Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore chapter8

chapter8

Published by ปราโมทย์ พรหมขันธ์, 2018-09-30 21:37:51

Description: chapter8

Search

Read the Text Version

บทท่ี 8 การใชเทคโนโลยสี ารสนเทศเพอ่ื การสื่อสารทางการศกึ ษาแนวคิดการสือ่ สารทางการศกึ ษา การส่ือสาร (communication) คือ กระบวนการแลกเปลี่ยนขอมูล ขาวสารระหวางบุคคลตอบุคคลหรือบุคคลตอกลุม โดยใชสัญลักษณ สัญญาณ หรือพฤติกรรมท่ีเขาใจกัน มีองคประกอบ ดังนี้ ภาพท่ี 8.1 องคป ระกอบของการส่ือสาร ผูสงสาร คือ ผูที่ทําหนาที่สงขอมูลหรือสารไปยังผูรับสารโดยผานชองทาง ท่ีเรียกวาส่ือหากเปน การส่ือสารทางเดียวผูสงจะทําหนาท่ีสงเพียงประการเดียวแตถาเปนการสื่อสาร 2 ทางผูสงสารจะเปนผูรับในบางคร้ังดวย ผูสงสารจะตองมีทักษะในการส่ือสาร มีเจตคติตอเร่ืองท่ีจะสง ตองมีความรูในเน้ือหาที่จะสงและอยูในระบบสังคมเดียวกับผูรับ ก็จะทําใหการสื่อสารมีประสิทธิภาพ ขาวสารในกระบวนการตดิ ตอ สอื่ สารมคี วามสาํ คญั ขาวสารที่ดตี อ งแปลเปน รหัสเพอื่ สะดวกในการสงการรับและตคี วามเน้ือหาสารของสารและการจัดสาร จะตองทาํ ใหการสือ่ ความหมายงา ยข้ึน สอ่ื หรอื ชองทางในการรับสารคือ ประสาทสัมผัสทง้ั หา คือ ตา หู จมูก ล้ิน และกายสัมผัสและตัวกลางท่ีมนุษยสรางขึ้นมา เชน สิ่งพิมพ กราฟก สื่ออิเล็กทรอนิกส ผูรับสารคือผูที่เปนเปาหมายของผูสงสาร การส่ือสารจะมปี ระสทิ ธิภาพ ผูรับสารจะตองมีประสิทธภิ าพในการรับรู มีเจตคตทิ ี่ดตี อ ขอมลู ขาวสาร ตอ ผูสงสารและตอตนเอง มีรายละเอียดดังตอไปนี้ 1. การส่ือความหมาย การท่ีมนุษยมีการติดตอส่ือสาร หรือสื่อความหมายระหวางกันของมนษุ ย ตอ งอาศยั วิธีการ รูปแบบและประเภทของการติดตอ สอื่ สารเปนหลักสําคัญเพอื่ ชวยในการติดตอกัน การติดตอสื่อสารในแตละวาระและสภาพการณนั้น ยอมมีลักษณะของการติดตอส่ือสารที่แตกตางกันไป อาจตองมีการใชวิธีการรูปแบบ และประเภทของการติดตอสื่อสารอยางหนึ่งในสถานการณหนึง่ แตอ าจใชอกี อยา งหนงึ่ ในอีกสถานการณก็ได วิธีการของการสือ่ สาร แบง ออกได 3 วิธีไดแก

173 1.1 การสือ่ สารดว ยวาจา หรือ วจนภาษา (oral communication) เชน การพูดและการรองเพลง เปนตน 1.2 การส่ือสารท่ีมิใชวาจา หรือ อวจนภาษา (nonverbal communication)และการส่ือสารดวยภาษาเขียน (written communication) เชน การส่ือสารดวยทา ทาง ภาษามือ และตัวหนังสอื เปนตน 1.3 การสื่อสารดวยการใชจักษุสัมผัสหรือการเห็น (visual communication)เชน การสอื่ สารดว ยภาพ โปสเตอร สไลด เปน ตน หรอื โดยการใชสญั ลกั ษณและเครื่องหมายตา งๆเชน ลกู ศรช้ีทางเดิน เหลา น้เี ปนตน 2. รปู แบบของการส่ือสาร แบง ออกไดเปน 2 รูปแบบ ไดแก 2.1 การสื่อสารทางเดียว (one–way communication) เปนการสงขาวสารหรือการส่ือความหมายไปยังผูรับแตเพียงฝายเดียว โดยท่ีผูรับไมสามารถมีการตอบสนองในทันทีทันใด (immediate response) ใหผูสงทราบได แตอาจจะมีผลปอนกลับไปยังผูสงในภายหลังได การสื่อสารในรปู แบบน้ีจึงเปนการทผ่ี ูสงและผูรับไมสามารถมีปฏสิ ัมพนั ธตอ กันไดท นั ทีจงึ มกั เปนการสอื่ สารโดยอาศยั สื่อมวลชน เชน การฟงวิทยุ หรอื การชมโทรทัศน เหลา น้ีเปน ตน 2.2 การสื่อสารสองทาง (two–way communication) เปนการสงขาวสาร หรือการส่ือความหมายที่ผรู ับมีโอกาสตอบสนองมายังผสู ง ไดใ นทันที โดยทผ่ี ูสง และผรู บั อาจอยูต อหนากนั หรืออาจอยูค นละสถานท่ีกไ็ ด แตท ั้งสองฝายสามารถมีการเจรจาหรอื การโตตอบกันไปมา โดยท่ีฝายตางผลัดกันทําหนาเปนท้ังผสู งและผูรับในเวลาเดียวกัน เชน การพูดโทรศัพท การประชุมเปนตน 3. ประเภทของการสอื่ สาร แบง ออกเปน 3 ประเภท ไดแก 3.1 การสื่อสารในตนเอง (interpersonal or self–communication) เปนการสื่อสารภายในตัวเอง หมายถึง บุคคลผูน้นั เปน ทัง้ ผูสงและผูรับในขณะเดยี วกัน เชน การเขียนและอา นหนงั สือ เปน ตน 3.2 การสื่อสารแบบกลุมชน (group communication) เปนการส่อื สารระหวางบุคคลกับกลุมชนซ่ึงประกอบดวยคนจํานวนมาก เชน การสอนในหองเรียนระหวางครูเพียงคนเดียวกับนักเรียนทั้งหอง หรือระหวางกลุมชนกับบุคคล เชน กลุมชนมารวมกันฟง คําปราศรัยหาเสียงของผสู มคั รรบั เลือกตัง้ เปนตน 3.3 การส่ือสารมวลชน (Mass Communication) เปน การสอ่ื สารโดยการอาศัยส่ือมวลชนประเภทวิทยุ โทรทัศน ภาพยนตร และส่ือส่ิงพิมพตางๆ เชน นิตยสาร หนังสื่อพิมพแผนพับ แผนโปสเตอร ฯลฯ เพือ่ การตดิ ตอไปยงั ผรู ับสารจํานวนมากซึง่ เปน มวลชนใหไดรับขอมูลขาวสารเดียวกันในเวลาพรอ มๆ กนั หรอื ไลเล่ยี กนั

174 4. องคป ระกอบของการส่ือสาร การถายทอดขาวสารหรือการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นขอมูลในการสื่อสาร จะเกิดข้ึนไดตอเมื่อมีตนทางของการถายทอดหรือเรียกวา ผูสง เปนผูทําการสงขาวสารตางๆ โดยผานสื่อไปยังจุดหมายปลายทาง หรือเรยี กวา ผูร ับ ไดรับทราบขาวสารน้ันรวมกัน จากหลักการน้ีจงึ ตองมีองคป ระกอบตา งๆ เพ่อื ใหก ารสือ่ สารเกิดข้ึนไดดังตอ ไปนี้ 4.1 ผูสง ผูสื่อสาร หรือตนแหลงของการสง (sender, communicator orsource) เปนแหลงหรือผูที่นําขาวสารเร่ืองราว แนวความคิด ความรู ตลอดจนเหตุการณตางๆเพื่อสงไปยังผูรบั ซึ่งอาจเปนบุคคลหรือกลุม ชนก็ได ผูสงนี้จะเปนบุคคลเพียงคนเดียว กลุมบุคคลหรอื สถาบัน โดยอยูในลกั ษณะตางๆ ไดห ลายอยาง อาทิเชน ผูอา นขาว ครู นักรอง นักเขียน จิตรกร กลุมผูอภิปราย สถาบันการศึกษา ฯลฯ เปนผูนําเน้ือหาเรื่องราวของขาว บทเรียน เพลงบทความ ภาพ ฯลฯ มาเสนอแกผูรับโดยการใชภาษาหรือใชวิธีการอ่ืนๆ เพื่อใหผูรับเขาใจ การกระทําดังกลาวเรยี กวา การเขา รหสั (encode) เปน ภาษาพูด ภาษาเขยี น ภาษามือ รูปภาพ และสัญลกั ษณ เหลานเี้ ปน ตน 4.2 เนื้อหาเร่ืองราว (message) ไดแก เนื้อหาของสารหรือเร่ืองราวท่ีสงออกมาเชน ความรู ความคดิ ขา วสาร บทเพลง ขอเขียน ภาพ ฯลฯ เพ่อื ใหผูรบั รับขอมลู เหลานั้น 4.3 สื่อหรอื ชองทางในการนาํ สาร (media or channel) หมายถึงตัวกลางท่ีชวยถา ยทอดความคิด เหตุการณ เร่ืองราวตา งๆ ทผ่ี ูสงตองการใหไปถึงผูรับ ส่ือที่ใชม ากทส่ี ุด คอื ภาษาพูด ซ่ึงใชเสียงเปนสื่อ เวลาเขียนหรืออานหนังสือสื่อท่ีใช คือภาษาเขียน กริยาทาทาง หรือการแสดงออกทางทาทางหนาตา นอกจากน้ี อาจมีการใชส่ืออุปกรณไฟฟา เชน วิทยุ โทรทัศน หรือประเภทส่ือส่ิงพิมพตางๆ เชน แผนที่ รูปภาพ การแสดงนิทรรศการ เปนสอื่ หรือชองทางเพื่อการส่ือความหมายเรือ่ งราวได 4.4 ผูรับหรือกลุมเปา หมาย (receiver or target audience) ไดแก ผูรับเน้ือหาเร่ืองราวจากแหลงหรือผูท่ีสงมา ผรู ับนี้อาจเปนบุคคล กลุมชน หรือสถาบันก็ได เม่ือรับเร่อื งราวแลวผูรับตองมี การถอดรหัส (decode) คือการแปลขาวสารน้ันใหเขาใจ จะเห็นไดวาในการส่ือสารทั้งผูรับและผูสงท้ังสองฝายจะมีการแลกเปลี่ยนบทบาทซึ่งกันและกันได เชน เมื่อ นาย ก.พูดใหนาย ข. ฟง ในเร่ิมแรก นาย ก. จะเปนผูสงและนาย ข. จะเปลยี่ นบทบาทเปนผูพูดหรือผูสงและผูรบั จึงมีการเปลี่ยนบทบาทและหนา ที่ซึ่งกนั และกันตลอดเวลา 4.5 ผล (effect) หมายถึง ส่ิงท่ีเกิดขึ้นจากการท่ีผูสง สงเร่ืองราวไปยังผูรับ ผลท่ีเกิดขน้ึ คอื การท่ีผรู ับอาจมีความเขาใจหรือไมรเู รื่อง ยอมรับหรอื ปฏิเสธ พอใจหรอื โกรธ ฯลฯ สิ่งเหลาน้ีเปนผลของการสื่อสาร และจะเปนผลสืบเนื่องตอไปวาการสื่อสารน้ันจะสามารถบรรลุผลตามจุดมุงหมายหรอื ไม ท้ังนย้ี อมขึ้นอยูกับทัศนคติของผูรบั สอ่ื ทใ่ี ช และสถานการณใ นการสื่อสารเปน สาํ คัญดวย 4.6 ผลปอนกลับ (feedback) เปนส่ิงท่เี ก่ียวเนื่องจากผลซ่ึงผูรับสง กลบั มายงั ผูสงโดยผูรับอาจแสดงอาการใหเห็น เชน งวงนอน ปรบมือ ย้ิม พยักหนา สวนหนา การพูดโตตอบ

175หรือ การแสดงความคิดเห็น เพ่ือเปนขอมูลที่ทําใหผูสงทราบวา ผูรับมีความพอใจหรือมีความเขาใจในความหมายทีส่ งไปหรือไม ผลปอนกลับนี้คอื ขอ มูลขอยกลับกันเกดิ จากการตอบสนองของผรู บั ทีส่ งกลบั ไปยังผสู งน่นั เอง ผูเขียนไดวิเคราะหและเปรียบเทียบองคประกอบของการสื่อสารกับการเรียนการสอน แสดงในตารางท่ี 8.1 ดงั นี้ตารางท่ี 8.1 การเปรยี บเทยี บองคประกอบของการส่ือสารกับการเรยี นการสอนองคป ระกอบ การส่อื สาร การเรยี นการสอน1. ผสู ง ผอู า นขา ว นักรอ ง นักเขยี น จิตรกร ฯลฯ ครู วทิ ยากร ผูบรรยาย ฯลฯ2. เนื้อหา ขาว เพลง ภาพ บทกลอน บทความ คาํ บทเรยี น บรรยาย ฯลฯ3. สื่อ ภาษาพูด ภาษาเขยี น สิ่งพมิ พ วิทยุ ภาษาตา งๆ ตาํ ราเรยี น วทิ ยุ โทรทัศน ฯลฯ ภาพยนตร โทรทศั น ฯลฯ4. ผูรับ ผชู ม ผูฟ ง บคุ คล กลมุ ชน ฯลฯ ผเู รยี น ผรู ับการอบรม ฯลฯ5. ผล ความเขา ใจ ไมเ ขาใจ พอใจ ไมพ อใจ ฯลฯ ความเขาใจหรือไมเขา ใจใน บทเรยี นน้นั6. ผลปอ นกลบั ย้ิม ปรบมอื หาว งว งนอน พยกั หนา ตอบ ยม้ิ ปรบมือ หาว งว งนอน พยัก คาํ ถาม ฯลฯ หนา ตอบคาํ ถาม ฯลฯ 5. องคป ระกอบของการสอื่ สารในการเรียนการสอน การเรียนการสอนเปนการถา ยทอดเนื้อหาบทเรียนจากครูผูสอนไปยังผูเรียน เพื่อทําใหผูเรียนมีความเขาใจในบทเรียนน้ันและทําการตอบสนองเพ่ือเกิดการเรียนรูข้ึน ในกระบวนการของการเรียนการสอนนั้น ตองอาศัยลกั ษณะและองคประกอบของการสื่อสารทง้ั หมดท่ีกลาวมาแลวเปนหลักในการดําเนินการ เพ่ือเกิดเปนการสื่อสารขึ้นระหวางผูสอนและผูเรียนดังนนั้ จึงนบั ไดวา การเรียนการสอนเปนกระบวนการของการส่ือสารอยางหนึ่งและมอี งคป ระกอบท่ีเปรยี บเทยี บไดก ับองคป ระกอบของการส่ือสารดังนี้ 5.1 ผูสงสาร ในการเรียนการสอน คือ ผูสอน วิทยากร หรือผูบรรยาย ท่ีตองมีความรู ความเขาใจในการเขารหัส เพื่อนาํ เน้ือหาบทเรยี นมาเขารหสั และตองตัดสินใจไดวา จะทาํการเขารหัสอยางไร เชน จะสอนโดยการบรรยาย อธิบาย หรือเปนการพูดคุยกัน จะมีการนําสื่อ

176การสอนประเภทใดมาใชประกอบเพ่ือถายทอดความรนู ้ันใหแ กผูรับสารซง่ึ ไดแ กผเู รียนใหเขาใจไดอยางชัดเจน 5.2 เนื้อหาความรู ที่สงใหแกผูเรยี น ไดแก เนื้อหาของวิชาตามหลักสูตรท่ีกําหนดไวโดยจะแบงไวเ ปน บทเรียน มกี ารเรียงลาํ ดับความยากงายเพือ่ ความสะดวกในการนํามาสอน 5.3 สือ่ หรอื ชอ งทาง ที่ใชส ง เนือ้ หาความรใู หแกผ ูเรยี น ไดแก สื่อการสอนประเภทวัสดุอุปกรณ และเทคนิควิธกี าร เพ่ือใชป ระกอบการสอนหรือเพ่ือใหผูเรียนใชเรยี นไดดวยตนเองเชน ฟลมภาพยนตร สไลด เคร่ืองฉายแผนโปรงใส โทรทัศน ชุดการสอน เกมและการจําลองในการเรยี นเหลา น้เี ปนตน 5.4 ผูรับสาร ในการเรียนการสอนไดแก ผูเรียน ซ่ึงมีระดับอายุ สติปญญา และความรูพน้ื ฐานทีแ่ ตกตางกนั ในแตล ะระดับช้ัน ทําใหมีความสามารถในการถอดรหัสแตกตางกันไปดวย 5.5 ผลที่เกิดขึ้นในการเรียนการสอน หมายถึง ผลของการเรียนรูเพ่ือแสดงวาผูเรียนสามารถเขาใจสารหรือความรูท่ีรบั มาหรือไม ถามีความเขาใจส่ิงท่เี รียนก็จะทําใหรูสึกสนุกในการเรียนและเรยี นรูเ ร่อื ง ถาไมเ ขา ใจกจ็ ะทาํ ใหเรยี นไมร ูเ รือ่ งและเกดิ ความเบื่อหนา ยได 5.6 ผลปอนกลับของผูเรยี น หมายถงึ การที่ผูเรียนตอบคําถามไดห รอื อาจจะถามคําถามกลับไปยังผูสอน หรือการท่ผี ูเรยี นมีการตอบสนองโดยแสดงอาการงวงนอน ย้ิม หรือแสดงกริยาใดๆ สงกลบั ไปยังผสู อน การรวบรวมผลปอนกลบั ของผูเรียนจดั วาเปน หนาทส่ี ําคัญอยางหนึง่ของผูสอนเพราะเปน สง่ิ ทผ่ี ูสอนจะตองนํามาวิเคราะหว าการสอนนน้ั เปนอยางไรบาง เพือ่ สามารถปรับปรงุ การสอนของตนใหด ีย่ิงขนึ้ ไป 6. รูปแบบการสื่อสารกบั การเรียนรู การเรียนรจู ะเกดิ ขึ้นได โดยท่ีผเู รยี นรับสารแลวแปลความหมายของสารคอื เน้อื หาบทเรียนนั้นใหเขาใจแลวทําการตอบสนอง ในการที่จะเกิดการเรียนรูข้ึนไดนี้ ยอมตองอาศัยกระบวนการของการสื่อสารในรูปแบบของการสื่อสารทางเดียวและการส่ือสาร สองทาง ในลักษณะของการใหส ิ่งเรา เพือ่ กระตนุ ใหผ ูเรยี นมีการแปลความหมายของเน้อื หาบทเรียนน้ันและใหมีการตอบสนองเพ่ือเกิดเปนการเรียนรูข้ึน ลักษณะของการใหสิ่งเราและการตอบสนองในการส่ือสารน้ี หมายถึง การที่ผูสอนใหสิ่งเราหรือกระตุนไปยังผูเรียนเพื่อใหผูเรียนมีการตอบสนองออกมา โดยผูสอนอาจใชการอภิปราย คําบรรยาย ภาพ สไลด ของจําลอง การสาธิต และโสตทัศนูปกรณตางๆ เปนตน หรือแมแตต วั ผูสอนเอง วิทยากร หรือผูสงเนื้อหาบทเรียนก็นับเปนสิ่งเราไดเชนเดียวกัน สวนการตอบสนองของผูเรียนไดแก คําพูด การเขียน การแสดงออกทางรา งกาย และรวมถงึ กระบวนการท้ังหมดทางดา นความคดิ เจตคติ และการเปลยี่ นแปลงพฤติกรรมตา งๆ ซงึ่ กอนที่ ผูเรียนจะมีการตอบสนองเกิดขึ้นไดน้นั ยอมจะตอ งมีการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมซึ่งกอนท่ีผูเรยี นจะมีการตอบสนองเกิดข้ึนไดน้ันยอมจะตองมีการเปล่ียนแปลงความหมายของส่ิงเรา ท่ีไดรับมาน้ันใหด เี สยี กอนวาหมายความวาอยางไร เพ่ือจะไดทําการตอบสนองไดอ ยางถูกตอง

177การเรียนรูซ่ึงอาศัยรูปแบบการส่ือสารที่เก่ียวของกับการใหส่ิงเราหรือแรงกระตุน การแปลความหมาย และการตอบสนองนัน้ มดี งั น้ี 6.1 การเรียนรูในรูปแบบการส่ือสารทางเดียว การใหสิ่งเราแกผูเรียนในรูปแบบการส่ือสารทางเดียวหรือใน การสือ่ สารระบบวงเปด (open–loop system) น้ี สามารถใหไดโ ดยการฉายภาพยนตร วีดิทศั น การใชโทรทัศน วงจรปดในการสอนแกผเู รียนจํานวนมากในหอ งเรียนขนาดใหญ หรือการสอนโดยใชวิทยุและโทรทัศนการศึกษาแกผูเรียนท่ีเรียนอยูที่บาน การแปลความหมายของผูเรียนตอส่ิงเรากอนท่ีจะมีการตอบสนองท่ีเหมาะสมนั้นนับวาเปนสิ่งสําคัญยิ่งเพราะถาขอบขา ยประสบการณของผูเรียนมีนอยหรือแตกตางไปจากผสู อนมากจะทาํ ใหการเรียนนั้นไมประสบผลสําเร็จเทา ท่ีควร เชน ในการฉายภาพยนตรใ หผูเรยี นชม ถา ภาษาท่ีใชหรือเน้ือหา ในภาพยนตรน้ันยากเกินไป ผูเรยี นอาจจะไมยอมรับและไมอยากดูภาพยนตรซ่ึงเปนสิ่งเรานั้นอันจะทําใหเกิดความไมเขาใจเน้ือหาและทําใหไมสามารถเกิดการเรียนรูได หรือบางคร้ังผูเรียนอาจจะมีความเขาใจไมถูกตองในเรื่องท่ีดูเน่ืองจากมีความรูหรือประสบการณเก่ียวกับเรอ่ื งน้ันไมเ พียงพอ การใชส่ือการสอนประเภทภาพยนตรหรือโทรทศั นในรูปแบบของการส่ือสารทางเดียวน้ีอาจจะเปนปญหาสําคัญสําหรับผูสอน เน่ืองจากผูเรียนจะไมมีการตอบสนองโดยตรงตอ สงิ่ เรานั้นไดห รอื ผเู รียนเกิดการแปลความหมายที่ผดิ ทําใหเ กดิ การตอบสนองที่ผดิ ไดในภายหลัง ถึงแมวา ผูเรียนจะมีการตอบสนองและใหผลปอนกลับก็ตามแตสวนมากแลวการตอบสนองและผลปอนกลับน้ันมกั จะไปไมถึงตัวผูสอนหรอื อาจถึงไดชามากนอกจากนี้แลว การใชการสื่อสารทางเดียวยังทําใหผูสอนเองไมสามารถทํานายการตอบสนองของผูเรียนลวงหนาไดอีกดวย ดงั ภาพที่ 8.2ผสู อน / ส่งิ เรา การแปลความหมาย ผูเ รียน / การตอบสนอง ภาพท่ี 8.2 รูปแบบของส่งิ เรา การแปลความหมาย และการตอบสนอง ดงั นน้ั การเรยี นการสอนโดยใชผ ูสอนหรือใชสื่อการสอนในรปู แบบการสื่อสารทางเดียวหรือการส่ือสารในระบบวงเปดน้ี จึงควรจะมีการอธิบายความหมายของเนื้อหาบทเรียนใหผูเรียนเขาใจกอนการเรียน หรืออาจจะมีการอภปิ รายภายหลังจากการเรียนหรอื ดูเรื่องราวนั้นแลวก็ได เพื่อใหผูเรียนมีความเขาใจและแปลความหมายในสิ่งเราน้ันอยางถูกตองตรงกันจะไดมีการตอบสนองและเกดิ การเรียนรไู ดในทาํ นองเดยี วกันดวย

178 6.2 การเรียนรูในรูปแบบการสื่อสารสองทาง การใหส่ิงเรา แกผูเรียนในรูปแบบ การสื่อสารสองทางหรือ การส่ือสารระบบวงปด (closed – loop system) นี้ สามารถใหไดโ ดย การใชอุปกรณประเภทเคร่ืองชวยสอน (teaching machine) หรือการอภิปรายกันในระหวาง ผสู อนกับผูเรียน ทั้งน้ีเพราะในสถานการณของการสอ่ื สารแบบนี้ เนือ้ หาขอ มลู ตางๆ จะผา นอยูแต เฉพาะในระหวางกลุมบุคคลที่อยูในที่น้ัน โดยถาเปนการเรียนโดยการใชบทเรียนการสอนใช คอมพิวเตอรชวยหรือการใชเครื่องชวยสอนนั้น เนื้อหาความรูจะถูกสงจากเคร่ืองไปยังผูเรียน เพื่อใหผูเรียนทําการตอบสนองโดยสงคําตอบหรือขอมูลกลับไปยังเคร่อื งอกี คร้ังหนึ่ง หรือถาเปน การอภิปรายในหองเรียนผสู อนและผเู รียนจะมกี ารโตตอบเนื้อหาความรูกัน เปนการมีปฏิสัมพันธ ระหวางกันเชนเดียวกับการใชอุปกรณก ารสอนดังกลาวมาแลว การใชการสื่อสารรูปแบบนีใ้ นการ เรียนการสอนมีขอดีท่ีสําคัญหลายประการ อาทิเชน ความฉับพลันของการใหคําตอบจากผูสอน หรือจากโปรแกรมบทเรียนท่ีวางไวเพ่ือความเขาใจท่ีถูกตองแกผูเรียน หรือการท่ีบทเรียนถูก แบงเปน สวนยอยและเสนอตอ ผูเรียนเปนลําดบั ขั้น เปนการทําใหงา ยตอการเรยี นรแู ละทําใหการ ถา ยทอดความรบู รรลผุ ลดวยดีเหลาน้ีเปนตน สว นการแปลความหมายในการเรียนการสอนในการ ส่ือสารสองทางน้ัน ในข้ันแรก ผูสอนจะเปนผูสงเน้ือหาบทเรียนไปยังผูเรียนโดยวิธีการบรรยาย หรอื โดยผานสื่อการสอนตางๆ ซงึ่ เปนสงิ่ เรา เมื่อผเู รียนไดรับเนื้อหาบทเรียนแลวก็จะทําการแปล ความหมายของเนอื้ หานั้นเพื่อมีการตอบสนองกลับไปยังผูสอน ในขั้นน้ีผูเรียนจึงกลับกลายเปนผู สงขอมูลและมีการตอบสนองเปนผลปอนกลับไปยังผูสอนซึ่งจะกลับเปนผูรับเพื่อทําการแปล ความหมายขอมูลท่ีผูเรียนสงกลับมา ดังน้ันในลักษณะของการส่ือสารสองทางน้ี ท้ังผูสอนและ ผูเรยี นจงึ เปน ผูม ีบทบาทเปนทั้งผูร บั และผูสงไดท ้ังสองอยา งเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สารเพื่อการศึกษา ประเทศไทยมีนโยบายในการนําเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร (ไอซีที) มาใชในการจัดการเรียนการสอน ดังปรากฏในหมวดท่ี 9 เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ในพระราชบัญญัติการศกึ ษาแหงชาติ พ.ศ.2542 สนับสนนุ ใหไ อซีที เปนเครอ่ื งมือสําคญั ในการปรบั ปรุงประสิทธิภาพในการจัดการเรียนการสอนของผูสอน และเพ่ิมประสิทธิผลในการเรียนรูของผูเรียน มีเปาหมายที่จะสรางทรัพยากรบุคคลในสังคมไทยใหเปนสังคมเศรษฐกิจฐานความรู (Knowledge – basedeconomy: KBE) และการเรียนรูตลอดชีวิต จุดมุงหมายท่ีสําคัญคือการเตรียมพรอมใหผูเรียนมีทักษะในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู ดังนั้น ทั้งผูสอนและผูเรียนจําเปนตองปรับเปล่ียนบทบาทของตนเองใหมีความรูและทักษะในการเรียนรูอยางมีความหมายตลอดชีวิต ซ่ึงเปนประโยชนที่จะชวยใหประเทศสามารถแขงขันกับนานาอารยประเทศไดอยางทัดเทียม ทักษะดังกลาวอาจเรียกไดวาเปนความฉลาดในดานเทคโนโลยี (TQ: Technology Quotient) ซ่ึงเปนวิทยาการสมัยใหมท่ีไดรับการยอมรบั อยา งสูง ในปจ จุบันวาสามารถเพ่ิมความสามารถในการเรยี นรูของผูเรียนได เราสามารถใชไ อซที ีในวงการศึกษาไดหลายรปู แบบ ดังน้ี

179 1. ไอซีทีเปนวิชา หมายถึง การเรียนรูเก่ียวกับไอซีทีโดยจัดเปนคอรสวิชาหนึ่งโดยเฉพาะ เนื้อหาท่ีจะเรียนในวิชานี้จะต้ืนลึกมากนอยเพียงใดขึ้นอยูกับประเภทของการศึกษาและระดับของผูเรียน เชน ผูเรียนในโรงเรียนระดับมัธยมยอมเรียนเน้ือหาไมลึกมากเทาผูเรียนในระดับปริญญาหรือผูเรียนในสถาบันดานเทคนิค การเรียนรูเก่ียวกับไอซีทีเปนการเตรียมความพรอมใหกับผเู รียนเพอ่ื ใชไ อซีทีในการศึกษาหาความรู ในวิชาชีพและชวี ติ สงั คมในอนาคต 2. ไอซีทเี ปนเคร่อื งมือ ในการเรยี นการสอนโดยตรง เปน การใชไอซที เี ปนสื่อเพื่อใหผ ูสอนใชสอนและผูเรียนใชเรียน ลักษณะการใชอาจมีอยูหลากหลายรูปแบบแตกตางกันตามเทคนิคและวิธีการสอน เชน ใชในการเรียนเพื่อฝกทักษะและปฏิบัติ (drill and practice) ใชในการจําลอง(simulations) และใชใ นเครอื ขา ยการศึกษา เปนตน 3. ไอซีทีเปนเคร่ืองมือชวย เปนการใชไอซีทีเปนเครื่องมือชวยในการทํางาน เชนการรวบรวมขอมูลเอกสาร เตรียมการสอน การทํางานคนควาวิจัย การติดตอกับผูปกครองนักเรียนเปน ตน การใชไอซที ลี ักษณะนเี้ ปน การใชง านอยา งอสิ ระจากวิชาเรยี น 4. ไอซีทีเปนเคร่ืองมือในการชวยจัดการและจัดรวบรวมโครงสรางในสถาบันการศกึ ษาเชน การใชเครอื ขายเฉพาะท่ใี นหนว ยงาน การใชระบบสารสนเทศเพอื่ การจัดการ (MIS) สํานักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย (2553) ไดใหความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารเพอ่ื การศึกษา วา คือการนําความกาวหนาของเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารมากอใหเกิดการเปล่ียนแปลงรูปแบบการเรียนรูของมนุษย โดยการนําระบบเคร่อื งมือส่ือสารตา งๆ เชน ระบบโทรศัพท ระบบโทรทัศน เขากับระบบคอมพิวเตอรท่ีตอบโตกับผใู ช ประกอบกับการใชแหลงความรูท่ีหลากหลาย จะทําใหผูใชสารมารถเรียนรูสิ่งตางๆ ดวยความสนใจ และมีศักยภาพในการลดขอจาํ กัดดานเวลาและระยะทาง กอใหเกิดประโยชนตอการเรยี นรูตลอดชีวิต ในลักษณะการเรียนรูดิจิทัล คือ การผนวกกันของทักษะความรูและความเขาใจท่ีผูเรียนตองเรียนรูเพอื่ ที่จะมีสวนรวมอยา งเตม็ ท่ี และมีความปลอดภยั ในโลกยุคดจิ ิทลั มากข้ึน การเรียนรูเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารเพื่อการศึกษา กิดานันท มลิทอง (2548)และหลักสูตรแกนกลาง พุทธศักราช 2551 มีความสอดคลองกัน สรุปไดวา โดยท่ัวไปแลวเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร จะใชเ พ่อื การศกึ ษาใน 3 ลกั ษณะ ไดแก 1. การเรยี นรเู ก่ียวกบั เทคโนโลยี (learning about technology) เปนการเรียนรูในเรอ่ื งของเทคโนโลยี ไดแ ก กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ การติดตอส่ือสาร การคนหาขอมูล การใชขอมูลและสารสนเทศ การแกปญหาหรือการสรางงาน คุณคาและผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สาร เปน ตน 2. การเรียนรูโดยใชเทคโนโลยี (learning by technology) เปนการใชเทคโนโลยีเปนเครื่องมือเพื่อการเรียนรู เชน การนําเสนอขอมูล สรางภาพกราฟก สรางานเอกสาร วิธีดูแลรักษาอุปกรณเทคโนโลยีสารสนเทศ การใชอินเทอรเน็ตเพ่ือการสืบคนและคนควาหาความรู การสรางช้นิ งานในลกั ษณะบทเรียนอเิ ล็กทรอนกิ ส เปนตน 3. การเรียนรูไปกับเทคโนโลยี (learning with technology) เปนการเรียนรูเก่ียวกับความเจริญกาวหนาของเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร ไดแก เลือกใชเทคโนโลยีอยางสรางสรรคตอชีวิต สังคมส่ิงแวดลอม และมีการจัดการเทคโนโลยีดวยการลดการใชทรัพยากร หรือ

180เลือกใชเทคโนโลยีที่ไมมีผลกระทบตอส่ิงแวดลอม สามารถประยุกตใชเทคโนโลยีใหมๆ มาใชเพื่อพัฒนาการเรยี นรขู องตนเอง สํานักเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน (2554) ไดเสนอการนําสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร หรอื ส่ือไอซที ี แบงตามลักษณะของการนาํ ไปใชในการจัดการเรยี นรวู า ในการจัดการเรยี นรขู องผูสอนนน้ั มี 2 ลกั ษณะ ไดแ ก 1. สอนโดยใชสื่อไอซีทีเปนเครื่องมือประกอบการเรียนรู ในกรณีน้ีเปนการนําสื่อไอซีทีถายทอดเน้อื หา สาระ ออกแบบการจดั การเรยี นรแู ละเปน เครือ่ งมือประกอบการสอนในรายวิชาตา งๆโดยใหผูเรียนศึกษาหาความรู สรางองคความรูและเรียนรูความรูตางๆ ผานส่ือไอซีที ที่ผูสอนผลิตผูเรียนผลิต ผูสอนและผูเรียนรวมกันผลิต หรือนําสื่อไอซีที ที่มีอยูโดยท่ัวไปบนเครือขายอินเทอรเ น็ตส่ือไอซีที ลักษณะนี้ ไดแก สื่อวีดิทัศน หนังสืออิเล็กทรอนิกส (e-book) หรือบทเรียนคอมพิวเตอรชว ยสอน เปน ตน 2. ผสู อนใหผูเ รียนไดเรียนรูการใชสื่อไอซีที และการติดตอส่ือสารดว ยสื่อไอซีทีโดยตรงสวนใหญจะใชวิธนี ้ีกับรายวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี และวิชาคอมพิวเตอร ซึ่งผูสอนสามารถจัดกระบวนการเรียนรูใหสอดคลองกับหลักสูตร มาตรฐานการเรียนรูและตัวช้ีวัด โดยผูสอนตองวิเคราะหห ลักสูตรและจัดสาระและกิจกรรมการเรียนรูใหผ เู รยี นไดเ รยี นรูวธิ กี ารใชงานโปรแกรมตา งๆและสามารถสรางชิ้นงานใหเกิดเปนผลผลิตจากการเรียนรูด วยคอมพิวเตอรไ ด โดยมีผูสอนเปนผูใหคําปรึกษา แนะนํา และประเมินผลตามสภาพจริง ผลผลิตจากการเรียนรู ไดแก การจัดทํารายงานดวยโปรแกรมประมวลผลคํา โปรแกรมตารางคํานวณ โปรแกรมฐานขอมูล โครงงานจากการเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร หรือสรา งผลผลิตในลักษณะช้นิ งานจากโปรแกรมประยุกต เชน หนงั สืออเิ ลก็ ทรอนิกส เว็บเพจ รายการโทรทศั น และคอมพวิ เตอรช วยสอน เปนตน นอกจากนี้ระบบการสื่อสารในปจ จบุ ันท่ีเอ้ืออํานวยตอการศึกษา สามารถสื่อสารระหวางผูส อนกับผูเ รยี นไดทัง้ แบบการสือ่ สารทางเดยี วและการสื่อสารสองทาง ดงั นี้ 1. การส่ือสารทางเดียว เชน การรบั ชมรายการโทรทศั นการศึกษาจากโรงเรียนไกลกังวลผานสัญญาณดาวเทียม การสอบถามผูเช่ียวชาญจากกระดานถามตอบปญหา หรือการสืบคนขอมูลสารสนเทศจากระบบสบื คนที่นิยมกันในปจ จบุ ัน เชน Google เปนตน 2. การสื่อสารสองทาง เชน การเรียนการสอนในหองเรียนเสมือนจริง ท้ังผูเรียนและผูสอนไมจ ําเปนตองอยูใ นสถานที่เดียวกัน แตผูสอนสามารถสอนสดไดโดยผานระบบประชุมทางไกลหรือการถายทอดภาพและเสียงผานโปรแกรมสําเร็จรูปทําใหรับภาพ และฟงเสียงในแบบประสานเวลาระหวา งกนั ได เปน ตนเครอ่ื งมอื ของเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่อื การส่อื สารทางการศึกษาคอมพิวเตอรเพอื่ การศึกษา คําวา คอมพิวเตอร ในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ไดใหความหมายไววา“คอมพิวเตอร น.เครือ่ งอิเล็กทรอนิกสแบบอัตโนมัติ ทําหนาท่ีเหมือนสมองกล ใชส ําหรับแกปญหา

181ตางๆ ทั้งท่ีงายและซับซอนโดยวิธีทางคณิตศาสตร (อ.Computer)” คอมพิวเตอร จึงเปน เครอื่ งจักรอิเล็กทรอนิกสท่ีสรางขึ้นเพ่ือใชทํางานแทนมนุษยในดานตางๆ ในดานงานการคาํ นวณ งานกราฟกการประมวลผล การจัดเกบ็ ขอมูล การจัดการสัญลักษณขอ มลู การเปรยี บเทียบทางตรรกศาสตร การส่อื สารอเิ ล็กทรอนกิ ส รวมถงึ ใหค วามบันเทงิ ทัง้ ภาพและเสยี ง (กดิ านันท มลิทอง, 2548) นั บ ตั้ ง แ ต ช า วจี น ไ ด ป ร ะ ดิ ษ ฐ อุ ป ก ร ณ ช ว ย ใน ก า ร คํ า น ว ณ ขึ้ น เมื่ อ ร า ว ห นึ่ งพั น ป ก อ นคริสตศักราชและตอ มาไดมผี ูสรางเคร่ืองคํานวณท่ีใชร หัสในการบันทึกขอมูล และใชบัตรในการปอนขอมูลนั้น นบั ไดวา เปนเรมิ่ แรกของการประดษิ ฐคิดคนเกยี่ วกับเครอื่ งคอมพิวเตอรเ พอื่ การใชงาน และตงั้ แตป  พ.ศ.2483 เปนตนมา ไดมีผูประดิษฐเครือ่ งคอมพิวเตอรขึ้นมามากมายหลายขนาดทําใหเปนการเร่มิ ยคุ คอมพวิ เตอรอยา งแทจริง โดยสามารถจัดแบง คอมพิวเตอรออกไดเปน 5 ยุค ดงั นี้ - ยุคแรก พ.ศ.2494-2501 : หลอดสญุ ญากาศ - ยุคทสี่ อง พ.ศ.2502-2507 : ทรานซสิ เตอร - ยุคทีส่ าม พ.ศ.2508-2512 : วงจรรวม ไอซี - ยุคท่สี ่ี พ.ศ.2513-2523 : ไมโครโพรเซสเซอร หรอื ไมโครคอมพวิ เตอร - ยุคท่ีหา พ.ศ.2524-ปจจุบนั : เปน ยุคของการพฒั นาไมโครโพรเซสเซอรท ม่ี ีความ รวดเรว็ ในการทาํ งานมากข้ึน ในการทํางานของคอมพิวเตอร เพ่ือใหไดสารสนเทศขึ้นมาน้ัน จะประกอบไปดวยกระบวนการ 4 ขัน้ ตอน คือ 1. การรับขอมูล (input operation) เปนการทํางานข้ันแรกของคอมพิวเตอรโดยจะรับขอมูลเขามา ขอมลู นอ้ี าจอยูในรปู แบบของตวั เลข ขอความ ภาพ เสียง ท่ยี งั ไมมกี ารจัดใหเปน ระเบยี บผูใชจะปอนขอมูลผานอุปกรณรบั ขอมูล เชน ตวั อักษรผานคียบอรด หรอื เสียงผานไมโครโฟน ขอมูลจะถกู แปลงใหเปน รปู แบบทีป่ ระมวลไดด ว ยคอมพิวเตอร 2. การประมวล (processing operation) เม่ือไดรับขอมูลเขามาแลว ขอ มูลนั้นจะถกู จัดดําเนินการเพื่อการประมวลผลหรือแปลงใหเปนสาสนเทศ (เชน ขอความหรือผลรวม) ตัวอยางเชนตัวเลขจะถกู บวกหรือลบเพือ่ เปนผลลัพธในการคิดคํานวณ 3. การสงออก (output operation) เม่ือไดสารสนเทศจากการประมวลผลแลว จะมีการสงสารสนเทศนั้นออกไปเพ่ือการใชงาน เชน การดูผลลัพธบนจอมอนิเตอร การพิมพผลลัพธดวยเครือ่ งพิมพ หรอื เสยี งออกทางลําโพง ฯลฯ 4. การจัดเก็บในหนวยเก็บรอง (secondary–storage operation) โดยปรกติขอมูลและสารสนเทศที่ไดมานนั้ นอกจากจะเก็บในในหนวยความจําหลักของคอมพิวเตอรแลว ยังสามารถจัดเกบ็ สาํ รองไวในหนว ยความจําสํารอง เชน ฮารด ดิกส ดิสเก็ตและแผน ซดี รี อม เปนตน กระบวนการทั้ง 4 ข้นั ตอน ในการทํางานของคอมพิวเตอร สามารถแสดงไดด งั ตอไปนี้

182รบั ขอ มลู การประมวลผล ผลลพั ธ การจัดเกบ็(Input) (Process) (Output) (Storage) ภาพที่ 8.3 การทํางานของคอมพิวเตอรอนิ เทอรเน็ตเพอื่ การศกึ ษา อินเทอรเน็ต (internet) คือ ระบบของการเชื่อมโยงขายงานคอมพิวเตอรขนาดใหญครอบคลุมไปท่ัวโลก เพ่ืออํานวยความสะดวกในการใหบริการขาวสารขอมูลสารสนเทศ เชนไปรษณียอิเล็กทรอนิกส กระดานสนทนาสด หรือกระดานขาว เปนตน โดยต้ังอยูในไซเบอรสเปซ(cyberspace) ซึ่งเปรียบเสมือนที่วางท่ีสรางข้ึนโดยระบบของคอมพิวเตอร ผูใชงานอินเทอรเน็ตสามารถเขาถึงระบบโดยผา นการส่ือสารโดยใชเกณฑว ธิ คี วบคุมการสง ผาน หรอื ถายโอนขอ มลู ระหวา งคอมพิวเตอรตามมาตรฐานอินเทอรเน็ต (TCP/IP) เราสามารถจะประยุกตใชเทคโนโลยีอินเทอรเน็ตในการศกึ ษาไดห ลากหลายรปู แบบ ดงั นี้ 1.การสืบคนขอมูล เนื่องจากอินเทอรเน็ตเปนระบบท่ีรวมเครือขายขอมูลตางๆ เขาไวดวยกัน สามารถสืบคน ขอมูลจากแหลง ตางๆ ท่ัวโลกเพ่ือการศึกษา คนควาและวิจัยในเร่ืองท่ีบุคคลสนใจทกุ สาขาวิชาเพ่ือนาํ มาใชใ นการเรยี นการสอนและการวิจัย ซ่ึงแหลงคน ควา มหี ลากหลายรูปแบบเชน การสบื คนผา นหองสมดุ อิเลก็ ทรอนกิ ส หรือ ระบบคน หาขอมลู เชน Google เปน ตน 2. การเรียนและการติดตอสื่อสาร ในการจัดการเรียนการสอน ทั้งผูเรียนและผูสอนสามารถติดตอส่ือสารถึงกันและกันไดโดยงาย การนําเสนอบทเรียนอาจนําเสนอในรูปแบบ CAIลักษณะออฟไลนหรือออนไลนก็ได เม่ือผูเรียนศึกษาเสร็จแลวหากมีคําถามหรือสงงานใหผูสอนสามารถสงกลับไปยังผูสอนไดทางไปรษณียอิเล็กทรอนิกส หรือผานระบบติดตอส่ือสารที่ปจจุบันมีรูปแบบมากมายใหเ ลือกใช 3. การเรียนการสอนเชิงเสมือน เปนลักษณะท่ีผูสอนและผูเรียน ไมไดพบปะกันในช้ันเรยี น แตสามารถทําใหเกิดการเรียนรไู ดโดยใชคอมพวิ เตอรเปนอุปกรณการเรยี นการสอนและใชการส่อื สารความเรว็ สงู ในการสงผานบทเรียนและขอ มูลสารสนเทศทางอินเทอรเนต็ จึงทําใหเ ปนลักษณะของการศึกษาทางไกล โดยผูเรียนสามารถน่ังเรียนอยูในสถานที่ใดๆ ก็ได เรียกวา การเรียนอิเล็กทรอนิกส (electronic-learning) หรืออีเลิรนนิง (e-learning) โดยจะเนนเฉพาะการเรียนการ

183สอนผา นเครอื ขายคอมพิวเตอรโดยใชเ ทคโนโลยเี ว็บในการนําเสนอบทเรียนออนไลนแ ละมีการสอ่ื สารระหวางผเู รียนและผูสอนหรอื ระหวา งผเู รยี นดว ยกันเองผานทางอีเมลและเว็บบอรด 4.หองเรียนเสมือน (Virtual classroom) โดยทั่วไปแลวหองเรียนเสมือนจะเปนสภาพแวดลอมของการเรียนการสอนท่ีใชระบบการส่ือสารผานคอมพิวเตอร ประกอบไปดวยการส่อื สารเปนกลมุ มกี ารทํางานและส่ิงอํานวยความสะดวกใน สเปซ ซึ่งใชซอฟตแวรสรางขึน้ มา เพ่ือใหเปน สภาพของ เชิงเสมอื น โดยการมีปฏิสมั พนั ธโ ตตอบกนั ระหวางผูสอนและผเู รยี นแทนที่จะเปน การพบกันทางกายภาพ ภาพท่ี 8.4 หองเรยี นเสมือนจรงิ ทม่ี า: กดิ านันท มลิทอง, 2548: 280 การเรียนการสอนลักษณะน้ี ตองมีการนัดเวลาในการเรยี นกันกอนลวงหนา เพื่อใหผูเรียนมาอยูพรอมกันและมักใชการประชุมทางไกลดวยวีดิทัศน หรือเว็บแคม ประกอบดวยเพ่ือความสมบูรณแบบในการสอน การเรียนระบบน้ีนอกจากจะมเี คร่ืองคอมพิวเตอรแลวยงั ตองมีอุปกรณแ ละวัสดุอ่ืนๆ ไดแกจอภาพ กลองวีดิทัศน ลําโพง ไมโครโฟน และซอฟตแวรใ นการรับสงสัญญาณภาพเสียงและบทเรียนท้ังในหองสอนและหองเรยี น นอกจากการสอนสดแบบประสานเวลาดังกลาวแลวยังสามารถสรางหองเรียนเสมือนในลกั ษณะของเว็บไซต ท้ังน้ีเพ่ือใหผูเรียนเขามาเรียนเน้ือหาวิชาไดเหมือนกับการเรยี นในหอ งเรียนและมีการนัดหมายเวลาลาระหวางผเู รียนและผูสอนเพื่อการสื่อสารสดไดอ ีกดวย ขึ้นอยกู บั วาจะใหค วามหมายของ หองเรียนเสมอื น วา จะมีการใชก ารประสานเวลามากนอยเพียงใด นอกจากจะใชคําวา Virtual classroom แลว อาจมีการใชคําวา webcasts และwebinars ในความหมายของหองเรียนเสมอื นอกี ดวยนวัตกรรมหอ งสมดุ นํ้าทพิ ย วภิ าวิน (2551) ไดกลา วถงึ นวัตกรรมหองสมุด สรุปไดวา ระบบงานหอ งสมดุ และระบบเทคโนโลยีที่ชวยสนบั สนนุ งานของหอ งสมุดมีความสมั พันธก ันเน่ืองจากเทคโนโลยีเปนเครอ่ื งมือการทํางานตามกระบวนการทํางานของหองสมุด มีแนวคิดในการวิเคราะหกระบวนการทํางาน

184ประกอบไปดวย การจัดหาทรัพยากร การวิเคราะหหมวดหมู การบันทึกขอมูลลงในฐานขอมูลและการบรกิ าร แสดงเปนภาพไดดงั น้ี ภาพที่ 8.5 กระบวนการทํางานของหองสมุดในปจจบุ ัน ทมี่ า: นาํ้ ทิพย วภิ าวิน, 2551: 31 กระบวนการทาํ งานของหอ งสมุดในอนาคต ประกอบไปดวยการสรางไฟลข อมูลของขอมูล(metadata) ซึ่งเปนการอธิบายคณุ สมบัตขิ องขอมลู ทแี่ บงเปนหมวดหมู หรอื กลมุ ของขอมลู เพือ่ ความสะดวกในการคนคนื เรียกการจัดการนว้ี า managing e-Resources หรอื e-Content ท้ังน้ีเน่ืองจากการจัดเกบ็ เอกสารสงิ่ พิมพส ว นใหญจะอยใู นลักษณะของไฟลดิจทิ ัล และมีการรวบรวมไวในจุดบรกิ ารคือ Knowledge Portal โดยใชเทคโนโลยีของ web 2.0 สนับสนุน ที่เรียกวา social network siteหมายถึง การบริการของเว็บที่ผูใชและเจาของมีสวนรวมในการแบงปนทรัพยากรระหวางกันและกันเชน ผูใชสามารถเพ่ิมเติมเน้ือหาท่ีตองการเช่ือมโยงกับขอมูล และดึงขอมูลของหองสมุดไปใชประโยชนไดงา ย จงึ ทาํ ใหเ กดิ เทคโนโลยี library 2.0 ขึน้ ดังภาพท่ี 8.6 ภาพท่ี 8.6 กระบวนการทํางานของหองสมดุ ในอนาคต ที่มา : นาํ้ ทิพย วภิ าวนิ , 2551: 32 สําหรับเทคโนโลยที ใี่ ชใ นหองสมดุ ในอนาคต มรี ายละเอียดดังน้ี 1. เปนระบบหอ งสมุดอัตโนมัติ โดยใชซอฟตแวรหองสมุดหรือซอฟตแ วรระบบหองสมุดอัตโนมตั ิ ที่นาํ เอาเทคโนโลยี web 2.0 มาใช

185 2. ศูนยความรู (Library Portal หรือ Web Portal) ไดแกซอฟตแ วรท ชี่ วยจัดการขอมูลจากสอื่ ทุกประเภทเพื่อใชในการคนหาขอมูลที่ตองการ โดยการสบื คนและแสดงผลท่ีหนาจอเดยี วกันลักษณะการทาํ งานคลา ย Search Engine เชน Google 3. การจัดทําสหบรรณนุกรมออนไลนและการจัดทําฐานขอมูลกลางสําหรับไฟลดิจิทัลเพ่อื ความสะดวกของผูใชใ นการสบื 4. คนขอมูลจากหนาจอเดียว โดยสืบคนจากฐานขอมูลกลางหรือฐานขอมูลของแตละหองสมดุ แนวคิดของเทคโนโลยี library 2.0 เปนความตองการใหผูใชมีสวนรวมในการสรางแลกเปล่ียนขอมูลท่ีผูใชสนใจดวยตนเอง โดยนํามาสรางเปนศูนยความรูสวนบุคคล (PersonalPortal) ซึ่งเปนแนวโนมของระบบฐานขอมูลในปจจุบันไดนําเสนอ เพื่ออํานวยความสะดวกแกผูใชที่ตอ งการสรา งเนื้อหาเอง ตองการแลกเปลี่ยนขอมูลระหวางกัน และใชขอมูล โดยนํามาเช่ือมโยงกับฐานขอ มูลในเว็บบล็อก (Web blog) ของผใู ชแตละคนคอื แนวคิดหนึง่ ของ Library 2.0 จึงกลาวไดวาWeb 2.0 + Library = Library 2.0 เน่ืองจาก Library 2.0 เปนการประยุกตใชเทคโนโลยี web 2.0ความแตกตางของ web 1.0 และ web 2.0 คือการเปล่ียนแปลงจากเวบ็ ไซตที่มุงทําธุรกิจอยางเดียวมาเปนการมงุ สรางชุมชนหรอื สังคมออนไลนมาก เทคโนโลยีท่ีใช Library 2.0 เชนเดยี วกับ web 2.0ไดแก 1. การใชพ้ืนท่แี ลกเปลี่ยนขอ มลู ระหวา งเพอ่ื น 2. การสรา งเว็บบลอ็ กของตนเอง 3. การสรา งชมุ ชนระหวา งกลมุ 4. การแลกเปลย่ี นรปู ภาพระหวา งกัน 5. การแลกเปลี่ยนภาพเคลือ่ นไหวระหวางกัน 6. การแลกเปล่ยี นแผนที่ระหวา งชมุ ชน 7. การสงภาพจากมือถอื ข้นึ เว็บ 8. การสงบทความขึน้ เวบ็ สารานกุ รมออนไลนเครอื ขายการเรียนรู การใชเทคโนโลยีเปนสื่อกลางในการเรียนรู และทําใหกลุมการเรียนรูสามารถท่ีจะกอตัวขึ้นเปนเครือขายการเรียนรู (learning network) โดยสรุปจากการศึกษางานของRich Gordon(2008), บดินทร วิจารณ (2549), ใจทิพย ณ สงขลา (2550) และเกรียงศักด์ิ เจริญวงศศักดิ์ (2543)รายละเอยี ดดังน้ี 1. การสรางหรือการกอตั้งเครือขายการเรียนรูบนสังคมออนไลน สามารถกระทําไดหลายแนวทางดวยกัน ดงั นี้ ข้นั ที่ 1 กาํ หนดกลมุ เปา หมายและวัตถุประสงค ขนั้ ที่ 2 พิจารณาเลือกเครื่องมือ เชน comments, discussion boards, blogs, Photo/video sharing, social network เปน ตน

186 ขัน้ ที่ 3 มอบหมายงานใหผูท ีเ่ หมาะสมบริหารเครือขาย ขั้นท่ี 4 การสรางแรงจูงใจการมสี วนรวม (motivate participation) โดยใชห ลักของความงาย การส่ือสารนโยบาย และความคาดหวังของเครือขาย ผูใชสามารถสรา งขอมลู สว นตัวของตนเองได (user profiles) สนับสนุนระบบสมัครสมาชิกใหม เอ้ือใหผูใชมีทางเลือกในการท่ีจะมีสว นรวมอยางหลากหลาย สรางการติดตอส่ือสารระหวางสมาชิกของเครือขายในลักษณะออนไลนและออฟไลน เปน ตน ขั้นท่ี 5 วางแผนการแกไ ขปญหาทจี่ ะเกดิ ขนึ้ (minimize unpleasantness) การสรางหรือการกอต้ังเครือขาย เร่ิมตนที่สมาชิกของเครอื ขายมีความสนใจในเร่ืองใดๆ รว มกัน มีกลุมเปาหมายและวัตถุประสงคที่ชัดเจน สวนใหญมีโครงสรางที่ไมไดเกิดจากการจัดกระทํา แตเกิดจากการไหลของการทํางาน เกิดสังคมแหงการแบงปนความรูระหวางกันขึ้นท้ังในลักษณะพบปะและใชเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือการติดตอสื่อสาร จนกระทั่งกลายเปนเครือขายในทีส่ ุด การใหเกยี รติตอกันและกนั เปนการสรางบรรยากาศเพ่ือใหเกิดการมสี วนรวมในการแลกเปลีย่ นเรยี นรู จึงเปนสง่ิ ท่คี วรสรา งใหเ กดิ ขนึ้ ในเครือขา ย 2. การเสรมิ สรา ง/การจัดการเครือขา ย เม่ือมีการสรางหรือกอตงั้ เครอื ขา ยแลว หากไมม ีการจัดระบบคอยระวังและเสรมิ สรา งความรวมมือของสมาชิกแลว เครือขายจะเร่ิมแสดงอาการของการมีปญหาเพราะจะเกิดสภาพของความสับสน วุนวายและขัดแยงระหวางกัน อาจเกิดขึ้นมาจากความไมชัดเจนของบทบาทหนาท่ี ดังน้ันควรมีการวิเคราะหเครือขายทางสังคม (social networkanalysis, SNA) ซ่ึงเปนท้ังแผนท่ีและการวัดผลของลักษณะความสัมพันธ การสงตอของงาน ขอมูลความรูในระดับของบุคคล กลุมงาน และองคกร ดังนั้นแตละโหนด (node) จะหมายถึงบุคคลหรือกลมุ คน เสน เชื่อมโยงระหวางโหนดแสดงถึงความสมั พนั ธและการสง ตอ รวมถงึ การแลกเปลี่ยนความรูทเ่ี กิดขนึ้ การวิเคราะหเ ครือขา ยมี 3 ข้นั ตอนหลกั คือ 2.1 หากระบวนการหลกั (work flow) ขององคก รและหนวยงานที่เก่ียวขอ ง 2.2 หาความเชื่อมโยงในประบวนการ เพ่ือสรางเปนเครือขาย โดยอาจใชคําถามเชน ในการทํางนตองมีที่ปรึกษา มีการแลกเปลี่ยนขอมูล มีการตัดสินใจ ฯลฯ วาไดร วมกับใคร และความถ่ใี นการติดตอ สื่อสารเปน อยางไร และมใี ครบา งเครือขายทีต่ ิดตอประสานงานดว ย 2.3 การสรางแผนที่เครือขายทางสังคม โดยการสรา งเสนเชอื่ มโยงระหวางโหนด ซ่ึงแตละเสนอาจมีรหัสสีท่ีแสดงถึงระดับของความสัมพันธ เมื่อมีแผนที่ของเครือขายทางสังคมแลว จะสามารถดําเนินการวิเคราะหเพื่อปรับปรุงในหลายๆ ดานได เชนการปรบั ทมี งานใหเหมาะสมยิง่ ข้ึนจุดไหนที่เปนจุดวิกฤติของกระบวนการก็สามารถจะตรวจสอบความเชื่อมโยงได สามารถปรับปรุงลกั ษณะงานใหเหมาะสมกับความสัมพันธทางสังคมท่ีเกิดข้ึนได ในสวนของการเสริมสรา งอาจทําดวยการใชความรวมมือเปนฐาน โดยจัดเตรียมเคร่ืองมือการสื่อสารและการนําเสนออยางเหมาะสม และตองกําหนดบทบาทหนาท่ีใหกับผูท่ีมีสวนเกี่ยวของ หากไมมีการจัดบทบาทหนาที่ของสมาชิกในเครือขายแลวอาจเกิดความขัดแยงระหวางสมาชิกเนื่องจากการทํางานที่ซํ้าซอนกัน นอกจากน้ีการสรางเอกลักษณของชุมชน เชน สรางโลโก คําขวัญสรางประวัติบุคคลและประวัติชุมชน การดําเนนิ การดงั กลา ว เปน ส่ิงหน่งึ ท่ีชว ยเสริมสรา งชุมชนใหด ํารงอยูไ ดภ ายใตค วามรว มมอื ของสมาชิก

187 3. การคงไวและพัฒนาเครือขาย ส่ิงสําคัญท่ีสุดของการคงไวซ่ึงเครือขาย คือ การใหเกียรติระหวางกันของสมาชิกภายในเครือขายการสนทนาแลกเปลี่ยนความรูระหวางกันตองเปนไปอยางสรางสรรค มีความเชื่อม่ันกันในขอมลู ท่ีไดรับ ซึ่งตองมีการพิจารณาสิ่งที่ไดรับและทําใหผูอ่ืนไดรับรเู ชนกัน เชื่อในความมีตัวตนของสมาชกิ ในเครือขาย มีการจัดกิจกรรมรวมที่ดําเนินการอยางตอ เนื่องและมีปฏสิ มั พันธ เพ่ือเปนกลไกทจี่ ะดงึ สมาชิกเขาหากนั ความยงั้ ยืนของเครอื ขา ยจะเกดิ ขึน้ ก็ตอเม่ือการที่เครือขายจัดกิจกรรมอยางตอเน่ืองจนกลายเปนแบบแผน (pattern) ของการกระทําที่สมาชิกของเครือขายยอมรับโดยทั่วกัน ตองระมัดระวังและรักษาสัมพันธภาพที่ดีระหวางกัน ตองกาํ หนดระบบจูงใจเพียงพอที่จะดงึ ดูดสมาชิกใหเ ขารวมรวมไปถึงการพัฒนาเครอื ขายใหขยายออกไปดังนั้นตองมีการวิเคราะหตัวบงชี้ถึงแรงจงู ใจท่ีแตกตาง หลากหลายในแตละบุคคล แลวจัดกลุมของส่งิ จูงใจทีใกลเคียงกันออกมาเปนกลุมๆ เชน คาตอบแทน เกียรติยศช่ือเสียง การยอมรบั ฯลฯ อันจะนําไปสูมาตรการการสรางแรงจูงใจสําหรับบุคคลในแตละกลุมอยางเฉพาะเจาะจง นอกจากน้ีตองจัดหาทรพั ยากรสนับสนุนเครือขายอยางพอเพียง เม่ือเครือขายเกิดปญหาตองใหความชวยเหลือและแกไขปญหาอยางทันทวงที อาจจัดใหมีศูนยท่ีปรึกษาเครือขาย โดยจัดใหมีผูเชี่ยวชาญ และจัดใหมีศูนยค วามรู เพ่ือทําหนาที่ศึกษา คนควาและวิจัยองคความรูเกี่ยวกับการจัดการเครือขาย โดยศึกษาจากตัวอยางเชิงประจักษของเครอื ขายท่ีประสบผลสําเร็จหรือลมเหลว ในการปฏิบัติงานจรงิ รวมถึงตองมกี ารสรางผูนํารนุ ใหมอยา งตอเนื่อง โดยการฝกอบรมใหความรแู กผนู าํ เครอื ขายใหหัวขอตางๆ ท่ีจาํ เปน เชนการจัดการประชุม การบริหารการเงิน การจดั การบัญชี การติดตามประเมินผลกจิ กรรมการสรา งแรงจงู ใจ การระดมความรวมมอื เปน ตน วงจรชวี ิตของเครือขายเร่ิมตนจากการกอ รูปของเครือขายที่สมาชกิ ที่มีความสนใจรว มกันชวยกันสรางข้ึน หรืออาจมีหนวยงาน องคกรใหความสนับสนุนอยางใกลชิด และใหคําปรึกษาชว ยเหลอื ในการจัดการเครือขาย สนับสนุน เสริมสรางใหเครือขา ยเกิดความรวมมอื กันโดยธรรมชาติภายใตบรรยากาศทเี่ ปนมิตร ใหเ กียรตซิ ึ่งกันและกัน ทั้งน้เี พ่ือธํารงไวซ่ึงการรักษาเครอื ขายใหดาํ รงอยูอยางย่ังยืน และผลักดันใหเครือขายเปนสวนหนึ่งของวิถีชีวิตท้ังการทํางานและการเรียนรูของมวลสมาชกิ ทยี่ อมรบั เครอื ขายทางสงั คมเขา มาเปนสวนหนงึ่ ของชวี ติ อยา งถาวร ใจทิพย ณ สงขลา (2550) ไดเสนอหลักการเกี่ยวกับเคร่ืองมือสนับสนุนเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สรุปวา การจัดกิจกรรมที่บุคคลไดรับการนําทางดวยผูเรียนดวยกันที่มีความชาํ นาญกวาหรือดวยสารสนเทศช้นี ําท่ดี ี ตอมากลายเปนรากฐานสาํ คญั ในการประยุกตเขา สกู ารสรางสิ่งแวดลอมของการเรียนแบบรวมมือดวยการสนับสนุนจากคอมพิวเตอร โดยเนนที่การมีปฏิสัมพันธทางการเรยี นทที่ าํ ใหผูเรยี นตอรอง ปรับเหมาะและสรางความรใู หมในบิบทของผเู รียน จึงใชสังคมเปนบริบทในการสรางความรู แนวทางคอนสตรัคติวิสตเสนอ กรอบการฝกทางปญญา(Cognitive Apprenticeship) และในสถานการณจริง (Situated Cognition) เปนการเรียนเนื้อหาสาระจากประสบการณและสถานการณจริง การใหตัวอยางและการเปนตัวอยาง การใหคําปรึกษาการสะทอนความคิด การคน ควาและเพิ่มลําดับความซับซอน รวมทั้งการปฏิสมั พันธแลกเปลี่ยนและสรา งความรดู ว ยประสบการณรวมกนั กบั กลมุ การเรียนรู แนวทางการจดั กระบวนการเรยี นรูน นั้ เนนการปฏิสมั พันธร ะหวางบคุ คล ถอื วาบุคคล คอืผูกระทํา คนหาและสรางความรใู นบรบิ ททม่ี ีความหมาย ไมส ามารถจดั ใหอ ยใู นหองเรยี นได ตอ งจัดให

188อยูภายใตสภาพแวดลอมจริงเพือ่ ใหผูเรียนเช่ือมโยงความรูอยางมีความหมาย ในบริบทของตนเองหมายถึงการเรียนแบบรวมมือดวยการสนับสนุนจากคอมพิวเตอร คือ บริบทของการเรยี น แนวทางในการเรียนรแู บบน้ี ไดแก 1. มุงทีก่ ารใหส่ิงแวดลอมเปนจริงและเสนอหลายมุมมอง ท่ีจะชวยผูเรียนผูกเชือ่ มกับความรทู ่ีมมี ากอน 2. สนบั สนุนการใชค อมพวิ เตอรเ ปนเคร่ืองมือทางปญญา ที่ชวยสนับสนุนการเรียนแบบรวมมือดวยเทคโนโลยี เพ่ือเอ้ือใหเกิดการเชื่อมโยงแลกเปล่ียนความคิดมุมมองดวยปญญาในระหวางกระบวนการกลุม 3. สนบั สนนุ การใชคอมพิวเตอรเ พ่ือชวยลดภาระงาน ที่ซ้ําซากในการปฏิบตั ิ หรอื ใชชว ยลดภาระในการจํา โดยใชการจัดการการเรยี นแบบรว มมือดวยการสนบั สนุนจากคอมพิวเตอร ทําหนาท่ีเสมือนผูช วยและผูใหจัดการแหลง ความรูแ ละขยายความสามารถทางปญญาของบุคคล เครื่องมือในการเรยี นแบบรวมมือดว ยการสนับสนุนจากคอมพิวเตอรน้ันมีซอฟทแวรอยูหลากหลาย ท่ีสามารถชวยสรางเครือขายการเรยี นรูและเอื้อตอการปฏิสัมพันธระหวางกันเพื่อการเรียนรู ซอฟทแวรเหลาน้ีมีลักษณะที่รวมกันคือ ตองสามารถท่ีชวยผูเรียนในการสืบถาม สะทอนความคิดเพ่ือใหเกิดการเรียนรูไดอยางลึกซ้ึง ตัวอยางซอฟทแวร เหลาน้ี เชน วิกิ บล็อก กระดานประกาศ อเี มล กลุมขา ว แช็ท ขอ ความดว น เครอื่ งมือในสงิ่ แวดลอมเสมือน เปนตน เทคโนโลยีเว็บ 2.0 (web 2.0) เปนเทคโนโลยีท่ีนักวิชาการไดใหความสนใจศึกษาและวิจัยอยางกวางขวาง และใหความหมายและเรียกชื่อแตกตางกันไป ตามขอบเขตและจุดมุงหมายอยางไรก็ตามคําวาเทคโนโลยีเว็บ 2.0 หมายถึงการท่ีบุคคล หนวยงานหรือสถาบันใดๆ สรางความสัมพันธทางสังคมระหวางกันในลักษณะออนไลน มีจุดมุงหมายอยางใดอยางหน่ึงโดยใชเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอรเปนสอื่ กลางในการติดตอ สอื่ สาร ยืน ภูวรวรรณ (2549) อางถึงใน นํ้าทิพย วิภาวิน (2551) กลาววา อินเทอรเน็ต ยุคท่ี 2หมายความวา ผูที่มีสวนเกี่ยวขอ งกับเครือขายอินเทอรเน็ตทุกคนทุกฝา ยไมวาจะเปนผูผิตเน้ือหาหรือผใู ชเ นอ้ื หา ตา งเขามารว มกนั ทําหนา ทแี่ บงปน แลกเปลี่ยน และเช่ือมโยงขอมูลขา วสารถงึ กันและกันเทคโนโลยี web 2.0 จึงเปนแพลตฟอรม (platform) ท่ีอาศัยอุปกรณท่ีอยูในเครือขายเปนตัวชวยทํางานให การใชงานและการประยุกตตางๆ อาศัยอุปกรณทํางานรวมกันในเครือขายท่ีเปนเนื้อเดียวกัน ทําใหการทํางานตางๆ ไมข้ึนอยูกับคอมพิวเตอรหรืออุปกรณคอมพิวเตอรของผูใช ขอมูลโปรแกรมไดรับการจัดวางไวในเครือขาย ผูใชเรียกเขาหาหรือใชงานไดทุกสถานท่ี ไมจํากัด ขอใหเขาถึงและเชื่อมตอกับเครือขายเทานั้น ขอมูลขาวสารท่ีเรียกใช มีการผสมผสานของขอมูลหลายรปู แบบได จงึ ทําใหเครือขายเหมอื นเปน แพลตฟอรมใหผ ใู ชใ ชง าน Christian Fuchs (2009) ไดเชื่อมโยงเคร่ืองมือทางสังคมบนเว็บหรือ social softwareกับพัฒนาการของเว็บ ที่เร่ิมจาก web 1.0 มนุษยเรียนรูดวยตนเองเปนหลัก สืบคนขอมูลจากเครือขายเทคโนโลยีสารสนเทศท่ีมีผูจัดเตรียมและเผยแพรไวให อาจเปนหนวยงาน องคกร หรือบคุ คลท่ัวไป ตอ มาไดมกี ารพัฒนาระบบการตดิ ตอสื่อสาร เขา สยู ุค web 2.0 ผูใชสามารถแลกเปลย่ี นขอมูลระหวางกันไดผานเครอื ขายคอมพิวเตอร เรียกไดวา web 1.0 เปนเว็บสื่อกลางของความรู ในลักษณะ read-only web สวน web 2.0 เปนเว็บที่เปนส่ือกลางของการติดตอส่ือสารแลกเปล่ียน

189ความรู ในลักษณะ read-write web ผูใชอินเทอรเน็ตสวนใหญในปจจุบนั จะคุนเคยกับการใชงานในรูปแบบน้ีจากบริการของเว็บ (web service) เชน Wiki, You tube , MySpace, Flicker , Blogเปน ตน ดงั ภาพที่ 8.7 ภาพที่ 8.7 เปรยี บเทียบพฒั นาการของ web 1.0 และ 2.0 ท่ีมา: https://wemtech.wikispaces.com เครือขายสังคมออนไลน (social network site) ไดใช web และ software เปนเครื่องมือในการติดตอส่ือสารของคนสังคมในยุคปจจุบัน (techno-social system) เพราะสังคมประกอบไปดวยความรู การสอื่ สารและความรวมมือ เมื่อเทียบกับพัฒนาการของ web แลว พบวาในชวง web 1.0 เปนการใชเครือขายคอมพิวเตอรเปนฐานในการแลกเปล่ียนความรูของมนุษยในชวงตอมาไดเปนเปล่ยี นเปนการใช web 2.0 ในการตดิ ตอสอ่ื สาร และเขา สชู วง web 3.0 ท่มี นุษยใชเปน เคร่อื งมอื ในการสรางความรวมมอื ระหวางกนั จะเห็นไดวาเว็บเทคโนโลยีจาก web 1.0 ถึง web 3.0 เปนเครื่องมือที่ชวยในการเรียนแบบรวมมือดวยการสนับสนุนจากคอมพิวเตอร (CSCL- Computer Support CollaborativeLearning) ชวยลดภาระในสวนของกระบวนการทางปญญา ทําใหผูเรียนสามารถมุงเนนการพัฒนาทักษะทางปญญาอื่นท่ีจําเปน กวา เพอ่ื บรรลผุ ลกระบวนการทางปญญาหลายๆ ดา นท่ีมีความสัมพันธกัน (ใจทพิ ย ณ สงขลา, 2550) เชน วิกิ (wiki) ใชฐานของเว็บเพื่อสรางอาศรมเสวนาในมติ ิตางเวลาทําใหผูเรียนหรือกลุม โพสตและแกไขเอกสารรวมกัน มักอยูในรูปแบบของการเรียนแบบรวมมือออนไลนและสารานุกรม สวนบล็อก (blogs/web blogs/weblog) คือ เครื่องมือสื่อสารในมิติตางเวลา ที่ใหพื้นที่ผูเรียนในการเขียนบันทึกการเรียนรูประจําวันและรวบรวมลิงคเกี่ยวกับหัวขอท่ีสนใจโดยท่ัวไปบล็อกมักจะเปนของบุคคลคนเดยี วแตอ าจจัดใหเปนการเขียนรวมโดยกลุมคนได รายการท่ีโหลดขน้ึ จะเสนอตามลําดับเวลา ส่งิ ทีใ่ หมกวาจะอยูบนสุด บล็อกเปดโอกาสใหผอู านสามารถวิจารณและติดแนบไปกับเรื่องราวที่เก่ียวของน้ัน บล็อกสวนใหญจะมีเครื่องมือสืบคนไดหรือผานเครื่องมือการจดั สง อาร เอส เอส (RSS – Really Simple Syndication or Rich Site Summary)

190 การที่ผูอานสามารถวิพากษและลิงคไปยังเว็บไซตที่เกี่ยวของได ทําใหสามารถอานตอติดตามและใชว จิ ารณญาณกับเรอ่ื งทีไ่ ดร ับการวพิ ากษไ ดง ายเทากบั วาผูอานไดป ฏสิ มั พันธโ ดยตรงตามบรรณานุกรมท่ีผูเรียนไดทําลิงคไวให สําหรับกลุมเสวนา กระดานขาวกระดานประกาศ(Forum/Discussion Board/Bulletin Board Systems) เปนเครื่องมือสื่อสารในมิติตางเวลาที่ใหผูเรียน/ผูสอน ประกาศขอความ ไฟล และสารสนเทศในพ้นื ที่สวนกลาง สมาชกิ สามารถโตตอบ หรือดาวนโหลดไฟลเหลาน้ันได การเรียงลําดับของกระดานขาวตามหัวขอ ทําใหผูอานสามารถอานเน้อื หาภายในที่เกี่ยวกับเร่อื งนัน้ ๆ ไดตามลําดับ เปนตน รูปแบบของเทคโนโลยีเว็บ (a typology ofweb technologies) ผูเขียนไดสรุปและนําเสนอเปรียบเทียบกับการสื่อสารแบบประสานเวลา(synchronous) และไมประสานเวลา(asynchronous) ดังตารางที่ 4.1 โดยมีวัตถุประสงคเพ่ือใหนักศึกษาทราบและเขาใจศพั ทเ ทคนคิ ทางดา นเทคโนโลยขี องเว็บท่ีเปนภาษาอังกฤษตารางที่ 8.2 รูปแบบของเทคโนโลยเี ว็บ (a typology of web technologies)typology Synchronous AsynchronousCognition Peer-to-peer networks Websites (o2m), Online journals(Web 1.0) For file sharing (o2m,m2m) (o2o,m2o,o2m) Alternative online publishing (e.g. lndymedia, Alternet, o2m,m2m),Communication Chat (o2o, o2m, m2m) Online archives (o2m,m2m),e-portfolio (web 2.0) Instant messaging (o2m), Internet radio/pod casting (o2o,o2m), (o2m),social bookmaking (o2m,m2m), Voice over ip social citation (o2m,m2m), electronic (o2o,o2m,m2m) calendar (o2m),Real Simple Syndication Video conferencing (RSS,o2m) systems (o2o,o2m,m2m) E-mail (o2o,o2m), Mailing-list (m2m), Bulletin board systems (usenet,m2m), Web-based discussion boards (m2m), Blogs (o2m,m2m),Video blogs (v-blogs)/photo blogs (o2m,m2m)Group blogs (m2m), Social network service (e.g. online dating and Friendship service like Myspace, o2o), social guides(o2m, m2m), mobile telecommunication (e.g. SMS and cellular [hones; o2o,o2m),online rating, evaluation and recommendation

191ตารางที่ 8.2 (ตอ ) Synchronous Asynchronous typology system (e.g. trip advisor, eBay- and Amazon Market Place-user ratings, listing of similar items at Amazon, o2m, m2m)Co-operation Multi User Dungeons Wikis (m2m),Shared workspace (web 3.0) (MUDs) (o2o, o2m, m2m), system (e.g. BSCW) MUDs Object-Oriented (m2m),Asynchronous groupware (MOOs)(o2o, o2m, m2m) (m2m), knowledge communalities Graphical worlds (o2o, (e.g. Wikipedia) o2m, m2m),MMORPG (Massive Multiplayer Online Role playing Games,O2o, o2m, m2m)Synchronous groupware (collaborative real-time Editing shared whiteboards, shared application programs, m2m)ทมี่ า: Christian Fuchs, 2009: 7หมายเหตุ : o2o คอื one-to-one, o2m คอื one-to many, m2m คือ many-to-many จากความคิดเห็นของนักการศกึ ษาดังกลา วขางตน สรปุ ไดวา เทคโนโลยีเว็บ 2.0 หมายถึงการที่บุคคล องคกร หนว ยงาน หรือสถาบันตางๆ รวมตัวกันโดยมีความสนใจในเร่ืองราวเดียวกัน มีกิจกรรมท่ีทําอยูคลายกัน หรืออยูในอาชีพเดียวกัน ที่ใชเทคโนโลยีเปนสื่อกลาง โดยมีระดับความสัมพันธกันตั้งแตการแลกเปลี่ยนขอมูลและความรู หรือติดตอสื่อสารในลักษณะเหมือนการมีปฏิสัมพันธทางสังคม แตไมไดพบกันจริง จนไปถึงระดับการสรางความรวมมือระหวางกันในการดาํ เนนิ กิจกรรมใดกจิ กรรมหนง่ึ Rich Gordon (2008) ใหความหมายเกี่ยวกับ (Social network site) วา เปนบริการที่ใชเว็บเปนฐาน (web-based services) ท่ีอนุญาตใหผูใชสรา งงานเพ่ือเผยแพรใ นลักษณะสาธารณะและก่ึงสาธารณะภายใตระบบของตนเองสามารถแลกเปล่ียนขอ มูลกับผูอนื่ และเชอ่ื มตอกับระบบของ

192ผูใชอ่ืนได เชน Myspace, Face book โดยลักษณะของ web จะมีความหมายท่ีครอบคลุมมากกวาคําวา Word Wide Web คือ techno-social information network ซึ่งถือเปนเครื่องมือท่ีชวยใหบุคคลท่ีเก่ียวของในเครือขายมีปฏิสัมพันธตอกันและกัน รวมถึงการแลกเปลี่ยนขอมูลสารสนเทศระหวางกัน Anderson and Elloumi (2004) กลาววา เปนสิ่งที่ยากที่จะนิยามความหมายคําวาonline learning เน่ืองจากข้ึนอยูกับเทคโนโลยีท่เี ปล่ียนแปลงไป อาจใชค ําวา e-learning, internetlearning, network learning, tele-learning, virtual learning, computer assisted learning,web-base learning และ distance learning คําท่ใี ชเ รยี กเหลา นี้ลวนมีความหมายโดยนยั วา ผูเรยี นอยูหางไกลจากผูสอนหรือติวเตอร ชองทางในการติดตอสื่อสารระหวางกันผูเรียนจะใชเทคโนโลยีคอมพิวเตอร และอนิ เทอรเ น็ตในการเขา ถึงแหลง เรียนรู ผูเขียนไดศึกษาเอกสารคูม ือ How to use social software in higher education ของiCamp Project ซ่ึงไดเผยแพรออนไลนในเว็บไซต http://www.icamp.eu พบวาโครงการดังกลาวไดบูรณาการเทคโนโลยี web 2.0 สนับสนุนการเรียนการสอน ใชเคร่ืองมือที่เรียกวา socialsoftware แบงกิจกรรมออกเปน 6 กลุม ไดแก การติดตอสื่อสาร (communication) การเผยแพรและแลกเปล่ยี น (publish & sharing) ความรวมมือ (collaborative) การจัดการกระบวนการเรยี นรูของตนเอง (self-organization of the learning process) การสรางเครือขายทางสงั คม (creatinga social network) และการสบื คน อนิ เทอรเ นต็ (searching the net) รายละเอียดดังนี้ตารางที่ 8.3 แสดงกิจกรรมและเคร่อื งมือ social software ทใี่ ชโ ครงการ iCampกิจกรรม Social software1. การตดิ ตอ ส่ือสาร (communication) - การสงขอความ (instant messaging systems) - การประชมุ ดวยภาพและเสยี ง (Skype) - เว็บเพ่ือการประชมุ (flash meeting) - ลักษณะของกจิ กรรม(scenarios) - mentoring between buddies - virtual office hours - group discussions - remote guest speakers - collaborative work groups - lectures

193ตารางท่ี 8.3 (ตอ) กจิ กรรม Social software2. การเผยแพรแ ละแลกเปล่ยี น - blogs and feedback (publish & sharing) - e-learning course - tutorial3. ความรว มมือ (collaborative) - video wiki4. การจัดการกระบวนการเรยี นรขู อง - blogs and feedback / group blog scenarioตนเอง ( self-organization of the - Google calendar / docslearning process) - Doodle5. การสรา งเครือขายทางสงั คม (โปรแกรมเลอื กวนั ประชุมทเ่ี หมาะสมท่สี ุด สาํ หรับสมาชกิ กลมุ ) (creating a social network) - ระบบ personal learning contracts6. การสบื คน อนิ เทอรเน็ต - weblogs for conversation learning diaries - tutorial : blog (searching the net) ทีม่ า: http://www.icamp.eu - scuttle : a social bookmaking service - myentity (personal network) - objectspot (meta-search engine) - SQL แนวคิดในการเรียนรูของโครงการ iCamp คือ การสรางสภาวะแวดลอมในการเรียนรูของผูเรียน (personal learning environments: PLEs) ดังน้ันสภาพแวดลอมในการเรียนรูของผเู รยี นแตละคน รวมถงึ กระบวนการพัฒนาการเรยี นรูภายในตนเอง จะมีความแตกตางกันมาก ดังนน้ัiCamp จึงใหผูเรยี นแตละคนสรางประสบการณการเรยี นรูต ามท่ตี นเองประสงค โดยอาศัยเครื่องมือSocial software ตวั อยางดังภาพท่ี 8.7

194 ภาพที่ 8.7 personal learning environments: PLEs ท่ีมา: iCamp, 2008: 106 Wood & Smith (2005) และกิดานนั ท มลทิ อง (2548) กลา ววา Computer-mediatedcommunication (CMC) หรือการส่ือสารผานคอมพิวเตอร เปนทางเลือกใหมในการสื่อสารผานเครือขายโดยใชเทคโนโลยีคอมพิวเตอรเปนส่ือกลาง สามารถรับสงขอมูลมัลติมีเดียไดทั้งตัวอักขระภาพน่ิง ภาพเคลื่อนไหวและเสียง การสื่อสารในอินเทอรเน็ตกระทําไดหลากหลายรูปแบบ เชนไปรษณียอิเล็กทรอนิกส (e-mail) เพ่ือสงขอมูลถึงกันโดยการพิมพความความและสามารถแนบไฟลภาพและไฟลเสียง การสนทนาสด (chat) โดยใช net meeting และ msn messenger เพ่ือพิมพขอความโตตอบกันทันที การใชคอมพิวเตอรเพื่อการส่ือสารสามารถนํามาใชเปนสื่อในการเรียนการสอนท้ังในหองเรียนปกตแิ ละการศึกษาทางไกลในลักษณะการเรียนอิเล็กทรอนิกส หรอื e-learningดว ยสมรรถนะทางดานการสื่อสารน้ี จงึ สามารถส่ือสารผา นคอมพิวเตอรในลักษณะประสานเวลาและไมประสานเวลา ถาเปนในลักษณะประสานเวลา ผูเรียนทั้งหมดจะลงบันทึกเปดเขาไปยังเว็บไซตเดยี วกันและในเวลาเดียวกันเพือ่ รับและตอบสนองตอขอมูลขาวสารหรือบทเรียน หากเปนลกั ษณะไมประสานเวลา ขอมูลหรือบทเรียนจะถูกสงไปยังเครื่องบริการเครือขายเพ่ือใหผูเรียนเขามาเปดอานและตอบกลบั เมื่อใดก็ไดใ นเวลาท่ีสะดวกโดยการใชอีเมล ผูเ ขียนไดวิเคราะหและเปรยี บเทยี บตวั อยา งการสื่อสารแบบเผชิญหนากับการสื่อสารผา นคอมพวิ เตอร ตามตารางที่ 4.3 ดังน้ี

195ตารางที่ 8.4 เปรยี บเทยี บตวั อยางการส่อื สารแบบเผชญิ หนา กับการสือ่ สารผา นคอมพิวเตอรการส่ือสารแบบเผชญิ หนา การสอ่ื สารผานคอมพิวเตอร(face-to-face communication) Computer-mediated communication- การใหคําปรกึ ษา (mentoring) - อีเมล (e-mail)- การสอนในชน้ั เรยี น (classroom) - บล็อก (blog)- การประชมุ (conferences) - วิกิ (wiki)- การพบปะ (meeting) - กลมุ เสวนา/กระดานขา ว/กระดานประกาศ (forum/discussion board/bulletin boardฯลฯ ฯลฯ ใจทิพย ณ สงขลา (2550) กลา วถึงการมปี ฏิสัมพันธทางการเรยี น(learning interaction)ในการเรียนอิเล็กทรอนิกสตามลักษณะการปฏิสัมพันธดวยการใชคอมพิวเตอรเปนสื่อกลางบนเครือขายการเรียนรู โดยใหความหมายวา CMC คือ การปฏิสัมพันธระหวางบุคคลกับคอมพิวเตอร(human to computer) และการปฏิสัมพันธระหวางกลุมหรือบุคคล โดยอาศัยคอมพิวเตอรเปนชองทางการสื่อสาร (human to human) สามารถจาํ แนกลักษณะของการปฏิสัมพันธทางการเรียนอิเล็กทรอนิกสเปน 2 ลักษณะ ไดแก การปฏิสัมพันธระหวางผูเรียนกับเนื้อหาสาระ (learner-content interaction) และการปฏิสัมพันธระหวางผูเรียนดวยกันและผูสอน (learner-learner-instructor interaction) Anderson & Elloumi (2004) กลาวถึง ความสัมพันธทางสังคมออนไลน สรุปไดวาบทบาทของผูสอนและติวเตอรในสภาพแวดลอมของการเรียนการสอนออนไลน คือ การสรางบรรยากาศในการเรยี นการการสอน ท่สี นับสนุนการเรียนการสอนออนไลน โดยพฒั นามาจากแนวคิดของ Garrison, Anderson และ Archer (2000) ซง่ึ ไดใ หค วามหมายวา เปน ความสามารถของผูเรยี นที่จัดการตนเองดานสังคมและอารมณ ในชุมชนแหงการสืบสอบ เพ่ือใหเกิดการเรียนรูอยางมีความหมายซงึ่ ผูเ รียนตอ งมีความพรอมในองคป ระกอบการเรยี นรู 3 ดาน ดังภาพที่ 8.8

196 Social Supporting Cognitivepresence presence discourse Educational Selecting experience content Setting climate Teaching presence (structure/process) ภาพที่ 8.8 รูปแบบความสัมพนั ธท างสังคมออนไลนใ นชมุ ชนสืบสอบ ทีม่ า: Gredler, E., 1997: 275 จากภาพรปู แบบมอี งคประกอบที่มคี วามสัมพันธ 3 ประการไดแก (1) ความรู (cognitivepresence) (2) สังคม (social presence) และ (3) การสอน (teaching presence) การเรียนและการสอนในสภาพแวดลอมออนไลน ที่มุงเนนการสนับสนุนความตองการของผูเรียน เหมือนกันกับสภาพแวดลอมในการเรียนการสอนแบบอื่น องคประกอบแรกน้ัน ผูเรียนตองมีระดับความรูอยางเพียงพอ มีทักษะการคิดอยางวิจารณญาณ ความพรอมดานความรูน้ีจะเปนพื้นฐานสําคัญในการเรยี นรูเน้ือหา องคป ระกอบที่สองเปนการสรา งความรูสึกปลอดภัยและมั่นใจทางสังคมออนไลน ใหกับผเู รียนในการใหความรวมมือในการแสดงความคิดเห็น หากขาดความรูสึกเชนน้ีแลวผูเรียนจะไมกลาโตเ ถยี ง แลกเปล่ียนความคดิ เห็น หรือยอมรับความชวยเหลือจากผูสอนและผูเช่ียวชาญ องคประกอบการสอน ซ่ึง Garrison, Rourke, Anderson และ Archer (2001) อางใน Terry Anderson (2004)อธิบายวา ประกอบดว ยบทบาทสําคัญ 3 ประการที่ผสู อนตองมีความพรอ ม เพื่อใหเ กิดประสิทธิภาพในการสอน คือ

197 1. การออกแบบและจัดประสบการณการเรียนรู (design and organization of thelearning) 2. การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพ่ือสนับสนับการเรียนรูระหวางผเู รียนกับผูเรียนระหวางผสู อนกับผเู รยี น ผเู รยี นกบั กลุมผูเรียน รวมถงึ แหลงการเรียนรู 3. บทบาทในการสอนในฐานะผดู ําเนินการ (moderating) ในการจัดประสบการณการเรียนรูใหกับผูเรียน ในรูปแบบการสอนท่ีหลากหลาย บทบาทของผูสอนในระหวางการดําเนินการเรียนการสอนออนไลน ไดแก (1) บทบาทผูสอน (2) บทบาททางสังคม และ (3) บทบาทในการจดั การและบทบาทในทางเทคนิค รายละเอยี ด ดงั นี้ 3.1 บทบาทผูสอน (instructor) เปนผูที่ใชเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสเพื่อสงผานเนื้อหาไปยังผูเรียนและทําหนาท่ีเปนผูชี้แนะแนวทางการเรียนรู โดยการจัดสิ่งแวดลอมกระตุนใหผูเรียนเกิดการเรียนรูดวยส่ือในรูปแบบตางๆ เชน การกําหนดเน้ือหา การจัดลําดับและผนวกรวมเน้ือหา การเลือกส่อื ท่ีนําเสนอเนื้อหา เชน ไฟลวีดิทัศน กราฟก ภาพชนิดตางๆ เปนตน รวมถึง การเลือกเคร่ืองมือสื่อสารประกอบการเรียน เชน อีเมล กระดานขาว รวมถึง การสรางกิจกรรมการปฏิสัมพันธทางการเรียนท่ีกระตุนการสะทอนความคิด ชี้นําจดุ สนใจ ควบคุมดูแลการเรียนและการสือ่ สารใหอ ยูใ นกรอบเปาหมายของการเรยี นรู การแนะนาํ ใหการประเมนิ ผลและการใหผลปอนกลบั 3.2 บทบาททางสังคม (social role) ทําหนาท่ีเสมือนแกนนําประสานความสัมพันธภายในกลุมการเรียนใหเกิดขึ้นเชนเดียวกับการเรียนในหองเรียน แตมีความละเอียดซับซอนตางมิติจากการเรียนในช้ันเรียน เปนเครือขายการเรียนรู (learning network) ตองสรางความรูสึกใหกับผูเรียนในบรรยากาศของความเปนสังคม เชน แสดงความเอาใจใสและมีผูสอนอยูรวมตลอดกระบวนการเรียนอยูเสมอ เทคนิควิธีการ เชน การสรางกลมุ พบปะสังสรรคในระบบออนไลนคาเฟการสนทนาหรือลิงคไปยังเว็บไซตสวนตัว เปนการสนับสนุนใหมีขอสนทนาท่ีไมเปนทางการ ผูสอนควรสรา งความสัมพันธกําลังใจดวยการโตตอบเปนรายกลุมหรือบุคคลในประเด็นท่ัวไป และแสดงความใสใ จเมอ่ื พบวาผเู รยี นขาดการเรยี นอยางตอเนอ่ื งหรอื การเชญิ ผทู มี่ ีชอ่ื เสยี งหรอื นักวชิ าการที่กลุมผูเรียนใหความสนใจเพอ่ื การพบปะในรปู ของการสื่อสารตางเวลาหรอื ออนไลน 3.3 บทบาทในการจัดการ (management role) หมายถึง การที่ผูสอนตองกําหนดโครงสรางของรายวิชา กิจกรรม ชวงเวลาพบปะ เกณฑการประเมินและการตัดเกรด รวมถึงการปรับปรงุ ทบทวนแกไขรายวิชา เทคนิควิธีการคือ ผูสอนตองทําหนาท่ีประสานหรือมอบหมายภาระงาน อธบิ าย ใหความกระจางในงานแตละชิน้ รวมทง้ั ใหความชวยเหลืออื่นๆ เชน การจัดกลุม อํานวยความสะดวกในการสงงาน การจัดกระดานขาว การใหคําปรึกษา หรือหองเสวนาออนไลนเพื่อชวยตอบคาํ ถาม เปน ตน 4. บทบาทดานเทคนิค (technological role) ไดแก การจัดความพรอมของผูเรียนเลือกคอรสแวรและระบบท่ีงายตอผูเรียน ตองปฐมนิเทศผูเรียนในดานเทคนิคการใชและสรางความคุนเคยใหกับผูเรียน และเตรียมแผนรองรับปญหาเม่ือเทคโนโลยีเกิดขอบกพรอง อาจบันทึกบทเรียนไวในซีดีรอม สําหรับการสื่อสารออนไลนพรอ มกันของผูเรยี นที่มีจํานวนมาก ผูสอนอาจแยกเปน กลุม โดยมเี ครอื่ งเซริ ฟเวอรแยกกัน เพอ่ื ปองกันระบบลม

198 การที่ผูสอนการจัดสภาพแวดลอมเชิงสังคมใหกับผูเรียนดังกลาวทาํ ใหผูเรียนสรรคสรางความรูอยางมีความหมายและตรงกับประสบการณของผูเรียนน้ัน มีความสอดคลองกับงานวิจัยของSolari & Coats (2009) ท่ีคนพบวากระบวนการเรียนรจู ะเรม่ิ ซบั ซอ นมากขน้ึ เม่ือบคุ คลตง้ั แตส องคนขึ้นไปมีปฏิสัมพันธตอกัน เมื่อปฏิสัมพันธมีปริมาณมากข้ึนและเกิดกลุมขึ้นมาก็จะมีแบงหนาท่ีกันทํางาน (cooperation) แตยังไมเกิดการเรียนรูทางสังคมข้ึน จนกวาจะถึงระดับที่มีการรวมมือกันทาํ งานเปน ทมี โดยผานการติดตอ ส่อื สารระหวางกันในการแลกเปล่ยี นเรียนรใู นลักษณะประสานเวลาและไมประสานเวลา ดังตัวอยางท่ีไดสรางเครือขายนักการศึกษาเพื่อแลกเปล่ียนกันในการจัดการเรียนการสอนนักศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา ระหวางมหาวิทยาลัยปกก่ิงและมหาวิทยาลัยเทกซัสโดยผา นการรวมมอื กันออนไลน (online collaboration) ใชระบบการสอ่ื สารแบบประสานเวลาและไมป ระสานเวลามีโครงสรางของเครอื ขายออนไลน ดงั ภาพท่ี 8.9 ภาพที่ 8.9 โครงสรา งของการจดั การเรียนการสอนโดยผา นการรว มมือกนั ออนไลน ที่มา: Solari and Coats 2009: 8 ดังน้ันลักษณะสําคญั ของการเรียนอิเลก็ ทรอนิกสบนเครือขายการเรียนรู คือการท่ีผูเ รียนผูสอนไมจําเปนตองไดพบปะกันในช้ันเรียนจริง แตสามารถสื่อสารถึงกันผานเน็ตเวิรค ไมวาดวยขอความ เสียง หรือภาพ แตเนื่องจากเทคโนโลยีการส่ือสารผานเน็ตเวิรคไมสามารถสรางใหเกิดความสัมพันธหรอื สังคมไดดวยตนเอง ผูสอนตองออกแบบและทําใหเกิดการปฏิสัมพันธทางสังคมขึ้นเพื่อกระตุนใหผูเรียน ระหวางผูเรยี นดวยกัน รวมถึงผูที่เกยี่ วของ ติดตอส่อื สารระหวางกนั อยางมั่นใจและรูสึกปลอดภัยที่จะแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหวางกันอยางเปดเผย เปนการสรางความสัมพันธอันเปนปจจัยท่ีสงเสริมใหเกิดแรงจูงใจทําใหเกิดการเรียนรรู วมกันในสิ่งแวดลอมเดียวกัน เกิดภาวะ

199ของการชว ยเหลือเกือ้ กูลกัน เปรียบเทยี บซ่ึงกันและกัน ทําใหนาํ ไปสูความสําเร็จในกจิ กรรมการเรียนนนั้ ๆ ดังภาพที่ 8.10 ภาพที่ 8.10 การสรรคส รา งความรโู ดยการเพิ่มการเรียนรูทางสังคม ท่ีมา: Solari and Coats 2009: 8การจดั การความรใู นช้ันเรยี น อรจรีย ณ ตะกั่วทุง (2549) และ นํ้าทิพย วิภาวิน และนงเยาว เปรมกมลเนตร (2551)ไดกลาวถึงการจัดการความรู ในชั้นเรียนและองคกร สรุปไดว า แนวคิดและแนวปฏิบัติเก่ียวกับการจัดการความรเู กิดข้ึนและแพรหลายไปในองคก รตางๆ ทั่วโลกตั้งแตทศวรรษที่ 1990 และยอมรับวาแนวคิดการจัดการความรู เปนกระบวนการใหมที่ชวยใหองคกรสามารถแขงขันกับผูอ่ืน และสรางนวัตกรรมใหมๆ ของตนเอง ใหเปนองคก รท่ีมีคุณภาพ ถือวาเปนเปาหมายของทุกองคกร ที่ตองการเพิ่มประสทิ ธิภาพของการทํางาน ตามพระราชกฤษฎกี าวาดวยหลกั เกณฑ และวิธีการบริหารกิจการบานเมืองท่ีดี พ.ศ.2546 มาตรา 11 กําหนดไววา \"สวนราชการมีหนาท่ีพัฒนาความรูในสวนราชการเพื่อใหมีลักษณะเปนองคกรแหงการเรียนรูอยางสมํ่าเสมอ โดยตองรับรขู อมูลขาวสาร และสามารถประมวลผลความรูในดานตา งๆ เพื่อนํามาประยุกตใชในการปฏิบัติราชการไดอยางถูกตอง รวดเร็วและเหมาะสมตอสถานการณ รวมท้ังตอ งสงเสรมิ และพฒั นาความรู ความสามารถ สรางวิสยั ทัศนแ ละปรับเปลยี่ นทัศนคตขิ องขาราชการในสงั กัด ใหเปนบุคลากรที่มปี ระสิทธิภาพ และมีการเรยี นรรู ว มกัน\"องคกรแหง การเรียนรู เปนท่ีซ่งึ บุคลากรแตละคน แตละกลุม และท่ัวทงั้ องคกร ท้ัง 3 ระดับน้ี มีอิสระในการเรียนรู สามารถสรางความรูที่หลากหลายรวมกัน แบงปนความรู เพ่ือเพิ่มพูนสมรรถนะและศักยภาพที่จะกอใหเกิดความกาวหนาในการดําเนินกิจการไปสูเปาหมายอยางตอเนื่อง โดยเฉพาะอยางยง่ิ ในระดบั กลมุ ทีม่ ีการแลกเปล่ยี นเรยี นรูม ากที่สดุ

200 บุคลากรในองคกรแหงการเรียนรู จะตองมีวินัย 5 ประการ คือ 1) คิดอยางเปนระบบครบวงจร (system thinking) 2) ไฟแรง ใฝรู คูศักยภาพ (personal mastery) 3) รับรูภาพลักษณโลกรอบตัวอยางถูกตอง (mental models) 4) สรางวิสัยทัศนรวมกัน (building shared visions)และ 5) เรยี นรรู ว มกันเปน ทีม (team learning) (Senge อางถึงใน อรจรยี  ณ ตะกั่วทุง , 2549: 21) เม่ือนําแนวคิดการจัดการความรูในองคกรดังกลาว มามององคกรที่เปนชั้นเรียนหรือหองเรียนท่ีประกอบไปดวยผูสอนและผูเรียน ซึ่งเปรียบไดกับองคกรท่ีตองไดรับการพัฒนาเชนเดียวกัน ดังรูปแบบการจัดการความรูในชั้นเรียนที่ อรจรยี  ณ ตะก่ัวทุง ไดนํากลยุทธการจัดการความรูมาใช ในรายวิชาการออกแบบสารเพื่อการเรียนการสอน ระดับบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาเทคโนโลยีการศกึ ษา คณะครศุ าสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย นําเสนอรปู แบบฯ ดังภาพท่ี 8.11 ภาพที่ 8.11 รปู แบบการจัดการความรูในชนั้ เรยี น ที่มา: อรจรยี  ณ ตะกว่ั ทุง, 2549: 23 จากภาพที่ 8.11 แสดงถึงหองเรยี นแหงการเรียนรู ท่ีใชกลยุทธในการจัดการความรู โดยใชวิธีแลกเปล่ียนเรียนรูระหวางกัน โดยในสัปดาหแรกของการเรียนผูสอนจะระดมความคิดเห็นของผูเรียนวามีความคาดหวังในการสรา งหองเรยี นในรูปแบบดังกลาวใน 5 ประเดน็ ไดแก (1) บรรยากาศในการเรียน (2) การแลกเปลี่ยนเรยี นรู (3) การสรางความรู/ นวัตกรรม ซ่ึงเปนผลผลิตของรายวิชา(4) ผูเ รียนจะมลี ักษณะการเรียนรูอยางไรภายหลังการเรยี นรจู ากหองแหงการเรียนรูแลว และ (5) ทั้งผูเรียนและผสู อนสามารถรว มกนั สรา งวัฒนธรรมในชั้นเรียนอะไรบาง ผลท่ีไดรับจากการทดลอง โดยเปรียบเทียบความคาดหวังกับสิ่งที่เกิดข้ึนจริงกับนิสิตท่ีเรยี นครบหลักสูตรแลว ปรากฏวา นิสิตสว นใหญเห็นวาการเรยี นแบบนี้ ทําใหพวกเขากลาคดิ ส่ิงทไ่ี มเคยคิดมากอน กลาแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับงานของผูอ่ืนมากข้ึนและเห็นวาผลงานของตนเองและของเพ่ือนเปนงานที่มีคุณคา เปนประโยชนตอวงการเทคโนโลยีการศึกษา และตองเผยแพรใหกวางขวาง สรุปไดวาการท่ีผูสอนใหอิสระผูเรียนในการพัฒนาความเชี่ยวชาญของเขาดวยตัวเขาเอง

201โดยการกําหนดส่ิงที่ตอ งเรียนรู ใหโอกาสแสวงหาความรูแ ลวนํามาแลกเปลี่ยนกันในชั้นเรียน ใหเขาเปนผูสอนแทนการเปนผูเรียนใหมากที่สุด จะชวยทําใหเกิดการเรียนรอู ยางแทจริง เพื่อตอยอดไปสูบุคลากรขององคกรยคุ องคกรแหง การเรยี นรูแนวทางการจัดการเรียนรโู ดยใชเทคโนโลยสี ารสนเทศเพอื่ การส่อื สารทางการศึกษาการจัดการเรียนรแู บบผสมผสาน การจดั การเรยี นรูแ บบผสมผสาน (Blended learning / hybrid solutions) เปนกลยทุ ธการจัดการเรยี นรูที่เนน ผูเรยี นเปนศูนยก ลางและมีสวนรว มในการเรียน รวมทั้งการแลกเปล่ียนความรูความคิดระหวางผูเรียนกับผูเรียน ผูสอน รวมถึงผูเช่ียวชาญ ท่ีสามารถเขารวมกิจกรรมออนไลนไดรวมถึงการเอื้อประโยชนตอผูเรียนที่มีภาระความรับผิดชอบในหนาท่ีการงานและครอบครัว แตยังตองการท่ีจะมีปฏิสัมพันธกับเพื่อนรวมช้ันและผูสอน นอกจากนี้ยังชวยเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดการคาใชจ ายใหมีประสิทธภิ าพมากยิ่งขึ้น (Increase Cost Effectiveness) เนื่องจากการจัดการเรยี นรใู นรูปแบบน้ีจะทาใหม ีกลมุ เปาหมายทก่ี วางขวางย่งิ ขนึ้ ในเวลาอันรวดเรว็ โดยยังคงคณุ ภาพของการเรยี นรไู วไ ด (จินตวีร คลา ยสังขแ ละประกอบ กรณกี จิ , 2552) 1. ความหมายของการจดั การเรยี นรแู บบผสมผสาน Magaret Driscoll (2002) ใหความหมายของการเรยี นการสอนแบบผสมผสาน ดงั น้ี 1.1 การรวมเอาเทคโนโลยีบนเว็บ (Web-based technology) เชน หองเรียนเสมื อน (Live virtual classroom) การเรียน รูตามความกาวหนาของตนเอง (Self-pacedInstruction) การเรียนแบบรวมมือกัน (Collaborative learning) สตรีมม่ิงวิดีโอ (Streamingvideo) เสยี ง (Audio) และตํารา (Text) เพื่อมุงผลสําเร็จตามเปา หมายของการจัดการเรยี นรู 1.2 เปนการรวมเอาศาสตรการสอนท่ีหลากหลาย ไดแก แนวคิดคอนสตรัคติวิสตแนวคิดของกลุมพฤติกรรมนิยมหรือแนวคิดของกลุมปญญานิยม มาทําใหผูเรียนเกิดการเรียนรู โดยทั้งใชและไมใชเ ทคโนโลยี ตรงกับแนวคดิ ของ Charles Graham วาการเรยี นการสอนแบบผสมผสานเปนแนวโนมในการเรยี นการสอนของอนาคต 1.3 เปนการรวมเอาเทคโนโลยีการสอนตางๆ เชน วิดีโอเทป ซดี ีรอม การฝก อบรมผานเว็บ ภาพยนตรเปนตน รวมกับการเรียนท่ีมีผูสอนในชั้นเรียน แนวคิดนี้ไดร ับการตอบสนองเปนอยางดี 1.4 การรวมเอาแนวคิดแบบที่หน่ึงและแบบที่สามเขามารวมกัน คือ เปนการรวมยุทธศาสตรการจัดการเรียนรทู ี่หลากหลายดวยส่ือท่ีหลากหลายท้ังจากการเรยี นในชนั้ เรียนและจากการเรียนแบบออนไลน และยุทธศาสตรท ี่นํามาใชผ สมผสานตอ งเปนสิ่งที่ดี โดยการผสมผสานน้ัน จะเปนการนํายุทธศาสตร วิธีการ และรูปแบบการสงความรูท่ีหลากหลายมาบูรณาการเขาไวดวยกันในการจัดการเรียนรู

202 Bonk and Graham (2006) ใหความหมายของการเรยี นการสอนแบบผสมผสาน วา เปนระบบการเรียนรูท่ีผสมผสานการเรียนในชั้นเรียนและการเรียนดวยเทคโนโลยีคอมพิวเตอร โดยนําขอ ดขี องการเรียนทง้ั ๒ รปู แบบ มาผสมผสานกันเพื่อใหการจดั การเรยี นรเู กิดประสทิ ธิภาพสงู สุด Rachel Van Noord (2007) กลาววา การเรียนแบบผสมผสาน เปนการผสมผสานระหวางการอบรมแบบออนไลนและแบบพบปะกนั สามารถสนองตอบตอความตอ งการในการเรยี นรูของเจา หนา ที่บรรณารกั ษ ในการเรียนแบบรวมมือออนไลน เปนหนทางหนึ่งที่ใหพวกเขาไดม โี อกาสไดคุนเคยกันในชั้นเรียน ซงึ่ เปนจุดเดน ของการเรยี นแบบผสมผสาน และมีเคร่ืองมอื ท่ใี ชสนับสนุนการอบ รมหลากหลาย เชน web conferencing Wikis และการเรียน ดวยตนเอง (self-pacedtutorials) นอกจากนี้ ไดนําเสนอกรณีศึกษาจากหองสมุด ท่ีประสบกับความสําเร็จในการฝกอบรมพนักงานโดยใชมิติของการเรยี นแบบผสมผสาน (blended learning modes) ใจทิพย ณ สงขลา (2550) กลาววา การเรียนแบบผสมผสาน หมายถึงการใชยุทธวิธีการเรียนรู ท่ีใชคอมพิวเตอรเปนสอื่ หลกั และอาจครอบคลุมการใชเทคโนโลยีหรอื สื่อทกุ ชนิด ไดแก วิทยุภาพยนตร โทรทศั น หรือสิ่งพมิ พ รวมทั้งการสอนในหอ งเรียน สําหรับสัดสวนของการผสมผสาน (Blended Learning Ratio) ระหวางการเรียนการสอนแบบออนไลนและในชั้นเรียนแบบปกติน้ัน ปรัชญนันท นิลสุขและ ปณิตา วรรณพิรุณ (2556) ไดเสนอวา การจัดการเรียนรูแบบผสมผสานตองคํานึงถึงสัดสวนระหวางการเรยี นแบบเห็นหนา (faceto face) ระหวางผูเรียนกับผูสอนกบั การเรยี นรูแบบออนไลนผานระบบอินเทอรเน็ต เพราะเปนส่ิงท่ีระบุไดถึงการผสมผสานวาเหมาะสมหรือไมกับการเรียนในแตละวิชาแตละประเภท สัดสวนการผสมผสานยังไมมีการยืนยันแบบแนวต้ังหรือแบบแนวนอนเหมาะสมกับวิชาประเภทใด ขณะท่ีการจดั การเรียนรูแบบผสมผสานกลับมกี ารนําไปใชมากขึ้นในยคุ ที่การเรยี นรูแบบออนไลนม มี ากข้ึน แตก็ยังตองพึ่งการพบปะเห็นหนากันอยูดวยเชนกัน สัดสวนการผสมผสานในการเรียนรูจึงเปนเรื่องที่นาสนใจศกึ ษาตอไป ในปจจุบันมักนิยมแบงสดั สวนอยูใ นระดบั 50:50 หมายถึง เปนการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนออนไลน รอยละ 50 ของการจัดการเรยี นการสอนท้ังหมด และสอนแบบปกติในชั้นเรยี น รอยละ 50 หรือ 70:30, 80:20 เปน ตน 2. การออกแบบการเรยี นแบบผสมผสาน การออกแบบการเรียนแบบผสมผสานเปนการออกแบบตามสมรรถนะของเทคโนโลยีซง่ึ มีความเหมาะสมแตกตา งกันไปในแตละบริบทและสถานการณ ดว ยวิธกี ารทห่ี ลากหลาย เชน 2.1 การเรียนแบบพบปะกันจริง เชน การบรรยาย การใหคําปรึกษา การสัมมนาการสัมมนาเชิงปฏิบตั ิการ การฝกอบรมระหวางปฏิบัติงาน การทํางานเปนกลุม การสรางแบบอยางและชมุ ชนนกั ปฏบิ ัติ (Communities of Practice) เปน ตน 2.2 การเรียนแบบรวมมือในมิติประสานและตางเวลา เชน การใหคําปรึกษากระดานอภิปราย การบรรยาย อีเมล วอยซ-เมล กลุมสนทนาออนไลน การประชุมทางไกลดวยภาพและเสยี งผานคอมพวิ เตอร การใชห อ งเรยี นเสมือน 2.3 การเรียนดว ยการช้ีนําตนเอง ไดแ ก โมดลู การเรียน สถานการณจําลอง กิจกรรมการคนควา การเรียนแบบคนพบ การจําลองในสิ่งแวดลอมเสมือน ดวยการใชส่ือ วิดีโอ เสียง

203ซอฟทแวร ออนไลนหรือ ซีดี / ดีวีดี สมุดฝกปฏิบัติ การเขียนบันทกึ ออนไลนเพื่อสะทอนการเรียนรูการสืบคน 2.4 การใชระบบสนับสนุนการปฏิบัติงาน เชน ระบบชวยเหลือ ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ เอกสาร ฐานขอ มูล / ความรูระบบการชว ยเหลอื ในการตดั สินใจ 3. ปจจยั ท่ตี องคาํ นงึ ในการเรียนแบบผสมผสาน ควรคํานึงถงึ ปจ จัยตางๆ ดังตอ ไปน้ี 3.1 ปจจัยดานผูเรียน ไดแก จํานวนผูเรียน ทักษะทางเทคโนโลยีของผูเรียนความสามารถในการเขาถึงเทคโนโลยีและอินเทอรเน็ต ลักษณะการเรียนรู (learning styles) ชวงระยะเวลาของผเู รยี น ความพรอ มและยดื หยนุ ของเวลาของผูเรียน และแรงจูงใจของผูเรยี น 3.2 ปจจัยดานลักษณะของเน้ือหาหรือสาระความเปนรูปธรรมชัดแจงของเน้ือหา(explicit) ความทนั สมัยและคงทนของเนือ้ หาทีจ่ ะใชในการเรียนรู สาระหรือความรเู นนดานพทุ ธพิสัยจิตพสิ ยั หรือทักษะพิสยั ซงึ่ อาจทําใหเ กิดความจําเปนในการใชหอ งปฏบิ ัตกิ าร 3.3 ปจจัยดานเทคโนโลยีเหมาะสมกับทองถ่ินน้ันๆ การตัดสินใจเลือกเทคโนโลยีท่ีเหมาะสม จะตองพิจารณาความจําเปนและความเหมาะสมของแหลงการผลิต ทักษะและทรพั ยากรในทีมงานผลติ สภาพทางเศรษฐกจิ ของทองถิ่น และเงือ่ นไขของเวลาในการผลิตเน้ือหา รวมท้ังวธิ กี ารเผยแพร 3.4 ปจจัยดานคาใชจาย ในบางคร้ังแมวาลักษณะของการปฏิสัมพนั ธทางการเรียนมีความซับซอนสมควรท่ีตองใชการปฏิสัมพันธท่ีมีผูเรียนเก่ียวของแทนที่การใชเพียงเทคโนโลยี แตงบประมาณในการจัดการเรียนการสอนนั้น ยังคงเปนปจจัยสําคญั ทท่ี ําใหการออกแบบการเรียนแบบผสมผสานเกิดขนึ้ ตามความเหมาะสม จนิ ตวรี  คลายสังขแ ละประกอบ กรณีกิจ (2552) ไดสรุปการจดั การเรียนรูแบบผสมผสานวา มีองคประกอบท่ีสําคัญ 4 สวน ประกอบดวย (1) บทเรียนอิเล็กทรอนิกส (2) ระบบจัดการการเรียนรู (3) การติดตอสอื่ สาร (4) การประเมินผลการเรยี น เม่ือนําองคประกอบทงั้ สี่มาประกอบเขาดวยกันแลว ระบบจะทาํ งานประสานกันไดอ ยางลงตัว ท้ังน้ีผูออกแบบการเรยี นการสอนจะตองคํานึงถึงศาสตรดานการศึกษาแลวนําคุณสมบัตแิ ละแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวขอ งมาบูรณาการเพื่อการจัดการเรียนรูท่ีเหมาะสม เชน การจัดการเรียนรูที่เนนใหผ ูเ รียนเปน ผสู รางความรดู วยตนเอง ไมวาจะเปน การเรียนรูโ ดยใชโ ครงการเปนหลกั และการเรียนรูโดยใชป ญ หาเปนหลกั เปน ตน หลกั การพื้นฐานสาํ คญั สําหรบั การเรียนการสอนแบบผสมผสานในปจจุบนั และแนวโนมในอนาคต จะประกอบดวย 5 สวนหลัก (รายละเอียดไดน ําเสนอในบทท่ี 5) ไดแก (1) ทฤษฎีการเรียนรู(2) ทฤษฎีระบบ (3) ทฤษฎีการติดตอสื่อสาร (4) รูปแบบการเรียนการสอน และ (5) หลักการศึกษาทางไกล

204 ใจทิพย ณ สงขลา (2550) อธิบายวา การเรียนอิเล็กทรอนิกสเปดโอกาสใหมีการปฏิสัมพันธดวยการสื่อสารในมิติประสานเวลาที่ผูเรียนหรอื ผูสอนตองออนไลนพรอมกัน และในมิติตา งเวลาที่ผเู รยี นหรอื ผสู อนไมจําเปน ตอ งออนไลนพรอ มกนั การสื่อสารในมิติตางเวลา ใหโอกาสผูเรียนส่ือสารความคิดไดในเวลาท่ีตองการ และผูเรียนอ่ืนสามารถติดตามความคิดนั้นๆ ในเวลาที่สะดวก เคร่อื งมือหลักๆ ไดแก อีเมล กลุมขาวกระดานขาว การสํารวจและประเมิน รวมทั้งบล็อก และวิกิ ประโยชนของการสื่อสารในมิติตางมีขอจํากัด เวลานี้ใหความยืดหยุนที่ทุกคนสามารถจัดเวลาใหกับการส่ือสารได ผูเรียนสามารถเขาสูระบบตามเวลาที่ตนเองสะดวก การสื่อสารในมิติตางเวลามีคุณสมบัติในทางที่เปนประโยชนและขอจาํ กัด ดงั ตอ ไปนี้ตารางที่ 8.5 การเปรียบเทียบขอไดเปรยี บและขอจํากัดของการส่ือสารในมิตติ างเวลาขอไดเ ปรียบของการสอื่ สารในมิติตางเวลา ขอ จาํ กัดของการสือ่ สารในมิติตา งเวลา1. ลดขอจํากัดของเวลาและสถานท่ีของผูรวม 1. ความลาชาของเวลา กิจกรรมใดๆ ตองใชเวลาส่ือสารเหมาะสมกบั กลมุ ผูเรยี นอยใู นภมู ิสภาพและ ในการปฏิสัมพันธ โตตอบใหผลปอนกลับ ซ่ึงอาจเขตเวลาทีแ่ ตกตางกันหรือเหมาะกับกลมุ ผเู รียนท่ีมี ทําใหเกิดการผัดผอน เลื่อน ทําใหผูเรียนอาจหยุดตารางเวลาทาํ งานท่ีตางกัน หรือลมเลิกการเรียนไปในที่สุด ถาไมมีผูสอนคอย ควบคุมหรือไมมกี ารกาํ หนดเวลาการสง2. ใหโอกาสการสะทอนความคดิ การส่ือสารในมิติ 2. ขาดบริบทของภาษาทาทาง ผูเรียนท่ียังใหมในตางเวลาใหโอกาสผเู รียนมีสวนรวมในการส่ือสาร บริบทที่ไมพบปะกันจรงิ อาจรูสึกไมคุนเคยในการไดม ากกวาการเรียนแบบพบปะกันจรงิ หรอื ในการ ส่อื สารที่ขาดภาษาทา ทาง จะตองระมัดระวงั การใชสือ่ สารแบบประสานเวลา เน่ืองจากผูเรยี นมโี อกาส ขอความในการส่ือสารใหตรงหรือใกลเคียงกับกลน่ั กรองความคิดและภาษากอนทําการส่อื สาร ความหมายหรือความรสู กึ ที่ตอ งการทส่ี ดุ3. ใหโอกาสความเทาเทียมกันในการมีสวนรว มในการสื่อสารในมิติตางเวลา เปดโอกาสใหผูเรียนที่เรียนชากวาผูอ่ืน มีโอกาสทบทวนเน้ือหา ศึกษาเพิ่มเติม4. ใหค วามคลองตัวในเชงิ เทคโนโลยี การสื่อสารในมิติตางเวลานี้มักจะเปนขอความ มีขนาดท่ีเล็ก ไมจําเปนตองใชแบนดวิทธที่กวางหรือซอฟตแวรเพิ่มเติมมากนกัทม่ี า: ใจทพิ ย ณ สงขลา, 2550: 85 การส่ือสารในมิติประสานเวลา ตองกําหนดใหผูเรยี นหรือผูสอนออนไลนใ นเวลาที่ตรงกันเพื่อการส่ือสารในเวลาพรอมกัน ประสิทธิภาพของเคร่ืองมือการส่ือสารไดขยายไปถึงการรวมใชกระดานอิเล็กทรอนิกส เคร่ืองมือการนําเสนอ เครื่องมือการควบคุม เชน การยกมือ การอนุญาต

205ใหผลปอนกลับ การควบคุมเสียง/ภาพ การทดสอบการหย่ังคะแนนเสียง การแยกกลุมออกเปนกลุมยอย เทคโนโลยีการสงขอความแบบทันที (instant messaging technology) การส่ือสารดวยเสียงหรือภาพ การประชุมทางไกลดวยวีดีโอ การสื่อสารในมิติประสานเวลาคุณสมบัติในทางที่เปนประโยชนแ ละมีขอ จาํ กัด ดงั ตอ ไปน้ีตารางที่ 8.6 การเปรยี บเทยี บขอ ไดเ ปรียบและขอ จํากดั ของการส่อื สารในมิตปิ ระสานเวลาขอไดเปรียบของการสอื่ สารในมิติประสานเวลา ขอ จาํ กัดของการสื่อสารในประสานเวลา1. ใหความเปนปจจุบัน การส่ือสารในมิติ 1. ขอจํากัดเร่ืองของเวลา การสื่อสารในมิติประสานเวลาเปดโอกาสใหผูเรียน ช้ีแจง ประสานเวลามีเง่ือนไขของเวลาที่ผูกมัดใหความคดิ แลกเปล่ียน ใหผลปอนกลับซง่ึ กันและ ผูเ รียน/ผูสอนตอ งออนไลนพรอ มกนั ซ่งึ อาจเปนกันไดใ นทันที และยังสามารถแยกเปนกลุมยอย ขอยุงยากสําหรับผูรวมสนทนาท่ีอยูในเขตของเพ่อื ใหเกดิ การประชุมไดอ ยางมีประสิทธภิ าพ เวลาทต่ี างกันมาก2. ลดขอจํากัดความหางไกลของผูเรยี น/ผูสอน 2. เหมาะสมกับการปฏิสัมพันธในชวงเวลาที่และกลุมผูเชี่ยวชาญ การสื่อสารในมิติประสาน จํากัด การสื่อสารในมิติประสานเวลาเหมาะกับเวลาชวยใหผูสอนหรือผูเชี่ยวชาญสามารถเขา ชวงระยะ ส้ั น ห าก น าน เกิน ไป ระ ดั บ ข องรวมการประชุมจากที่ใดก็ได ทําใหเกิดความ ประสิทธิภาพจะลดลง ตางกับในหองเรียนปกติคุมคาในเร่ืองของการใชเวลาและคาใชจายใน ซ่งึ ระดับการปฏิสมั พนั ธมักขึน้ อยกู ับผูสอนท่ีมีกลการเดนิ ทาง ยทุ ธ เทคนคิ หรอื จัดกิจกรรมทีด่ งึ ดูดผูเ รยี นไวไ ด3. สรางแรงจูงใจใหกับผูเรียน การส่ือสารในมิติ 3. ตองใชเทคโนโลยีท่ีทันสมัย การสื่อสารในมิติป ระ ส า นเวล า ให ค วาม รูสึ ก จู งใจ แ ล ะ ได ประสานเวลาตองอาศัยเทคโนโลยีที่ทันสมัยความรูสึกสมบูรณไดมากกวาการส่ือสารในมิติ ฮารดแวรท่ีมีประสิทธภิ าพและแบนดวิทธท่ีกวางตางเวลา เนื่องจากใหความรูสึกที่คูสนทนาได จึงทําใหการส่ือสารเปนไปไอยางราบร่ืนและปรากฏรวมอยูในเวลาเดยี วกัน มีรับการโตตอบ สําหรับผูเรียนใหมๆ มักมีความรูสึกกังวลกับปฏิสมั พันธไ ดเ สมอื นเชน การพบปะกันจริง อุปสรรคหรอื ปญหาทางเทคโนโลยีท่ีอาจเกิดขึ้น ในระหวา งการสื่อสารทมี่ า: ใจทพิ ย ณ สงขลา, 2550: 86 จากตารางเปรียบเทียบ ที่ 2.3 และ 2.4 การเปรียบเทียบขอไดเปรียบและขอจํากัดของการส่ือสารในมิติประสานเวลาและตา งเวลา จะเห็นไดวาการส่อื สารท้ังสองมติ ิ ตางมีขอไดเปรยี บและขอ จํากัด ในแงมุมท่ีตางนั้นกเ็ อื้อประสานประโยชนต อผสู อนและผูเรยี น ซ่ึงข้ึนอยูกับความรว มมือกันในการเรียนรขู องผูเรียนกบั ผเู รยี น และผเู รียนกับผสู อนจะตกลงและจัดเวลาในการเรียนการสอน การเรียนการสอนแบบผสมผสาน

206 ประโยชนข องการเรยี นการสอนแบบผสมผสาน 1. ประโยชนดานผูเรียน ไดแก การสนองตอบตอสภาพการเรียนการสอนของประเทศไทยที่ผูเรียนยังตองการการเผชิญหนากับผูสอน รวมถึงขอจํากัดในการเขาถึงทางเทคโนโลยีและอินเทอรเน็ตของผูเรียน (technology divide) ชวยเสริมลักษณะลีลาการเรียนรู (learning styles)โดยคงแบบเดิมไวและพัฒนาผูเรียนไดเรียนรูในสภาพแวดลอมใหม ชวยแกไขปญหาดานชวงระยะเวลาของผูเรียนกับผูสอน และผูเรียนกับผูเรียนทีมีความแตกตางกันในดานมิติของเวลา เอ้ือประโยชนตอ ความพรอ มและยดื หยุน ของเวลาของผูเรยี น สง ผลใหเกดิ แรงจงู ใจในการเรยี นของผเู รียน 2. ประโยชนดานลักษณะของเน้ือหาหรือสาระความเปนรูปธรรมชัดแจงของเนื้อหา(explicit) ความทนั สมยั และคงทนของเนื้อหาท่จี ะใชใ นการเรียนรู สาระหรือความรเู นนดานพทุ ธพสิ ัยจิตพิสัย หรือทักษะพิสัย ซ่ึงอาจทําใหเกิดความจําเปนในการใชหองปฏิบัติการ การเรียนแบบผสมผสานจะชวยแกปญ หาน้ไี ด 3. ประโยชนดานเทคโนโลยีเหมาะสมกับทองถ่ินนั้นๆ การเรยี นการสอนแบบผสมผสานจะเปนรูปแบบที่ชวยใหการตัดสินใจเลือกเทคโนโลยีไดอยางเหมาะสม ตามความจําเปน ทักษะของผูสอนและผูเรียน ความสามารถในการผลิตสื่ออิเล็กทรอนิกส และเอ้ือประโยชนตอสภาพทางเศรษฐกิจของทอ งถิน่ และเง่อื นไขของเวลาในการผลติ เนอ้ื หา รวมทง้ั วธิ กี ารเผยแพร ขององคก ร 4. ประโยชนดานคาใชจาย การปฏิสัมพันธทางการเรียนท่ีมีความซบั ซอนและส้ินเปลืองคาใชจ า ยมาก จากการใชเทคโนโลยี แตงบประมาณในการจัดการเรียนการสอนนน้ั การออกแบบการเรียนแบบผสมผสาน สามารถท่ีจะกระทําไดเพ่ือเกิดการเรียนการสอนท่ีมีความเหมาะสมกับงบประมาณขององคกรท่มี อี ยูการจดั การเรยี นรแู บบหอ งเรียนกลับดาน หองเรียนกลับดาน เปนนวัตกรรมการศึกษา ท่ีมีความตองการใชหองเรียนใหเกิดคุณคาแกผเู รยี น เพื่อใหเกิดการเรียนรแู บบรอบรู โดยผูสอนปรบั เปลย่ี นวิธีการเรียนรูผา นสอ่ื เทคโนโลยี ผคู ิดคนคือ Bergman และ Sams ครูชาวอเมรกิ ัน ซ่ึงไดเผยแพรหนังสือชอื่ Flip Your Classroom : ReachEvery Student in Every Class Every Day โดยเนนการเรียนท่ีบาน แลวกลับมาทําการบานท่ีโรงเรียน ซ่ึงการเรียนท่ีบานคือการเรียนรูกับวิดีโอ ผานเครือขายคอมพิวเตอร เน้ือหาละ 15 นาทีจากน้ันบันทึกความรทู ี่ได และต้ังคําถาม 1 คาํ ถาม เพื่อนํามาแลกเปล่ียนเรียนรูกับเพ่ือนในช้ันเรียนสาํ หรบั กิจกรรมในชั้นเรยี น ผูสอนจะจัดกิจกรรมใหกับผเู รียนท่ีเหมาะสมกบั ความแตกตา ง คือ ผเู รียนที่เรียนเกง ปานกลาง และออน สําหรับผูเรียนที่เกง มีความเขาใจในบทเรียน สามารถทําการบานไดผูสอนจะนาํ เสนอเน้ือหาเพืม่ เตมิ และมอบการบานที่มรี ะดับความยากทีม่ ากข้นึ หรือมอบหมายใหสอนเพื่อน กลุมผูเรียนปานกลาง ผูสอนจะสรุปเนื้อหา หรืออธิบายใหผูเรียนมีความเขาใจมากข้ึนจนสามารถทําการบานได และมีเวลามากพอที่จะชวยสอนซํ้าหรือย้ําทําความเขาใจใหกับกลมุ ผูเรียนที่เรยี นออนจนสามารถทําการบานไดสําเรจ็ ลลุ ว งไปไดเชน กนั ดังน้ันการเรยี นในชั้นเรยี นของผเู รยี นและผูส อนจงึ มีความหมายและเกดิ ความสาํ คญั ที่ทําใหผ ูเ รยี นเกดิ ทักษะการเรยี นแบบรอบรู

207 เม่ือเปรียบเทียบการจัดการเรียนการสอนในหองเรียนแบบเดิมและตามแนวคิดแบบหองเรยี นกลบั ดานทจี่ ะนํามาประยกุ ตใ ช ในการเรยี นการสอน สามารถแสดงไดดังตารางที่ 8.7ตารางที่ 8.7 เปรียบเทียบการจัดการเรียนการสอนในหองเรียนแบบเดิมและตามแนวคิดแบบหองเรียนกลับดา นหอ งเรยี นแบบเดมิ หอ งเรียนแบบกลับทางกิจกรรมนําเขาสบู ทเรยี น 5 นาที กิจกรรมนําเขาสบู ทเรยี น 5 นาทีทบทวนการบานและงานคนควาที่มอบหมาย 20 ถาม – ตอบ – สรุป จากการดูส่ือการเรียนการนาที สอน เชน วดิ ีทัศน อีบุกส บทเรียนอิเล็กทรอนิกส ผานเครือ่ งมือทางสังคมและเว็บไซตรายวิชา 10 นาที โดยใชเน้ือหาที่บันทึกการเรียนรูจากแบบ cornell noteบรรยายเนอ้ื หาใหม 1 ช่ัวโมง กจิ กรรมฝกปฎบิ ัติเพ่อื ฝกทกั ษะ 2 ชวั่ โมงฝกทกั ษะ 45 นาที มอบหมายกิจกรรมการเรียนรูจากส่ือการเรียน การสอนผานเครอื ขายสังคมและเว็บไซตรายวิชา ในสัปดาหต อ ไปมอบหมายงานคนควาและใหแบบฝกทักษะเพ่ือเปน การบา น 10 นาทีการจดบันทกึ การเรียนแบบ cornell note วิจารณ พานิช (2556) กลาวถึงการบันทึกการเรียนโดยใชแ บบ cornell note ในหนงั สือการสรางการเรียนรูสูศตวรรษท่ี 21 ในประเด็นของการเรียนรูยุค ICT สรุปไดวาผูสอนควรกลับทางการเรยี น โดยใหผเู รยี นเรียนทฤษฎีท่ีบา น แลว มาทําการบานท่ีโรงเรยี น เพ่อื ประยุกตใชความรใู หเกิดทักษะ โดยผูสอนเปนผจู ุดประกาย ยุยง สงเสริม ผูสอนชวยเหลือเม่ือมีปญหา ใชว ิธีเรียนรวมกับเพื่อนและสอนเพื่อน หลักการคือใหผูเรียนเรียนจากวิดีโอและส่ือตางๆ โดยใชเทคโนโลยีท่ีหลากหลาย เชน โทรศพั ทมือถอื โทรทัศน วิทยุ ผูสอนตองแนะนําวิธเี รียนจากสื่อเหลานี้ใหกบั ผูเรียนระหวางดู ผูสอนจะใหผเู รียนจดวาสวนสําคญั ของเน้ือหาคอื อะไร หากไมเขาใจในสวนใดของเนอื้ หา ก็สามารถหยุดหรือดซู ํ้าใหมไ ด หรืออาจจะดูหลายรอบ ข้ึนอยกู ับวาผเู รียนอยูในกลมุ เกง ปานกลางหรือออน วิธกี ารจดบันทึก จะใชแ บบบันทกึ cornell note ดงั ภาพ เมอื่ ผูเ รยี นบันทกึ เสรจ็ และกลับเขาชน้ัเรียน

208 ภาพที่ 8.12 แบบบันทึก cornell note ท่ีมา: การสรา งการเรียนรูสศู ตวรรษท่ี 21,2556: 49 บทสรุป การใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารเพื่อการศึกษา มีวัตถุประสงคเพ่ือตองการจะสรา งคนในสังคมไทยใหเ ปน สังคมเศรษฐกิจฐานความรแู ละการเรียนรตู ลอดชวี ิต สิง่ สาํ คัญคือผูสอนและผูเรียนตองมีทักษะในการใชคอมพิวเตอร และอินเทอรเน็ต ทําใหการจัดการเรียนการสอนทนี่ ําไอซที ีมาประยกุ ตใช เกิดประโยชนก ับผูเรียนมากที่สุด ในบทน้ีไดนําเสนอนวัตกรรมหอ งสมุดท่กี าวเขาสูชวงเปล่ียนแปลงจากระบบเดมิ ไปสูระบบอัตโนมัติ ที่ใชเทคโนโลยีของเวบ็ 2.0 ชวย ทําใหเกดิ แนวคิดของเทคโนโลยี library 2.0 ที่ผูใชม สี วนรว มในการสรางและแลกเปลยี่ นขอมูลระหวางกันทําใหเกิดเครือขายการเรียนรูในสังคมออนไลนข้ึน ในปจจุบันมีซอฟทแวรท่ีหลากหลายท่ีเปน

209เคร่ืองมือสนบั สนนุ การเรยี นรูบนเครือขายอนิ เทอรเน็ต นอกจากน้ผี ูเ ขียนไดช ้ีใหเห็นถงึ การนําแนวคิดและรูปแบบการจัดการความรูในช้ันเรียน พรอมกับนําเสนอวิธีการทดลองและผลการทดลองใชรูปแบบดังกลาว โดยผูสอนใหอิสระผูเรียนกําหนดสิ่งที่ตองเรียนรู และแสวงหาความรูแลวนํามาแลกเปลี่ยนกันในช้ันเรียน ชวยพัฒนาใหผูเรียนมีคุณลักษณะของบุคคลแหงการเรียนรูขององคกรตอไป


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook