Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore นวัตกรรมการศึกษาปฐมวัย

นวัตกรรมการศึกษาปฐมวัย

Published by hi-_-you, 2021-10-07 10:10:40

Description: นวัตกรรมการศึกษาปฐมวัย

Search

Read the Text Version

นวตั กรรมการศกึ ษาปฐมวยั 1. ช่ือผลงาน : การพฒั นาเด็กปฐมวยั ในช่วงสถานการณ์โรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 โดยการสอนแบบ on – line on – hand และ on - demand 2. ชอื่ ผูเ้ สนอผลงาน : นางสาววนัสสดุ า ละครไชย ตำแหน่ง ครู 3. โรงเรยี น/หน่วยงาน โรงเรยี นอนุบาลศรีวิไล สังกัด สำนักงานเขตพื้นท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาบึงกาฬ 1. ความสำคัญของผลงานหรือนวตั กรรมทนี่ ำเสนอ เนื่องจากสถานการแพร่ระบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (Coronavirus Disease 2019: COVID-19) ทำให้เกดิ การปรับตวั เป็นวิถีชวี ิตแบบใหม่ (New Normal) โดยเฉพาะสถานศกึ ษาท่ีไมส่ ามารถ จัดการ เรยี นการสอนแบบปกติได้ จงึ จำเป็นต้องใชร้ ูปแบบการเรยี นการสอนแบบ on – line on – hand และ on - demand เพื่อให้การเรียนรูเ้ กิดความ ต่อเนื่อง การเรียนการสอนแบบ on – line on – hand และ on - demand มีองค์ประกอบ ไดแ้ ก่ ผูส้ อน ผู้เรยี น เนอื้ หา สอื่ การเรียน และแหล่งเรยี นรู้ กระบวนการจัดการเรยี นรู้ ระบบการติดตอ่ สื่อสาร ระบบเครอื ข่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ การวัดและ การ ประเมนิ ผล รูปแบบการเรยี นการสอนมหี ลากหลายวิธี ที่ทำใหผ้ ู้สอนและผ้เู รียนมปี ฏิสมั พันธร์ ว่ มกนั ได้ การ พจิ ารณาองคป์ ระกอบและรูปแบบทสี่ อดคลอ้ ง เหมาะสมกับลักษณะวชิ า และบรบิ ทของผูเ้ รยี นจะนำไปสู่ การ ประยุกต์ใชส้ ำหรับการจดั การเรยี นการสอนแบบ on – line on – hand และ on - demand อยา่ งมี ประสทิ ธภิ าพ สง่ ผลให้ผเู้ รียนเกิดผล ลัพธก์ ารเรยี นร้ตู ามวตั ถุประสงค์ กระทรวงศกึ ษาธิการ กำหนด 5 รปู แบบการเรียนการสอนรองรับการเปิดภาคเรยี นให้เหมาะสมแตล่ ะ ภมู ิภาคของประเทศ นางสาวตรีนชุ เทยี นทอง รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงศกึ ษาธิการ เปดิ เผยว่า จากสถานการณ์การแพรร่ ะบาด ของโรคโควดิ -19 ส่งผลใหร้ ูปแบบการเรยี นการสอนในแต่ละภูมิภาคของประเทศต้องมีความแตกต่างกันไป ตามความเหมาะสม กระทรวงศกึ ษาธกิ ารได้เตรยี มความพรอ้ มโดยกำหนดรูปแบบการเรียนการสอนของ โรงเรียนในแต่พืน้ ท่ีไว้ ทงั้ หมด 5 รปู แบบ ประกอบดว้ ย การเรียนแบบ On- site คือ การเดินทางมาเรียนทโ่ี รงเรียนซ่งึ เหมาะสำหรบั โรงเรียนท่ีมปี รมิ าณนักเรียนน้อย สามารถจัดพืน้ ท่ีแบบเวน้ ระยะหา่ งและเข้มงวดการสวมหน้ากากอนามัยตามมาตรการด้านสาธารณสขุ การ เรยี นแบบ On-Air ผา่ นระบบมลู นิธกิ ารศกึ ษาทางไกลผา่ นดาวเทยี ม หรอื DLTV การเรียนแบบ On-Line ครูผูส้ อนทำการสอนผ่านระบบอิเลคทรอนิค การเรียนแบบ On-demand ผ่านระบบแอปพลเิ ค ชนั และการเรียนแบบ On- hand ครูผู้สอนเดนิ ทางไปแจกเอกสารใบงานให้กบั นักเรยี นที่บ้าน อยา่ งไรก็ตาม การเรยี นการสอนทงั้ 5 รูปแบบ จะตอ้ งไดร้ บั การยนิ ยอมจาก ศบค. ของแต่ละจังหวัดเพ่ือให้สามารถจัดการ เรียนการสอนทเ่ี หมาะสมของแตล่ ะพ้ืนทีไ่ ดบ้ นพ้ืนฐานความปลอดภัยท้ังครผู ู้สอนและนักเรียนเปน็ อนั ดับแรก การศึกษาเปน็ เครือ่ งมอื สำคญั เพื่อ พัฒนา “คน” ใหส้ ามารถรับมือกับการ เปลีย่ นแปลงท่เี กิดจากกระแส โลกาภิวัตนใ์ ห้ สามารถตอบสนองต่อการแขง่ ขันทีร่ วดเร็ว รุนแรง ดังนั้นประชากรวยั เรียนทุกคนควร ได้รบั การ พัฒนาอยา่ งเต็มตามศักยภาพ เพราะ การศึกษาเปน็ กระบวนการทช่ี ว่ ยใหค้ นได้ พฒั นาในดา้ นต่าง ๆ ตลอดชีวิต การพฒั นาจึง ต้องพฒั นาตัง้ แต่ระดับปฐมวัยเพราะในช่วงนี้ เดก็ ๆ จะสามารถเรยี นรู้ไดด้ ีและเป็นการ

วางรากฐานในการศึกษาในระดับต่อ ๆ ไปของ ชีวิตซ่ึงการพัฒนาบุคคลใหม้ ีคณุ ภาพนั้น เป็น ผลจากการสง่ เสริม พฒั นาการต้ังแต่ปฐมวยั ดงั ที่ Illig (1998, p. 35-36), เกรียงศกั ดเิ์ จรญิ วงศ์ศักด์ิ (2551, น. 12) และ เทพ กัญญา พรหมขตั แิ กว้ (2554, น. 33) กล่าวถงึ ความสำคัญของการพฒั นาเด็กในชว่ งปฐมวยั ว่า เป็นช่วงที่ สำคญั เนอ่ื งจากเด็กช่วงปฐมวัย 0-6 ปมี ีการพฒั นาสงู สดุ ซึง่ เซลล์สมองในช่วง น้จี ะแตกเพ่มิ เสน้ ใยในสมอง เชอ่ื มโยงระหว่าง เซลล์สมองด้วยกนั อยา่ งมากมาย รวดเรว็ และ จะมีความสามารถในการเรยี นรู้ดีกว่าในวัยอืน่ ๆ จงึ กลา่ วได้วา่ ประเทศจะเจริญก้าวหน้าได้ มากนอ้ ยเพียงใด ขน้ึ อยกู่ ับการวางรากฐาน ให้แก่บคุ ลากรในประเทศ ตง้ั แตป่ ฐมวัยดังท่ี Driver (2001) กล่าวว่าการสอนเป็นงาน ท่ี ซบั ซ้อนไม่มีรูปแบบกลยุทธ์การสอนใด ๆ สมบรู ณม์ ีประสิทธิภาพ ครูจึงต้องมีการพัฒนา ดา้ นการ จัดการเรยี นการสอนอยเู่ สมอ การ พฒั นาคนให้ สอดคล้องกบั สภาพสังคมปจั จุบนั สมรรถนะหนง่ึ ของคนก็คือ เป็นผูท้ ม่ี คี วามรู้ ความสามารถ ด้านการคิด การ แกป้ ญั หามี เหตผุ ลมีทักษะดา้ น วทิ ยาศาสตรแ์ ตใ่ น ปัจจุบันประเทศไทยขาดแคลนนกั วจิ ัย และ นกั ประดษิ ฐ์ คดิ คน้ ทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละ เทคโนโลยีเป็นอยา่ งมากทำใหผ้ ลงานทาง วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีทพ่ี ฒั นาข้นึ ใช้ เอง น้อยมากเม่ือเทยี บกับประเทศอ่ืน ๆการศึกษา ของไทยเกยี่ วกับการเรยี นวทิ ยาศาสตรแ์ ละ พัฒนาการ ทางด้านทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตรท์ ัง้ ระดับมัธยม ประถมศกึ ษา และระดบั ปฐมวยั นกั เรยี นมีคุณภาพ ด้านนอี้ ยู่ ในเกณฑ์ท่ตี อ้ งเรง่ ดำเนินการพฒั นาอย่าง เร่งด่วนซึ่งสาเหตุด้วย ปจั จยั หลาย ๆ ด้าน โดยเฉพาะใน ระดับปฐมวยั ซึง่ ถือวา่ เปน็ ชว่ งเวลา ท่ีสำคัญทีส่ ดุ ทีจ่ ะวางรากฐาน ให้กับ เดก็ โดยในช่วงปฐมวัย สถาบนั ส่งเสริม การสอน วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลย(ี 2554, น. 3) กลา่ ววา่ การจัดประสบการณก์ ารเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ สำหรบั เด็กปฐมวัย ยงั ไม่ได้รับ การสง่ เสริมใหแ้ พร่หลายครูปฐมวยั สว่ นใหญ่ ขาดความรูค้ วามเข้าใจท่ีถูกต้องท้ังใน ดา้ น เน้อื หาวิทยาศาสตร์ด้านวิธีสอนวทิ ยาศาสตร์ และดา้ นบรบิ ทท่ีเกีย่ วข้องกบั การจดั การ เรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ สาเหตุหนึง่ อาจ เนอ่ื งด้วย การจดั การศึกษาปฐมวยั มิไดเ้ ป็นการศกึ ษา ภาคบงั คับและในหลักสูตรการศึกษา ปฐมวยั ได้ กำหนดกรอบสาระของหลักสูตรไว้กวา้ ง ๆ สง่ ผลใหส้ าระของการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ไมม่ ี ความชัดเจน รวมทง้ั ต้องเตรียมความพร้อมเด็กเขา้ สู่ ศตวรรษที่21และThailand 4.0 จงึ จำเป็นตอ้ ง เรง่ พฒั นาเดก็ ในด้าน วิทยาศาสตร์โดยเฉพาะ การพัฒนาทักษะดา้ นกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์เพราะทกั ษะเหล่านเี้ ป็นรากฐาน ท่ี สำคัญสำหรับการเรียนรู้และการพฒั นาการ คิดในขน้ั สูงรวมท้งั การ นำไปใช ้ใน ชีวติ ประจำวนั ดงั นน้ั การสอนวชิ า วิทยาศาสตร์ มบี ทบาทสำคญั อย่างยงิ่ ในการดำรงชีวติ ประจำวันของมนุษยต์ ลอดชวี ติ ของทุกคนต่าง ก็มีความ เก่ียวขอ้ งกบั วทิ ยาศาสตรท์ ้งั สิ้นการ เรยี นร้วู ทิ ยาศาสตรจ์ งึ มีความสำคญั ทจ่ี ะทำให้ คนได้พฒั นาวธิ ีคดิ ทง้ั ความคดิ เปน็ เหตุเปน็ ผล คดิ สร้างสรรค์คิดวิเคราะหว์ จิ ารณ์มีทักษะที่ สำคญั ในการค้นคว้าหาความรู้มคี วามสามารถ ใน การแก้ปัญหาอย่างเปน็ ระบบสามารถ ตดั สนิ ใจโดยใช้ข้อมูลที่หลากหลายและมี ประจกั ษพ์ ยาน ทตี่ รวจสอบได้ ความรดู้ ้าน วทิ ยาศาสตรช์ ว่ ยให้คนมคี วามรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกบั ธรรมชาติและเทคโนโลยีท่ีมนุษยส์ รา้ ง ขึ้น รวมถึงการนำความรู้ไปใชอ้ ยา่ งสร้างสรรค์ มีเหตผุ ล มีคณุ ธรรม นอกจากนย้ี งั ชว่ ยใหค้ นมี ความร้คู วาม เขา้ ใจที่ ถูกต้องเกี่ยวกับการใช้ ประโยชน์การดูแลรกั ษาตลอดจนการพฒั นา สงิ่ แวดลอ้ มและทรัพยากรธรรมชาติอย่าง สมดลุ และยง่ั ยืน การจัดการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตรม์ คี วามสำคญั อย่างย่งิ ควรจดั การ เรยี นรู้ตัง้ แตร่ ะดบั ปฐมวัย (สถาบนั สง่ เสริมการ สอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลย.ี 2551, น. 1- 2) การจัดการเรยี นรู้ท่สี อดคล้องกับ พฒั นาการ ทางสมอง (Brain-based Learning) เปน็ ส่ิงที่ ไดร้ ับการกระตุ้นเตือนให้ตระหนกั ถงึ ความสำคญั เพราะสมองเปรยี บเสมือนเป็น เสนาธิการผบู้ ัญชาการของระบบประสาท ส่วนกลางท้งั ระบบ คอยควบคุมดูแล กจิ กรรม การเคลอ่ื นไหว การรับรูป้ ระสาทสัมผสั ตา่ ง ๆ รวบรวม ประมวลผลคดั เลือก เรียนรกู้ ารคิด อารมณ์

พฤติกรรม ฯลฯ สมองจึงมกี ารทำงาน ทส่ี มั พนั ธ์กันท้งั ร่างกายและจติ ใจ การจัดการ เรียนรูใ้ ห้เกดิ ประสิทธภิ าพ สูงสุดจึงควรทำ ความเข้าใจการทำงานของสมองต้องให้ ความสำคัญกับการเช่อื มโยงของวงจรสมอง จงึ จะเกดิ การเรยี นรู้หากการจดั การเรยี นร้ขู ดั ตอ่ การทำงานของสมองจะทำใหเ้ กิดการเรยี นรู้ ไม่ได้เต็มตามศักยภาพ เช่น เมือ่ ข้อมลู เข้าสู่ สมองสมองเกิดการเรียนรเู้ ข้าสู่การคดิ เปน็ ขอ้ มูลใหม่แล้ววงจรข้อมูลนัน้ จะคงอยใู่ นสมอง เรยี กว่าความจำ ส่งิ ท่จี ำได้หรือวงจรขอ้ มูล ความรูจ้ ะถกู นำไปใชใ้ นการคดิ คร้งั ใหม่ ดงั นั้น การจัดการเรียนรทู้ ่ี สอดคล้องกับพฒั นาการ ทางสมองในแตล่ ะชว่ งวยั จะชว่ ย ให้ผเู้ รยี นเกดิ การเรียนรู้อย่างมปี ระสิทธิภาพ (กัญนกิ า พราหมณ์พิทักษ์, 2551, น. 19-21) จากสภาพความต้องการ ในการพัฒนา เด็กปฐมวัยให้มีทกั ษะกระบวนการ ทาง วิทยาศาสตร์และจติ วทิ ยาศาสตรแ์ ละสภาพ ปัญหาการพัฒนาวชิ าชพี ครูรวมท้ังการศกึ ษา วเิ คราะห์รูปแบบ การพัฒนาวิชาชพี ซงึ่ มีวธิ กี าร ท่ี หลากหลายรปู แบบดงั กลา่ วขา้ งต้น ผศู้ กึ ษา ในฐานะครผู ้สู อนซ่งึ เปน็ ผหู้ นึง่ ท่ีมี บทบาท หนา้ ท่ใี นการพฒั นาสง่ เสริม การจดั การเรยี น การสอนท่ีมีคณุ ภาพมปี ระสิทธภิ าพและเกิด สมั ฤทธ์ผิ ลต่อ ผูเ้ รยี นที่คณุ ภาพเด็กจงึ สนใจ ศึกษาและพัฒนาโดยใช้การพัฒนาทักษะ กระบวนทางวทิ ยาศาสตร์โดยใช้ชุด กิจกรรม เสรมิ ประสบการณ์“ใชส้ ่ิงของใกลต้ วั เรียนรู้ ควบค่สู นกุ ” สำหรบั เด็กปฐมวยั ชนั้ อนุบาลปี ท่ี 2 ในการ สง่ เสรมิ ให้นกั เรียนไดร้ ับ ประสบการณ์และทักษะตา่ ง ๆ นกั เรยี น เกิด การเรยี นรู้อย่างเต็มศกั ยภาพ มี พฒั นาการท่ี สูงข้ึนตามเกณฑ์ที่กำหนด และเพ่ือเตรยี ม ความพร้อมอนั เป็นพนื้ ฐานที่ดีของนักเรยี น สำหรับ การศึกษาขน้ั พ้ืนฐานและระดับทสี่ ูงขนึ้ ตอ่ ไป องค์ประกอบการจดั การเรียนการสอนแบบออนไลน์ การจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์ เปน็ การจดั การเรียนรทู้ ี่ผสมผสานองค์ความรูร้ ว่ มกบั นวัตกรรม การเรยี นร้แู ละเทคโนโลยที ที่ ันสมยั มรี ปู แบบการสอนที่หลากหลาย องค์ประกอบของการจัดการ เรียนการสอน แบบออนไลน์ สรปุ ได้ดังนี้ 1. ผู้สอน (Instructor) เปน็ ผถู้ า่ ยทอดเนอ้ื หา องค์ความรู้ต่างๆให้กับผเู้ รียนใหเ้ กิดความเขา้ ใจ ใน เนอ้ื หาประสบการณ์ ความเชี่ยวชาญของผู้สอน มสี ่วนทำใหก้ ารสอนออนไลน์บรรลุเป้าหมาย ซ่ึงบทบาทของ ผสู้ อนเปน็ ผ้ใู ห้คำแนะนำ (Guide) พเี่ ลยี้ ง (Mentor) เป็นผฝู้ ึก (Coach) อำนวยความสะดวก (Facilitators) 8 เพื่อชว่ ยให้ผเู้ รยี นสามารถเลง็ เหน็ ศกั ยภาพของตนเองในด้านการเรียนรู้ รวมถึงการพฒั นาสมรรถนะ ในการ เรียนทักษะด้านความร้ทู ่ใี ช้ในการทำงาน ความสามารถในการใช้เทคนิคตา่ งๆในการทำงานทส่ี อนกนั ได้ (Hard Skill) เพ่อื นำไปสูก่ ารปฏบิ ตั ิงานท่เี หมาะสม และการพัฒนาทกั ษะดา้ นอารมณ์ ความสามารถในการอยู่ รว่ มกับ ผูอ้ ่ืน รวมถงึ การพฒั นาตนเอง (Soft Skill) เพือ่ ให้สามารถอยู่ในสงั คมรว่ มกับผู้อ่นื ไดอ้ ยา่ งมคี วามสขุ รวมท้งั การ ส่งเสรมิ ให้เกดิ ความเข้าใจเนื้อหาการเรยี นไดร้ วดเร็วและนานขนึ้ อย่างไรก็ตามผสู้ อนต้องพัฒนา สมรรถนะด้าน การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ เพอ่ื ส่งเสรมิ กระบวนการจัดการเรยี นรไู้ ด้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ และชว่ ยให้มีความ พรอ้ มในการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าขณะทสี่ อน และควรมีการตดิ ตามการเขา้ เรยี นของ ผู้เรยี นอย่างต่อเนือ่ ง เชน่ ความถี่ของการเขา้ เรยี น จำนวนชว่ั โมงการเรยี น ปญั หาอุปสรรค ความต้องการใน การช่วยเหลือเพิ่มเติมในการ เรียน เพอื่ ให้ผู้เรียนได้รับประโยชนจ์ ากการเรียนการสอนแบบออนไลนเ์ พ่ิมข้ึน จากประสบการณก์ ารจัดการ เรียนการสอนแบบออนไลนข์ องผ้นู ิพนธ์ ได้เตรียมความพร้อมก่อนดำเนนิ การ สอน โดยเรียนร้กู ารใชง้ านใน ระบบ และทดสอบการสอนออนไลนเ์ พื่อประเมินปัญหาอปุ สรรค แนวทางแก้ไข ปญั หาขณะดำเนนิ การสอน

รวมทัง้ ไดป้ รบั บทบาทการสอนโดยเน้นเป็นผูใ้ ห้คำแนะนำ ผอู้ ำนวยความสะดวก กบั ผู้เรียนเพิม่ ข้นึ เชน่ เน้อื หา การเรียน การสบื ค้นงาน รวมทงั้ มกี ารตดิ ตามการเข้าเรียนของผเู้ รยี นอยา่ ง ตอ่ เน่ือง 2. ผเู้ รียน (Student) เป็นผรู้ ับเน้อื หาและองคค์ วามรู้จากผู้สอน ซ่ึงผ้เู รยี นจำเป็นตอ้ งมคี วามพร้อม ในด้าน การใชเ้ ทคโนโลยีและสารสนเทศ การรูเ้ ทา่ ทนั สอ่ื (Digital Literacy) สามารถสืบคน้ วเิ คราะหข์ ้อมูล ประเมินเนือ้ หาอย่างเป็น ระบบ โดยใช้วิจารณญาณในการตดั สนิ ใจเกยี่ วกบั ขอ้ มลู ได้อยา่ งเหมาะสม มีการ เตรยี มความพรอ้ มในการเรยี นรู้ เชน่ การศกึ ษาขอบเขตของเน้ือหาก่อนเข้าเรยี น การสบื ค้นข้อมลู ทเี่ กย่ี วขอ้ ง กบั การเรยี นรจู้ ากแหล่งเรยี นรตู้ ่างๆ การเตรยี มระบบ เครือขา่ ยอินเตอร์เนต็ ให้พรอ้ มใช้งาน การเตรียมสถานที่ สำหรบั การเรียนท่เี หมาะสม การตดิ ต่อสื่อสารแบบดจิ ิทลั กบั ผสู้ อน เพ่ือใหส้ ามารถมีปฏสิ มั พันธ์กับผสู้ อนได้ เหมาะสม รวมท้ังมคี วามฉลาดทางอารมณ์ในการใช้ส่อื (Digital Emotional Intelligence) อย่างเหมาะสม เชน่ การแบง่ ปันขอ้ มูลข่าวสารให้กับคนอน่ื การมนี ำ้ ใจในโลกออนไลน์ เปน็ ตน้ 9 รวมทงั้ ควรเปน็ ผทู้ มี่ ีความ รับผดิ ชอบในการเรียนรูด้ ว้ ยตนเอง และมคี ณุ ธรรม จริยธรรมในการเรียนรู้ มสี ว่ นรว่ มในการเรยี น การสง่ งาน ตามกำหนด มี การทบทวนความรู้อย่างสม่ำเสมอ เพอ่ื ให้ผเู้ รียนไดร้ ับประโยชนจ์ ากการเรยี นการสอนแบบ ออนไลน์เพ่ิมข้ึน ประสบการณ์การ จัดการเรยี นการสอนแบบออนไลน์ของผู้นิพนธ์ พบวา่ ในช่วงแรกของ การเร่ิมจัดการเรยี นการสอนแบบออนไลน์ ผเู้ รียนยัง มีปัญหาขาดความเข้าใจในการเขา้ ใชง้ าน ความพรอ้ ม ของอุปกรณ์รองรับและระบบเครือขา่ ยอินเตอรเ์ น็ต ภายหลังที่ผสู้ อนให้ คำแนะนำในการเตรียมความพร้อม สำหรบั การเรยี นรู้ พบว่าผเู้ รยี นสามารถปรบั ตัวเขา้ กับการเรียนการสอนแบบออนไลนเ์ พม่ิ มากขนึ้ มีการเขา้ เรียนออนไลน์ผา่ นโปรแกรมตา่ งๆ ไดอ้ ยา่ งคล่องแคลว่ รวมทงั้ มกี ารเตรยี มความพรอ้ มของตนเองกอ่ นเรียน เชน่ เตรียมเอกสาร เตรียมบทความวชิ าการ เปน็ ต้น ทำใหเ้ กดิ การแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ในระหว่างการเรยี น ร่วมกับผสู้ อนและเพื่อนรว่ มชน้ั เรยี น 3. เนอื้ หา (Content) เปน็ สว่ นสำคัญท่ที ำให้การเรียนการสอนบรรลุตามวตั ถุประสงค์ เนือ้ หาควร มีการออกแบบโครงสรา้ งตามวัตถปุ ระสงค์ของรายวิชา มกี ารวางแผนผังรายวชิ าเพื่อเป็นระบบนำ ทาง เชอ่ื มโยงไปสูเ่ นื้อหาตา่ งๆในบทเรยี น สำหรับข้อความของเน้ือหาควรมีความชัดเจน กระชบั เขา้ ใจงา่ ย มี การ ปรบั ปรงุ ให้ทนั สมัยอยู่ตลอดเวลา เพื่อให้ผู้เรียนศึกษาทำความเขา้ ใจไดด้ ว้ ยตนเองอย่างเหมาะสม รวมทง้ั ควรมีการจดั ลำดับขอ้ มลู หวั ข้อย่อยต่างๆให้มีการเชื่อมโยงกนั และเนื้อหาในบทเรยี นสามารถทจ่ี ะสง่ เสรมิ ให้ ผูเ้ รยี นศกึ ษาค้นคว้าเพ่มิ เตมิ ไดภ้ ายหลงั จากการเรียนออนไลน์ 4. สอื่ การเรยี นและแหลง่ เรยี นรู้ (Instructional Media & Resources) ถอื วา่ มคี วามสำคัญ เปน็ อยา่ งยิง่ ต่อการจัดการศึกษา สือ่ การสอนทีด่ จี ะเปน็ ส่วนชว่ ยให้ผู้เรียนสามารถทำความเขา้ ใจในเนือ้ หา ขณะท่เี รยี นได้ ส่ือทใ่ี ช้ในการสอนควรท่มี คี วามแปลกใหม่ ดึงดูดความสนใจของผ้เู รยี นและกระตุ้นการเรียนรู้ เชน่ วดิ ีโอ ภาพนิง่ ภาพเคล่อื นไหว สถานการณ์จำลอง บทความวชิ าการ เป็นต้น11 อย่างไรก็ตามผ้สู อนควร เลือกใชส้ ่ือใหเ้ หมาะสม เช่น ขนาดตัวหนงั สอื สี ความคมชัดของรูปภาพ ความถกู ต้องของข้อมูล รวมทั้งสื่อที่ นำมาใช้ควรมีความสอดคล้องกบั เนือ้ หาของรายวชิ าเพอ่ื ให้ผ้เู รียนเกิดความเข้าใจเพ่มิ มากขนึ้ นอกจากนี้แหล่ง เรียนรู้ (Resources) ได้แก่ หนังสือ ตำรา E-book E-Journal ห้องสมุด เปน็ ทางเลือกท่ีทำใหผ้ ้เู รยี นสามารถ เขา้ ถงึ ส่ือการเรยี นรู้ ดว้ ยการสืบคน้ ขอ้ มลู เพิ่มเตมิ เพอ่ื นำมาประกอบการเรียน ซ่ึงแหล่งเรยี นร้คู วรมคี วาม หลากหลายให้ผเู้ รียนสบื ค้นได้อย่างเพยี งพอ ทำให้ผู้สอนไม่จำเป็นตอ้ งใส่เนื้อหาในบทเรียนท้ังหมด12 5. กระบวนการจดั การเรียนรู้ (Learning Process) เปน็ กระบวนการออกแบบการเรยี นรู้ ให้กบั ผู้เรียนตามหัวข้อ วตั ถุประสงค์ เนอื้ หา สื่อการสอน กิจกรรมการเรียนรู้ วธิ กี ารวัดประเมินผล โดยอาศัย เทคโนโลยสี ารสนเทศ มาออกแบบวธิ กี ารจดั การเรียนรู้ภายใตก้ ระบวนการวิเคราะห์ (Analysis) วางแผน ออกแบบ (Planning Design) นำไปใช้ (Implement) พัฒนา (Development) ประเมินผล (Evaluation)

หลกั สูตรการเรียนรูใ้ ห้กับผู้เรียน ซ่งึ กระบวนการจัดการเรยี นรู้ทีม่ ีประสิทธิภาพ ควรส่งเสริมให้ผเู้ รยี นได้ สามารถนำเนื้อหาไปประยกุ ต์สูก่ ารเรียนร้ตู ามสภาพจริง (Authentic Learning) 6. ระบบการติดต่อส่ือสาร (Communication Systems) มีสว่ นสำคัญทำให้การจดั การเรียน การสอนแบบออนไลนป์ ระสบความสำเร็จได้ ซึง่ การติดต่อสื่อสารแบ่งออกเปน็ 2 ชนิด13 ได้แก่ 1) การ สื่อสาร ทางเดยี ว (One-Way Communication) เปน็ การถ่ายทอดเนื้อหาผา่ นส่ือการสอน เชน่ วิดโี อ (Video) PowerPoint ภาพน่ิง (Slide) สถานการณ์จำลอง (Scenario) กรณีศึกษา (Case Study) โดยไมม่ ี ปฏสิ ัมพนั ธ์ ระหว่างผสู้ อนกบั ผเู้ รียน 2) การสอื่ สารสองทาง (Two-Way Communication) เปน็ การถ่ายทอด เนื้อหาผ่าน สอ่ื การสอน เชน่ คอมพวิ เตอรช์ ว่ ยสอน (Computer Assisted Instruction : CAI) ระบบการจัด บทเรียน (Learning Management System: LMS) หรอื การเรียนโดยผ่านแอปพลเิ คช่ันการประชุมทางวดิ ีโอ เช่น Google Hangout Meet, Zoom Meeting, Schoology, Webex, Microsoft Teams เป็นตน้ ซึ่ง ผู้สอน และผู้เรยี นสามารถพดู คยุ ซกั ถามร่วมกันได้ในขณะทส่ี อนและตรวจสอบความเข้าใจของผูเ้ รยี นได้ จากประสบการณก์ ารจดั การเรียนการสอนแบบออนไลน์ของผ้นู ิพนธ์ พบวา่ การพจิ ารณาเลอื กระบบการ ตดิ ต่อส่ือสาร ทำให้เกดิ การเรียนรู้ถงึ จุดเด่น ข้อจำกดั ของโปรแกรม ได้แก่ จำนวนผู้เข้าใชง้ าน ระยะเวลาใช้ งาน ความคมชดั ของภาพ เสียง ทำให้การเรียนการสอนแบบออนไลนม์ ีประสิทธภิ าพและเหมาะสม รวมทงั้ การเลือกระบบการติดต่อสอ่ื สารชนิดสองทางผ่านโปรแกรมต่างๆ สามารถส่งเสริมให้ผูส้ อนและผ้เู รยี นได้มี ปฏิสมั พันธร์ ่วมกนั เพ่ิมข้ึน ทำให้ผูเ้ รยี นกลา้ ทีจ่ ะพดู คุยหรือซักถามกบั ผสู้ อนได้สะดวกมากขน้ึ 7. ระบบเครือขา่ ยเทคโนโลยสี ารสนเทศ (Network Systems) เป็นช่องทางในการอำนวย ความ สะดวกให้การเรียนการสอนมคี วามราบรนื่ ได้ ระบบเครือขา่ ยสารสนเทศ ประกอบดว้ ย 1) ระบบ เครือข่าย ภายในสถาบนั (Intranet) เป็นระบบเครอื ข่ายคอมพิวเตอร์ภายในสถานศึกษา ซ่ึงให้ผเู้ รียนสามารถ เข้ามาใช้ เครือข่ายภายในสถานศึกษาสำหรบั การเรียนออนไลน์ได้ 2) ระบบเครือข่ายภายนอกสถาบนั (Internet) ท่ีเชือ่ มตอ่ ระบบเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ทั่วโลกเพ่ือใหส้ ามารถติดต่อสอื่ สารไดร้ วดเรว็ ซ่งึ ผ้เู รยี น สามารถใช้ เครือขา่ ยอินเตอร์เนต็ สำหรบั การเข้าเรียนออนไลน์ได้ทกุ ที่ ทกุ เวลา รวมท้งั สืบคน้ ข้อมลู ประกอบการเรียนรู้ได้ อยา่ งไรก็ตาม อาจมีข้อจำกัดเก่ยี วกับความพร้อมของนักศึกษาในเรอื่ งการเตรยี ม อปุ กรณ์เชือ่ มต่อกับระบบ เครอื ขา่ ยเทคโนโลยสี ารสนเทศและพื้นท่ที ี่ไมม่ ีสัญญาณเครือขา่ ยอินเตอร์เนต็ รวมถงึ ความเร็วของ อินเตอร์เน็ตอาจทำใหก้ ารจัดการเรียนการสอนแบบออนไลนไ์ มร่ าบรนื่ ได้ 8. การวัดและการประเมินผล (Measurement and Evaluation) จำเป็นต้องมีการวดั และ ประเมินผล โดยมกี ารวดั และประเมินผลทงั้ ระหวา่ งเรยี น (Formative Assessment) เช่น การตั้งคำถาม การสงั เกตพฤติกรรมผู้เรยี น สะท้อนคิด เปน็ ตน้ และภายหลงั จดั การเรียน (Summative Assessment) เช่น การทดสอบด้วยแบบทดสอบตา่ งๆ เพ่ือตรวจสอบความเข้าใจของผเู้ รียน ประสิทธผิ ลของการเรียน เพอ่ื สะทอ้ น ความสามารถการเรียนรขู้ องผู้เรียน ซง่ึ ควรมีความหลากหลาย เพ่ือวดั ประเมินผลผูเ้ รยี นใหส้ อดคล้อง ตามสภาพจริง14 อยา่ งไรกต็ ามผูส้ อนจำเป็นต้องออกแบบเครอ่ื งมอื วิธกี ารวัดและประเมินผลใหม้ ี ประสิทธิภาพ รวมทงั้ ควรมีการสง่ เสริมคณุ ธรรมจริยธรรมในการทดสอบออนไลน์ เพ่อื ป้องกันการทจุ รติ ใน ระหว่างการสอบ จากประสบการณ์การจดั ทดสอบแบบออนไลน์ พบว่าปัญหาของการทุจรติ ในการทำขอ้ สอบมี นอ้ ย เน่ืองจาก ผูส้ อนมีการกำหนดวธิ กี ารสอบชัดเจน มีระบบการจัดเรยี งข้อสอบแบบสุ่ม ทำให้การเรยี งลำดับ ข้อสอบแต่ละ ชุดทส่ี ง่ ใหผ้ เู้ รยี นทำการสอบน้ันจะไมเ่ หมือนกนั พรอ้ มทงั้ มเี วลาเปน็ ตัวกำหนดการสนิ้ สดุ ใชง้ าน

ในระบบ และผ้เู รยี นต้องเปดิ กล้องตลอดเวลาขณะที่มกี ารทดสอบเพือ่ ให้ผูส้ อนไดส้ งั เกตพฤติกรรมของผเู้ รีย แตล่ ะคนได้ ดังนั้นจึงกล่าวไดว้ า่ องค์ประกอบของการจดั การเรยี นการสอนแบบออนไลน์เป็นส่วนสำคัญที่จะทำ ให้ การเรยี นการสอนนัน้ เกดิ ประสทิ ธภิ าพ ซึ่งองคป์ ระกอบดงั กลา่ วจำเป็นอยา่ งย่งิ ท่จี ะต้องออกแบบให้มีความ สอดคล้องกบั สถานการณ์จรงิ สามารถปรับเปลยี่ นใหเ้ หมาะกับผูเ้ รียนได้ ทัง้ นีค้ วรประเมินความพร้อมของ องค์ประกอบดังกล่าว การวิเคราะห์จุดแข็ง จดุ อ่อนของการนำไปใช้ เพื่อนำไปสู่การประยุกต์ใชก้ ับการเรยี น การสอนแบบออนไลน์ให้มีความเหมาะสม อย่างไรก็ตามความทา้ ทายของการจัดการเรยี นการสอนแบบ ออนไลน์ไม่ไดข้ ึ้นอยู่กับเทคโนโลยีสารสนเทศเพยี งอย่างเดยี ว แต่การเตรียมตัวของผเู้ รยี นและผสู้ อนก็มสี ่วน สำคญั ที่จำเปน็ ต้องปรบั มุมมอง แนวความคิด รวมทัง้ ไม่ควรยึดตดิ วิธกี ารเรยี นการสอนรปู แบบเดิมแต่ควรเปิด มมุ มอง แนวความคิด วธิ ีการเรียนการสอนใหท้ ันต่อการเปล่ียนแปลงที่เกิดขึ้น ความสำคัญของการจัดประสบการณ์สำหรับเดก็ ปฐมวัย การจดั ประสบการณต์ รงให้เด็กไดล้ งมือปฏบิ ัติ และการมสี ว่ นร่วมโดยยึดเด็กเป็นศนู ย์กลาง มีความจ าเปน็ อยา่ งมากสำหรับครูผู้สอนเพราะเด็กจะไดเ้ รียนรูม้ ีทักษะมีการแสดงออกอย่างเสรี ใชค้ วามคดิ ในการ แก้ปญั หาของ ตนเองและส่วนรวมอย่างมเี หตุผล เพื่อตอบสนองความต้องการตามวยั ของเดก็ อย่างสมบรู ณ์ การจัดประสบการณ์ ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พทุ ธศักราช 2560 ไดก้ าหนดสาระสำคัญในการจัด ประสบการณ์ไว้ ดังนี้ กรมวชิ าการ (2546:32) 1. เน้นเดก็ เปน็ สำคัญในการอบรมเลีย้ งดู ควรให้ความสำคัญกับธรรมชาตขิ องเด็ก ตอบสนอง ความ ตอ้ งการ ความสนใจ ความแตกต่างระหวา่ งบุคคลด้วยการเปิดโอกาสให้เด็กมีอสิ ระเป็นตัวของตวั เอง 2. ตระหนักและสนับสนุนพื้นฐานทเ่ี ด็กพึงได้รับ อนั ได้แก่ การดูแลเอาใจใส่ใหม้ ชี วี ติ อย่รู อด ปลอดภัย ได้รบั การคุม้ ครองจากการถูกทอดท้ิง เอาเปรยี บและการกระท าทารุณ 3. ปฏบิ ัติต่อเด็กด้วยความรกั ความเอาใจใส่ และมเี หตุผลมากกว่าการใช้อารมณ์ 4. สง่ เสรมิ พัฒนาการเดก็ แบบองคร์ วมอย่างสมดุลครบถ้วนทุกดา้ น ดว้ ยการจดั ประสบการณ์ที่ เหมาะสมกับความพร้อม ความสนใจ ความสามารถตามวยั 5. ปลูกฝังระเบยี บวนิ ยั คุณธรรมและวฒั นธรรมไทย ดว้ ยการเปน็ แบบอย่างที่ดี จัดกจิ กรรม ส่งเสริม ความรแู้ ละทักษะ 6. ชแ้ี นะการแสดงพฤติกรรมของเด็ก ดว้ ยการใช้แรงเสริมทางบวก เมอื่ เด็กมีพฤตกิ รรมที่ เหมาะสม และใชแ้ รงเสริมทางลบ ควบคุมพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม 7. ใช้ภาษาท่เี หมาะสมกับความสามารถในการรับรู้ และการเรยี นร้ขู องเด็กดว้ ยค าศัพท์ งา่ ยๆ ส้ันๆใน การพูดคุยกบั เดก็ 8. สนบั สนุนการเล่นตามธรรมชาติของเดก็ โดยการจดั เตรยี มสถานที่ อปุ กรณ์ การเล่นให้ เหมาะสม กับวัยและเปิดโอกาสให้เดก็ ได้เลน่ กบั ผู้อื่น 9. จดั สภาพแวดลอ้ มทป่ี ลอดภัยและเอื้อต่อการเรยี นรู้ 10. ติดตามเฝ้าระวงั และสังเกตพัฒนาการของเด็ก

ชติ าพร เอี่ยมสะอาด (2548:92) กล่าวถึง ความสำคัญของการจดั ประสบการณส์ ำหรับเดก็ ปฐมวยั ดงั นี้ 1. ช่วยใหเ้ ด็กมที ักษะพ้ืนฐานทจี่ ะเรียนในระดับประถมศึกษาหรอื ระดับทส่ี งู ขน้ึ 2. ชว่ ยใหเ้ ดก็ มคี วามรักและเกิดความภาคภมู ิใจในความสำเรจ็ ของตนเอง มงุ่ ม่ันในความดี งามและรู้ คุณคา่ แห่งชวี ิต 3. ชว่ ยให้เด็กเป็นสมาชิกที่ดีของสังคม รหู้ น้าท่ีของตนเองและเสียสละเพ่ือสงั คมตามควรแก่ วัยและ โอกาส 4. ชว่ ยให้เดก็ มีคุณธรรม จรยิ ธรรม และมคี วามรกั ในศลิ ปวัฒนธรรมประเพณีอันดีงาม 5. ช่วยในการเตรยี มความพร้อมให้กบั เด็กทกุ ด้าน ดังนัน้ การจดั ประสบการณใ์ ห้กับเดก็ ปฐมวัยจงึ ควรตั้งอยู่บนพน้ื ฐาน หลักการ แนวคดิ และทฤษฎขี องนักการศกึ ษา ซึ่งในแต่ละแนวคดิ จะมี จุดเน้นท่ีแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับความเชอ่ื และความเหมาะสมในการเลือกน าไปปฏิบัติของแต่ละบุคคล และจดั ให้สอดคล้องกับความ แตกตา่ งระหวา่ งบุคคล ควรบูรณาการทกั ษะและสาระการเรียนรู้ แตก่ ารจัด ประสบการณส์ ำาหรับเดก็ ปฐมวยั จะบรรลุผลตามเปูาหมายได้นัน้ สิ่งสำคัญคือ บทบาทของครู เนื่องจากการจดั สภาพแวดลอ้ ม การจดั กจิ กรรมและ ประสบการณใ์ หส้ อดคลอ้ งกับธรรมชาติของเดก็ ล้วนแตเ่ ป็นหน้าที่ของครู ในการวางแผนเพือ่ ใหเ้ ด็กมีทัศนคติที่ดีต่อ การเรียน อนั จะชว่ ยใหเ้ ด็กได้รบั การพฒั นาท้ังทางดา้ นร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สงั คมและสตปิ ัญญา เพื่อเปน็ พื้นฐาน สู่การเรยี นในอนาคต หลักการจดั ประสบการณส์ ำหรับเดก็ ปฐมวยั การจดั ประสบการณ์เพอ่ื ให้เด็กเกิดการเรยี นรู้ เป็นการกระตุน้ ให้เดก็ ไดพ้ ัฒนาในรูปแบบท่พี ึง ประสงค์ ท้งั พัฒนาทางดา้ นรา่ งกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมและสตปิ ญั ญา ครแู ละผู้ทเี่ กี่ยวข้องกับเดก็ ปฐมวัย จงึ ควรมี ความรคู้ วามเขา้ ใจเก่ียวกับลักษณะพัฒนาการ ความตอ้ งการตามธรรมชาติของเดก็ เพ่ือเป็นพนื้ ฐานใน การจัด ประสบการณ์ทีจ่ ะส่งเสรมิ พัฒนาการดังกลา่ วใหส้ อดคลอ้ งกับความพรอ้ ม วฒุ ิภาวะ ความต้องการ ความสนใจ และ ความสามารถของเดก็ ตลอดจนปูองกนั หรอื แก้ไขพฤติกรรมที่อาจเป็นปญั หาได้อย่าง เหมาะสม หลกั ในการจัด ประสบการณ์สำหรับเดก็ ปฐมวยั มดี งั นี้ กรมวิชาการ (2546:33) 1. มุ่งเน้นใหเ้ ดก็ พัฒนาการทุกด้าน ทัง้ ทางด้านรา่ งกาย อารมณ์ จิตใจ สงั คมและสติปัญญา มไิ ด้ มุง่ เน้นให้เด็กเรยี นร้เู นื้อหาวิชา แต่ต้องพัฒนาคุณลกั ษณะต่างๆดงั ต่อไปน้ี 1.1 พฒั นาการรบั ร้แู ละประสาทสัมผสั 1.2 พัฒนาการส่ือสารโดยการฟงั การพูด 1.3 พฒั นาดา้ นบุคลิกภาพ 1.4 ความร้สู กึทด่ี ตี ่อตนเองและผอู้ น่ื 1.5 การตดั สินใจได้ถูกตอ้ ง 1.6 การคดิ วางแผนในการท ากิจกรรม 1.7 ความคิดริเรมิ่ สรา้ งสรรค์ 1.8 การเปน็ สมาชกิ ทีด่ ีของสังคมและการปรับตวั อย่รู ว่ มกับผ้อู ืน่ ได้อย่างมีความสุข

1.9 การมคี ุณธรรม จรยิ ธรรม รักช่ืนชมและภมู ิใจในศิลปวัฒนธรรม ประเพณีท่ีดี งามของชาติ 2. บูรณาการจัดประสบการณต์ ่างๆเขา้ ดว้ ยกันท้ังกิจกรรมรายบคุ คล กจิ กรรมกลุ่มเลก็ กิจกรรมกลุ่ม ใหญใ่ นห้องเรยี น นอกหอ้ งเรียนยึดเด็กเปน็ ศูนย์กลางหลักบรู ณาการท่เี หมาะสม คอื 2.1 ยึดเด็กเป็นสำคัญเนน้ เร่ืองท่เี ด็กสนใจ ใกล้ตวั เดก็ ให้เด็กไดม้ โี อกาสท ากจิ กรรม อาจเปน็ รายบุคคลหรอื กล่มุ ความยาก ง่ายของกิจกรรมควรมีปะปนกนั 2.2 สอดคล้องกับพัฒนาการเด็กปฐมวัย มคี วามสนใจในส่งิ แวดลอ้ มรอบตวั ฉะนั้น จึงควรเลือก สิ่งแวดลอ้ มรอบตัวทีค่ ้นุ เคยมาให้เดก็ ไดเ้ รียนรู้ 2.3 ใหป้ ระสบการณ์ท่ีกวา้ งขวาง เมอ่ื เด็กพบเหตุการณใ์ ดเหตุการณ์หนึ่ง เด็กมี โอกาสได้ ประสบการณ์ในหลายด้านพร้อมกัน ดงั นนั้ การจะชว่ ยให้เดก็ ได้ประโยชน์เตม็ ท่ีจึงน่าจะจัด ประสบการณ์แก่เด็กใน รปู แบบบูรณาการ 3. การจดั ประสบการณต์ ้องดัดแปลงให้เหมาะสมและสอดคล้องกับสภาพของเด็ก สภาพของทอ้ งถิ่น เพ่ือเด็กจะได้มีโอกาสฝึกฝนตนเองใหเ้ หมาะสมกับสภาพท้องถิน่ 4. จดั ประสบการณ์โดยมุ่งเน้นความแตกต่างระหว่างบุคคล ให้เดก็ ได้พฒั นาเต็มตาม ศักยภาพ 5. จดั การประเมนิ พัฒนาการใหเ้ ปน็ กระบวนการอยา่ งต่อเนอื่ ง และเปน็ ส่วนหนึง่ ของการจดั ประสบการณ์ 6. ให้ผู้ปกครองและชมุ ชนมีส่วนรว่ มในการพฒั นาเด็ก ๒.จดุ ประสงค์ และเป้าหมาย ของการดำเนนิ งาน 2.1 เพื่อส่งเสรมิ ศกั ยภาพเด็กปฐมวยั พฒั นาการทั้ง ๔ ดา้ นพฒั นาการดา้ นร่างกาย พฒั นาการด้าน อารมณ์ พัฒนาการด้านสงั คม พฒั นาการด้านสตปิ ญั ญา ๒.2 เพ่ือใหเ้ ด็กไดแ้ สดงออกซึ่งความคิดรเิ ริ่มสรา้ งสรรค์ ฝกึ การสงั เกต และ การคิดแก้ปัญหา ๒.3 เพอ่ื ให้เดก็ ไดผ้ ่อนคลายอารมณ์ใหร้ า่ เรงิ แจม่ ใส ๒.๔ เพอ่ื ให้เดก็ กลา้ พดู กลา้ แสดงความคิดเหน็ และสามารถสนทนาโตต้ อบเปน็ ประโยคที่ต่อเนอ่ื งได้ ๓. ขัน้ ตอนการดำเนินการ ศึกษาหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พทุ ธศกั ราช 2560 และคู่มือการใช้หลกั สตู ร ในเรื่องต่าง ๆ ไดแ้ ก่ มาตรฐานและคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ของเดก็ ปฐมวัย คุณลกั ษณะตามวัยของเดก็ ปฐมวยั สาระการเรยี นรู้ ขอบข่ายของกจิ กรรมที่จดั ให้กับเด็ก และพบว่ากิจกรรมเสริมประสบการณ์เป็นกิจกรรมท่มี ุ่งเน้นให้เด็กได้ พฒั นาทกั ษะการเรียนรู้ฝึกการทำงานซง่ึ สามารถพฒั นาศักยภาพของเดก็ ไดห้ ลายด้าน เช่น พัฒนาดา้ น ร่างกาย กล้ามเน้ือเลก็ พฒั นาทางดา้ นอารมณ์ จติ ใจ พฒั นาการด้านสงั คมและสติปญั ญา เดก็ มีการผ่อนคลาย อารมณ์ใหร้ า่ เรงิ แจ่มใส พฒั นาทางด้านสังคม เด็กสามารถทำงานรว่ มกบั ผู้อน่ื ได้ และ พัฒนาดา้ นสตปิ ญั ญา เดก็ ไดฝ้ ึกการสงั เกต การคดิ แก้ปัญหา และการใชภ้ าษา ซงึ่ จะจดั กิจกรรมในรปู แบบ on – line on – hand และ on - demand

on – line ใชว้ ิธี สนทนาผ่าน Application Line Google Meet Zoom Video Communications on – hand ใบงานหนว่ ยต่างๆ on - demand เว็บไซตต์ า่ ง ตามหน่วยที่กำหนด ดังนี้ กจิ กรรมเสริมประสบการณ์เพื่อพัฒนา พัฒนาการท้ัง ๔ ดา้ น ของเด็ก จำนวน 5 หนว่ ยการเรียนรู 5 กจิ กรรมมีดงั นี้ ตารางหนว่ ยการเรียนรู้และกิจกรรม หนว่ ย กิจกรรม ครอบครัวมีสุข สมาชกิ ในครอบครัว ฝน ชุดป้องกันฝน ข้าว ขา้ วมาจากไหน วันแม่ กลอนวนั แม่ ต้นไมท้ ร่ี ัก สว่ นประกอบของตอนไม้ 4. ผลงานดำเนินการ/ผลสมั ฤทธ์ิ/ประโยชนท์ ไี่ ด้รบั ๔.1 ครไู ด้นำเทคนิควิธกี ารจดั กิจกรรมเสรมิ ประสบการณ์โดยใช้ใบงานทีห่ ลากหลายมาพัฒนา ศักยภาพให้เด็ก โดยจัดกิจกรรมให้เด็กได้ใช้พฒั นาการท้ัง ๔ ดา้ นพัฒนาการด้านร่างกาย พฒั นาการด้าน อารมณ์ พัฒนาการด้านสงั คม พฒั นาการด้านสติปัญญา ๔.2 เดก็ ปฐมวัยไดแ้ สดงออกซ่งึ ความคดิ รเิ ริ่มสร้างสรรค์ ฝึกการสังเกต และ การคิดแกป้ ัญหา พัฒนา ด้านประสาทสมั พนั ธ์ พัฒนากล้ามเน้อื เลก็ และ พัฒนากลา้ มเนอื้ ใหญ่ ๔.3 เดก็ ได้แสดงออกซง่ึ ความคิดรเิ ร่ิมสร้างสรรค์ และ เพื่อใหเ้ ด็กไดผ้ ่อนคลายอารมณ์ใหร้ ่าเรงิ แจม่ ใส และทางานร่วมกบั ผู้อ่ืนได้ ๔.4 เด็กกล้าพดู กล้าแสดงความคิดเหน็ และสามารถสนทนาโต้ตอบเปน็ ประโยคท่ีต่อเนอื่ งได้ ๕. ปจั จัยความสำเร็จ ปัจจัยทท่ี ำให้การพัฒนาผลงานในการพัฒนาเดก็ ปฐมวยั ในชว่ งสถานการณ์โรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019 โดยการสอนแบบ on – line on – hand และ on - demand คือ 1. ผู้บริหารมีภาวะผู้นำและใหค้ วามสำคญั สนบั สนนุ ในการดำเนินกิจกรรม 2. คณะครู นกั เรยี นทกุ คนให้การสนบั สนนุ และรว่ มแรงรว่ มใจในการทำกิจกรรม 3. ผู้ปกครองใหก้ ารร่วมมือสนับสนนุ ในการจดั หาสือ่ เพื่อใชใ้ นการจัดกจิ กรรม 4. เด็กปฐมวยั มคี วามสนใจและกระตือรือร้นในการทำกิจกรรมและทำใบความรู้ 5. ศึกษานเิ ทศก์ ผูบ้ ริหาร คณะครูในกลุ่มโรงเรยี น ที่เก่ียวขอ้ งให้คำปรกึ ษาท่ีดี 6. มีการประเมนิ พฒั นาการและปรบั ปรุงผลการทำงานเพื่อบรรลุเป้าหมายอย่างต่อเนื่อง

๖. บทเรยี นทไี่ ด้รบั ( Lesson Learned ) 1. ผลทเี่ กดิ จากการจัดกิจกรรมทำให้พฒั นาการท้ัง ๔ ดา้ นพฒั นาการด้านร่างกาย พัฒนาการด้าน อารมณ์ พัฒนาการด้านสังคม พัฒนาการด้านสติปญั ญาและพัฒนาการทางด้านการพดู ของเด็กดขี น้ึ มคี วาม กลา้ พดู กลา้ แสดงความ คดิ เห็น มคี วามมั่นใจ และสามารถสนทนาโต้ตอบเป็นประโยคทต่ี อ่ เน่ืองได้ 2. เด็กสามารถแสดงออกซ่ึงความคดิ รเิ ริม่ สรา้ งสรรค์ ฝึกการสังเกต และ การคดิ แกป้ ญั หา

ภาคผนวก

on – line LINE Google meet Zoom

on – hand หนว่ ย ครอบครวั มสี ุข หนว่ ย ฝน หน่วย ขา้ ว หนว่ ย วันแม่ หนว่ ย ตน้ ไมท้ ีร่ กั

ช่ือ ........................................................................................ช้นั อนุบาลปี ที่................................. ใบงานหน่วยท่ี 5 หน่วยครอบครัวมีสุข คาช้ีแจง : ใหน้ กั เรียนเขียนคาตามรอยประบคุ คลในครอบครัว และระบายสีใหส้ วยงาม พ่อ ป่ ู แม่ ยา่ พส่ี าว น้องชาย

ชื่อ..............................................................................................ช้นั อนุบาลปี ที่............................ ใบงานหน่วยที่ 5 หน่วยครอบครัวมีสุข คาช้ีแจง : ใหน้ กั เรียนระบายสีภาพท่ีเป็นกิจกรรมการทางานบา้ นใหถ้ ูกตอ้ ง

ภาพการทำกจิ กรรม

หน่วย ฤดูฝน

ชื่อ..........................................................................................ช้นั อนุบาลปี ท่ี................................ ใบงานหน่วยท่ี 7 หน่วยฤดูฝน คาช้ีแจง : ใหน้ กั เรียนเขียนคาตามรอย และระบายสีใหส้ วยงาม เมฆ ฝน มหาสมทุ ร แมน่ ้า วฏั จกั รของน้า

ช่ือ......................................................................................................ช้นั อนุบาลปี ที่ ................................. ใบงานหน่วยท่ี 7 หน่วยฤดูฝน คาช้ีแจง : ใหน้ กั เรียนเรียงลาดบั การเกิดฝนโดยเติมตวั เลขลงในช่องวา่ ง และระบายสีใหส้ วยงาม

ชื่อ...............................................................................................ช้นั อนุบาลปี ที่........................... ใบงานหน่วยที่ 7 หน่วยฤดูฝน คาช้ีแจง : ใหน้ กั เรียนเขียนตามรอยประอปุ กรณ์ที่ใชก้ นั ฝนตก และระบายสีใหส้ วยงาม รม่ เสอ้ื กนั ฝน รองเทา้ บทู

ภาพการทำกจิ กรรม

หน่วย ข้าว

ช่ือ..............................................................................................ช้นั อนุบาลปี ท่ี............................ ใบงานหน่วยที่ 8 หน่วยข้าว คาช้ีแจง : ใหน้ กั เรียนเขียนตามรอยประ และระบายสีใหส้ วยงาม ขา้ ว Rice

ช่ือ......................................................................................................ช้นั อนุบาลปี ที่..................... ใบงานหน่วยท่ี 8 หน่วยข้าว คาช้ีแจง : ใหน้ กั เรียนเขียนคาตามรอยประ และระบายสีใหส้ วยงาม ข้าว ขา้ วเปลอื ก ขา้ วสกุ ขา้ วสาร

ช่ือ......................................................................................................ช้นั อนุบาลปี ที่..................... ใบงานหน่วยท่ี 8 หน่วยข้าว คาช้ีแจง : ใหน้ กั เรียนโยงเขียนคาตามรอยประ โยงเส้น และระบายสีใหส้ วยงาม ดานา เกย่ี วขา้ ว ไถนา

ภาพการทำกจิ กรรม

หน่วย วนั แม่

ช่ือ......................................................................................................ช้นั อนุบาลปี ท่ี..................... ใบงานหน่วยที่ 11 หน่วยวนั แม่ คาช้ีแจง : ใหน้ กั เรียนเขียนคาตามรอยประ และระบายสีใหส้ วยงาม ดอกมะลิ Jasmine

ชื่อ......................................................................................................ช้นั อนุบาลปี ท่ี.................. ใบงานหน่วยท่ี 11 หน่วยวนั แม่ คาช้ีแจง : ใหน้ กั เรียนเขียนตามรอยประ พร้อมวาดรูปแม่ และระบายสีใหส้ วยงาม วนั แมแ่ หง่ ชาติ

ชื่อ......................................................................................................ช้นั อนุบาลปี ท่ี ................................. ใบงานหน่วยที่ 11 หน่วยวนั แม่ คาช้ีแจง : ใหน้ กั เรียนเขียนคาตามรอยประ และระบายสีใหส้ วยงาม กลอนวนั แม่ ต่นื เชา้ มาแมห่ งุ หาอาหารให้ ทกุ คนในครอบครวั ไดก้ นิ อมิ่ หนา ลกู ระลกึ พระคณุ แมเ่ ป็นประจา ลกู จะทาความดใี หแ้ มภ่ าคภูมิ

ช่ือ......................................................................................................ช้นั อนุบาลปี ท่ี.................... ใบงานหน่วยที่ 11 หน่วยวนั แม่ คาช้ีแจง : ใหน้ กั เรียนเขียนคาตามรอยประ พร้อมโยงเส้น และระบายใหส้ วยงาม ไหว้ หอมแกม้ กอด

ภาพการทำกจิ กรรม

หน่วย ต้นไม้ท่รี ัก

ชื่อ......................................................................................................ช้นั อนุบาลปี ท่ี...................... ใบงานหน่วยที่ 15 หน่วยต้นไม้ทร่ี ัก คาช้ีแจง : ใหน้ กั เรียนเขียนตามรอยประ และระบายสีใหส้ วยงาม ใบ ดอก ผล ลาตน้ ราก ตน้ ไม้

ชื่อ......................................................................................................ช้นั อนุบาลปี ท่ี..................... ใบงานหน่วยที่ 15 หน่วยต้นไม้ทรี่ ัก คาช้ีแจง : ใหน้ กั เรียนโยงเส้นจบั คู่ภาพท่ีเหมือนกนั และระบายสีใหส้ วยงาม    

ช่ือ......................................................................................................ช้นั อนุบาลปี ท่ี..................... ใบงานหน่วยที่ 15 หน่วยต้นไม้ทร่ี ัก คาช้ีแจง : ใหน้ กั เรียนทบั ภาพท่ีเหมือนกบั ภาพตวั อยา่ งใหถ้ ูกตอ้ ง

ชื่อ......................................................................................................ช้นั อนุบาลปี ท่ี.................... ใบงานหน่วยที่ 15 หน่วยต้นไม้ที่รัก คาช้ีแจง : ใหน้ กั เรียนเขียนตวั เลขเรียงลาดบั การเจริญเติบโตของตน้ ไมใ้ หถ้ ูกตอ้ ง

ภาพการทำกจิ กรรม

on - demand หน่วยครอบครวั มีสขุ https://www.youtube.com/watch?v=D7zg9DRSH8k https://www.youtube.com/watch?v=IULDkiKY50c https://www.youtube.com/watch?v=AMH057GbemA https://www.youtube.com/watch?v=sZApRtiGKPA หน่วยฝน https://www.youtube.com/watch?v=tRGNzWd0MiM https://www.youtube.com/watch?v=e1jsN8EJ9J4 https://www.youtube.com/watch?v=CW1dgzTEihw https://www.youtube.com/watch?v=1UR01vdKsAA หน่วยข้าว https://www.youtube.com/watch?v=yEegLYhWhYg https://www.youtube.com/watch?v=cFTeqs-4Ghk https://www.youtube.com/watch?v=t5vmL8o_6RM https://www.youtube.com/watch?v=yTBnNSlU5rI หน่วยวนั แม่ https://www.youtube.com/watch?v=wjx_6SmyUJY https://www.youtube.com/watch?v=MmEBiXQU1lg https://www.youtube.com/watch?v=WZenID-9CCw https://www.youtube.com/watch?v=f5-gYs0wHcI หน่วยตน้ ไม้ท่ีรัก https://www.youtube.com/watch?v=tO8gDP2IP9g https://www.youtube.com/watch?v=JmcImjsQue4 https://www.youtube.com/watch?v=0_9LzG4p3WY https://www.youtube.com/watch?v=0_9LzG4p3WY


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook