รถชน ECU ของระบบถุงลมนิรภยั จะสงสัญญาณมายัง ECMจะปด วงจรขวั้ 25 FC ส่งั หยุดการลงกราวด รเี ลยเ ปดวงจรทําใหป มน้ํามันเชื้อเพลิงหยุดการ ทํางาน 1.2.6 เมือดับสวติ ชกุญแจ จะอยูที่ OFF สัญญาณ IGSWจะไมถกู สง เขา ไปยงั ECM ทําให ECM จะปดวงจรขั้ว25 FC สง่ั หยดุ การลงกราวด รเี ลยเปดวงจรทําใหปมนาํ้ มันเชื้อเพลิงหยุดการ ทํางาน
29 ภาพที่ 2-11 วงจรควบคมุ ไฟฟาปอนECMและปมนํา้ มันเช้ือเพลิง ท่มี า : คูมือการซอมเครอื่ งยนตแ กส โซลนี บริษทั โตโยตาจาํ กดั
30 ภาพที่ 2-11 (ตอ) ที่มา : คมู ือการซอมเคร่อื งยนตแ กส โซลนี บริษทั โตโยตา จาํ กดั
31 ภาพที่ 2-11 (ตอ) ที่มา : คมู ือการซอมเคร่อื งยนตแ กส โซลนี บริษทั โตโยตา จาํ กดั
32 ตารางที่ 2-1 ขัว้ ตอ ECM ท่ีมา : ปรชี า เจียงจันทร (2560) 2AZ-FE , Camry 2005 (ACV30) E6 (A) E7 (B) 1 - +B (B/R) 1 - TACH (B/O) 2 - +B (B/R) 2- 3 - BATT (B/Y) 3 - ELS3 (B/Y) 4 - IAC- (G/W) , Intake Air Control 4 - STP (G/W) Valve 5 - HT1C (L) 5 - CCV (L) , VSV Canister Close 6 - ODMS (G/O) Valve 7 - ODLP (O) 6 - IAC+ (G/B) , Intake Air Control 8 - SPD (V/W) Valve 9 - L (L/B) 7 - +BM (L/R) 10 - 2 (Y) 8 - MREL (B/W) 11 - R (R/B) 9 - IGSW (B/O) 12 10 13 - SIL (W) 11 14 - THWO (Y/G) 12 - STA (B/W) 15 - IMO (L/B)
33 ตารางที่ 2-1 (ตอ) E7 (B) E6 (A) 16 - IMI (R/L) 17 - TC (P/B) 13 14 - FANH (W/L) 18 15 - ELS1 (G) 19 - 3 (L/W) 20 16 - ST1- (R/B) 21 - D (W/L) 17 22 23 18 - VPA (L/Y) 24 - AC1 (Y/B) 25 - ACT (Y/R) 19 - VPA2 (W/R) 26 20 - EPA (LG/B) 27 - OX1C (B) 21 - EPA2 (LG) 28 22 - EC (W/B) 29 - 23 30 - W (G/R) 24 - 31 - 25 - FC (G/R) 32 - F/PS (L) , SRS System 26 - VCPA (R) 33 - CAN H (R) 27 - VCP2 (B/R) 34 - CAN L (W) 28 35 - WFSE (R) 29 - EOM (BR) 30 - NSW (B/Y) 31 - PTNK (P) , Vapor Pressure Sen.
34 ตารางท่ี 2-1 (ตอ ) E9 (D) E10 (E) 1 - #40 (W) 1 - HA1A (B/R) 2 - #30 (Y) 2 - HT1B (L) 3 - ME01 (W/B) 3 - E1 (BR) 4 - E03 (W/B) 4 - M- (W) 5 - #20 (R) 5 - M+ (B) 6 - #10 (L) 6 - E02 (W/B) 7 - E04 (W/B) 7 - E01 (W/B) 8 - S4 (L) 8 9 - DSL (Y) 9 10 - SL1- (P) 10 11 - SL1+ (R/B) 11 12 - SLT+ (Y/R) 12 - OC1- (Y) 13 - SLT- (Y/B) 13 - OC1+ (B/W) 14 - SL2+ (L/Y) 14 - IGT4 (L/Y) 15 - SL2- (L/R) 15 - IGT3 (LG/B) 16 - SL3+ (G/B) 16 - IGT2 (P) 17 - SL3- (G/R) 17 - IGT1 (R/W) 18 18 - VC (Y) 19 - SR (GR) 19 - VTA2 (B/R) 20 20 - VTA1 (LG) 21 21 - A1A+ (O)
ตารางท่ี 2-1 (ตอ) 35 E9 (D) E10 (E) 22 22 - IACA (G) , Intake Air Control 23 - PRG (B/R) , VSV Evap Valve 24 - THO1 (G) 23 - IGF1 (W/R) 25 24 - 26 - NC- (G) 25 - OX1B (BR) 27 - NT- (LG) 26 - G2+ (L) 28 - VG (R) 27 - NE+ (R) 29 - THA (L/B) 28 - E2 (BR) 30 - E2G (L/W) 29 - KNK1 (W) 31 - 30 - EKNK (B) 32 - PSST (R/W) 31 - A1A- (W) 33 32 - THW (G/Y) 34 - NC+ (R) 33 35 - NT+ (L) 34 - NE- (G)
36 ตารางที่ 2-1 (ตอ ) A/T Solenoid (2AZ-FE) 1.3 หวั ฉีดและรางหวั ฉดี (Fuel Injector and Fuel rail) 1.3.1 หัวฉีด (Injector) หัวฉีดประจําสูบ ทําหนาท่ีฉีดน้ํามันเชื้อเพลิงใหเครื่องยนต เขาไปบริเวณทอไอดีสําหรับ เครื่องยนตทใ่ี ชห วั ฉดี แรงดันตา่ํ และฉดี เขาตรงท่ีหองเผาไหมสําหรับเครื่องยนตชนิด GDI หัวฉีดจะฉีด น้ํามันเช้ือเพลิงมากหรือนอยขึ้นอยูกับระยะเวลาที่ชุดควบคุมอิเล็กทรอนิกส (ECM) ปอนสัญญาณ แรงดันไฟฟาเขาหัวฉีด หัวฉีดเปนหัวฉีดไฟฟา ประกอบดวย ขดลวดโซลีนอยด อาเมเจอร เข็มหัวฉีด กรอง สปริง และขัว้ ตอ สายไฟ หัวฉดี แรงดันต่าํ หัวฉีด แรงดันสงู GDI (2.4-3.5บาร) (34-206 บาร) ภาพท่ี 2-12 หวั ฉดี (Injector)
37 กรอง ขั้วตอสายไฟ ขดลวดโซลีนอยด สปรงิ อาเมเจอร เขม็ หัวฉีด ภาพท่ี 2-13 แสดงสว นประกอบหัวฉีด การทํางานของหัวฉีดประจําสูบ หัวฉีดแตละหัวจะถูกควบคุมการทํางานโดยกลองควบคุม อิเล็กทรอนิกส นํ้ามันเช้ือเพลิงท่ีมีความดันสูง (2.4-3.5บาร) และ(34-206 บาร) สําหรับหัวฉีดชนิด GDI จะรออยทู ่หี วั ฉดี ประจําสบู ทกุ หวั ในตําแหนง ท่หี วั ฉดี ยงั ไมท ํางาน สปริงจะดันเขม็ หัวฉีดใหแนบ สนิทกับบาล้ินไมใหน้ํามันไหลออก เมื่อมีสัญญาณไฟฟาจากกลองควบคุมอิเล็กทรอนิกสปอนเขา ขดลวดโซลีนอยด (Solenoid Winding) จะทําใหเกิดสนามแมเหล็กรอบๆ ขดลวดอาเมเจอร (Solenoid Armature) เสนแรงแมเหล็กที่เกิดข้ึนจะดูดใหตัวอาเมเจอรยกตัวข้ึน เข็มหัวฉีดท่ียึดติด กับอาเมเจอรจะยกตัวข้ึนจากบาล้ิน ทําใหน้ํามันเช้ือเพลิงซึ่งมีความดันสูงที่รออยู ฉีดออกมาจาก หัวฉีด ในลกั ษณะเปนฝอยละออง ปริมาตรของการฉีดจะมากหรือนอ ย ขึ้นอยูกับระยะเวลาที่กลอง ควบคุมอิเล็กทรอนิกสปอนแรงดันไฟฟาใหหัวฉีด การเปด-ปด ของเข็มหัวฉีดมีความไวสูงมาก ประมาณ 1-1.5 ms (มลิ ลวิ ินาที) ระยะยกตวั ของเขม็ หัวฉีดประมาณ 0.1 มลิ ลเิ มตร หัวฉีดในระบบควบคมุ การฉีดเช้ือเพลงิ ดว ยอิเลก็ ทรอนิกสแ บงตามชนดิ ไดดงั นี้ 1.3.1.1 หัวฉีดแบบเดอื ย เข็มหวั ฉดี เปนแบบเดือยโผลออกมาจากรูฉีด เดือยชวยควบคุมการ กระจายของฝอยละอองนํ้ามัน แบบนก้ี ารแผก ระจายของละอองนา้ํ มันไดดี แตม ีขอเสีย คือ เขมาที่เกิด จากการเผาไหมจบั ตรงเดือยที่โผลอ อกมา ทาํ ใหเ กดิ การอดุ ตนั ไดง า ยกวา 1.3.1.2 หวั ฉีดแบบรู เขม็ หวั ฉดี อยภู ายในตัวเรือนหวั ฉีด และน้ํามันเชือ้ เพลิงจะไหลผานรูที่ เจาะตรงปลายหัวฉีด ซง่ึ อาจมมีหลายรหู รือรูเดยี วก็ได หัวฉดี แบบรูนี้จะทําใหก ารฉดี นํา้ มันเช้ือเพลงิ เปน ฝอยละอองไดดี อดุ ตันยาก หัวฉีดแบบน้ีเปน ท่นี ิยมมากและเปน แบบหลายรู
38 1.3.1.3 หวั ฉดี แบบความตานทานต่ํา หัวฉีดแบบนี้จะมีขดลวดโซลินอยดมีคาความตานทาน ประมาณ 2-3 โอหม ทอ่ี ณุ หภมู ิประมาณ 21 องศาเซลเซียส (70 องศาฟาเรนไฮ) ถาอุณหภูมิสูงข้ึนคา ความตา นทานจะสงู ข้ึน หวั ฉีดแบบนจ้ี ะตอ รว มกบั ตัวตา นทานหวั ฉดี ซึง่ ติดต้ังอยภู ายนอก 1.3.1.4 หัวฉีดแบบความตานทานสูง หัวฉีดแบบนี้จะมีขดลวดแมเหล็กมีคาความตานทาน ประมาณ 13.8 โอหม ท่ีอุณหภูมิประมาณ 21 องศาเซลเซียส (70 องศาฟาเรนไฮ) ถาอุณหภูมิสูงข้ึน คาความตา นทานจะเพ่ิมขึ้นเชนเดียวกันกับหัวฉีดแบบความตานทานต่ํา หัวฉีดแบบนี้จะไมตอรวมกับ ความตา นทานหัวฉีด 1.3.2 รูปแบบการฉดี นา้ํ มันเชอื้ เพลิง 1.3.2.1 แบบฉีดพรอมกันหมดทุกสูบ เมื่อเพลาขอเหว่ียงหมุนไปครบ 1 รอบ (360°) หัวฉีด ทุกสบู จะฉีดนาํ้ มนั เชอื้ เพลิงพรอ มกนั ทั้งหมด และเมื่อเพลาขอเหว่ียงหมุนไปอีก 1 รอบ หัวฉีดทุกสูบก็ จะฉีดพรอมกันทั้งหมดอีก การฉีดแบบน้ี เมื่อเครื่องยนตหมุน 2 รอบ (720°) ทํางานครบ 1 กลวัตร (ดูด อัด ระเบดิ คาย) หวั ฉดี จะทําการฉดี นํ้ามันเชอ้ื เพลิง 2 คร้ัง 1.3.2.2 แบบฉีดพรอมกันเปนกลุม ก) เครอื่ งยนต 4 สูบ แบง เปน 2 กลมุ ๆละ 2 หัว ข) เครอ่ื งยนต 6 สูบ แบง เปน 2 กลุม ๆละ 3 หวั ค) เครอ่ื งยนต 8 สบู แบง เปน 2 กลมุ ๆละ 4 หัว 1.3.2.3 แบบฉีดอิสระหรือฉีดตามจังหวะการจุดระเบิด หัวฉีดแตละสูบจะฉีดนํ้ามัน เชื้อเพลิง ตามลําดับการจุดระเบิดของเครื่องยนต เม่ือเครื่องยนตหมุนครบ 2 รอบ (1 กลวัตร) หัวฉีด จะฉดี ครบทกุ สบู การฉดี นํ้ามนั แบบน้ีจะทําใหเกิดการประหยัดน้ํามันเช้ือเพลิงมากกวาและเครื่องยนต มีสมรรถนะดกี วา ทง้ั สองแบบเครอ่ื งยนตในปจ จุบันใชก ารฉีดแบบน้ี 1.3..3 รางหัวฉดี หรือทอ จา ยเชือ้ เพลงิ (Fuel rail or Fuel Supply) รางหัวฉดี หรือทอจายเชอื้ เพลิง ทําหนา ท่ีเก็บสะสมนาํ้ มนั เชื้อเพลงิ แรงดนั สูงสงใหหวั ฉีดประจําสูบ โดยทั่วไปทอ จายจะมีขนาดคอนขางโต รูปทรงอาจเปนสี่เหลยี่ มหรือทอ กลม ท้งั น้ี เพื่อใหสามารถ จา ยนาํ้ มันเชอื้ เพลิงใหก บั หัวฉีดประจาํ ในปริมาณทีเ่ พยี งพอตอความตองการของเครื่องยนต โดยท่ี ความดนั นํา้ มันในทอ จา ยไมเปลยี่ นแปลง
39 ภาพท่ี 2-14 รางหวั ฉีดแบบแรงดันตา่ํ ภาพที่ 2-15 รางหวั ฉดี แบบแรงดนั สูง GDI ท่ีมา : www. Google .co.th 1.4 วงจรไฟฟา ควบคมุ หวั ฉดี 1.4.1 เม่อื สวิตชกุญแจอยทู ต่ี ําแหนง ON ไฟบวกจาก สวติ ชก ุญแจ ตําแหนง IG2 (สีสายB-R) ออกมาเขาฟว ส IGN 15 A ไปรอทห่ี ัวฉีดทง้ั 4 หวั 1.4.2 เมื่อสวิตชกุญแจอยูท่ีตําแหนง START เมื่อเคร่ืองยนตหมุน สัญญาณ STA1 (สีสายB- Y) สงไปยัง ECM ขั้ว12(STA)พรอมท้ัง ECM จะไดรับสัญญาณ NE+ จากเซ็นเซอรตําแหนงเพลาขอ เหว่ยี งยนื ยันเขาท่ขี ว้ั 27( NE+) ECM จะทาํ การปลอยสัญญาณการฉีดเปนไฟดานลบ ใหหัวฉีดทํางาน ตามลําดับจุดระเบดิ
40 ภาพท่ี 2-16 จงจรไฟฟา ควบคุมหัวฉดี ท่มี า : คมู อื การซอมเครือ่ งยนตแ กส โซลีน บริษทั โตโยตาจํากดั
41 ภาพท่ี 2-16 (ตอ ) ที่มา : คมู ือการซอมเครื่องยนตแ กส โซลีน บริษัท โตโยตา จํากดั
42 1.5 ตัวควบคมุ ความดันน้าํ มันเช้อื เพลงิ (Fuel Pressure Regulator) 1.5.1 ตวั ควบคมุ ความดันน้ํามันเชือ้ เพลิงแบบแรงดนั ตํ่า ทาํ หนา ทค่ี วบคุมคาความแตกตางระหวางความดนั ของนํา้ มันเชื้อเพลงิ ในทอจา ยน้ํามนั เชื้อเพลิง กับความดันของอากาศในหองประจุไอดใี หมคี า คงท่ี ความดันนํา้ มนั เชือ้ เพลงิ ในทอจา ยจะถกู ควบคุม ใหเปล่ยี นแปลงไปตามความดันของอากาศในหองประจุไอดีดว ยกลไก โดยท่คี าความแตกตา งของ ความดนั ท้ังสองจะไมมีการเปล่ียนแปลง โดยจะควบคมุ แรงดันในรางหวั ฉดี ใหอยทู ี่ 2.4-3.5 บาร ภาพที่ 2-17 ตัวควบคุมความดันนํ้ามันเชื้อเพลิงแบบแรงดันต่ํา 1.5.2 ตัวควบคุมความดนั นา้ํ มันเชือ้ เพลิงแบบแรงดันสงู สําหรบั เคร่ืองยนต GDI การควบคุมแรงดนั ในรางหวั ฉดี ทาํ ไดดว ยการควบคุมทางไฟฟา โดยจะมีตวั รับรคู วามดันในราง หวั ฉดี สงสญั ญาณไป ยัง ECM เพ่อื ควบคมุ อุปกรณคมุ อัตราการไหลของเชื้อเพลงิ เขา ที่ปม แรงดันสูง เพ่ือควบคมุ ปริมาณของเชื้อเพลงิ ที่สงมายังรางหัวฉดี ผลใหสามารถควบคุมความดนั ที่เขามาในราง หัวฉดี ไดตามสภาวะความตองการของเครื่องยนต
ตัวรบั รูความดนั นํ้ามัน 43 เชอื้ เพลงิ ภาพที่ 2-18 ตวั รบั รูความดันนาํ้ มนั เชือ้ เพลิงแบบแรงดนั สูง อปุ กรณคมุ อัตราการไหลของเช้ือเพลงิ เขาปมแรงดันสงู ภาพที่ 2-19 อุปกรณค ุมอัตราการไหลของเช้อื เพลิงเขา ปม แรงดนั สูง
Search
Read the Text Version
- 1 - 23
Pages: