Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Satriwitthaya 2 Study [E-Book]

Satriwitthaya 2 Study [E-Book]

Published by Swift Tyler, 2021-06-25 07:49:23

Description: Satriwitthaya 2 Study [E-Book]

Search

Read the Text Version

โรงเรียนสตรวี ทิ ยา ๒ ในพระราชูปถัมภส์ มเดจ็ พระศรีนครินทราบรมราชชนนี ขอแสดงความยนิ ดีและต้อนรบั ลกู ๆ ระดบั ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ ๑ และระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ทุกคนท่พี ยายามสุดกาลังความรู้และความสามารถจนผ่านการสอบคัดเลือกเข้าสู่ครอบครัวสตรีวิทยา ๒ ได้สาเร็จ ภายในร้ัวขาวแดงแห่งนี้ ลูก ๆ จะขึ้นช่ือว่าเป็น “ลูกพิกุล” ของสมเด็จพระศรีนครินทราบรม- ราชชนนี ซง่ึ พระองคท์ รงรับโรงเรยี นไว้ในพระราชูปถัมภ์นับเปน็ พระมหากรุณาธิคุณของ“ลูกพิกุล” อย่าง หาท่สี ดุ มไิ ด้ จึงขอใหล้ ูก ๆ ทกุ คนจงภาคภูมิใจในเกยี รติภูมสิ งู สดุ นี้ เป็นเวลากว่า ๔ ทศวรรษท่ีโรงเรียนได้สร้างช่ือเสียงจนเป็นที่ยอมรับทั้งในระดับชาติและ นานาชาติ ภายใต้การนาของผู้อานวยการโรงเรียนต้ังแต่อดีตจนถึงปัจจุบันที่ต้ังใจพัฒนาจากโรงเรียน เล็ก ๆ ที่ใช้ศาลาการเปรียญวัดสาครสุ่นประชาสรรรค์สาหรับจัดการเรียนการสอนจนมาเป็นโรงเรียน คุณภาพช้ันนาท่ีมีขนาดใหญ่ที่สุดในทุกวันนี้ และได้รับความร่วมมือจากคณะครูที่เป็นกาลังสาคัญใน การอบรมดูแลด้วยความรักและส่งั สอนลูก ๆ ให้ประสบความสาเร็จจากรุ่นสู่รุ่น รุ่นพี่หรือศิษย์เก่าจึงเกิด ความรักและศรทั ธาต่อสถาบันเป็นอย่างยิ่ง ดังจะเห็นได้จากการช่วยเหลือและการมีส่วนร่วมทุกกิจกรรม ของโรงเรยี น ด้วยเกียรติภูมิ ความรัก และความศรัทธาดังกล่าว จึงเกิดเป็นหลักสูตร “สตรีวิทยา ๒ ในพระ ราชูปถัมภ์ฯ ศึกษา” ข้ึน สอดคล้องกับตัวชี้วัดสาระท้องถ่ิน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน เพื่อให้ลูก ๆ ได้เรียนรู้ประวัติความเป็นมาของโรงเรียนในประเด็นต่าง ๆ และเพ่ือสร้างความรักและ ความศรัทธาท่ีมีต่อสถาบัน สุดท้ายน้ี ลูก ๆ ควรตระหนักรู้และมีจิตสานึกท่ีดีว่า “Rome was not built in a day.” การทางานนั้นต้องใช้เวลา แม้กระทั่งช่ือเสียงของโรงเรียนก็เช่นเดียวกันต้องใช้เวลากว่า ๔ ทศวรรษจนย่ิงใหญ่เช่นทุกวันน้ี แต่ก็อาจทลายลงได้ด้วยคาเพียงคาเดียวหรือการกระทาเพียงครั้งเดียว “ลูกพิกลุ ” ควรรว่ มกันสรา้ งและรักษาเกยี รติภมู ิแหง่ สตรีวทิ ยา ๒ ใหค้ งอยู่สืบไป ดร. กัญญาพชั ญ์ กานตภ์ ูวนนั ต์ ผอู้ านวยการโรงเรยี นสตรวี ิทยา ๒ ในพระราชูปถมั ภ์สมเดจ็ พระศรีนครนิ ทราบรมราชชนนี

คำนำ ตามที่งานพัฒนาหลักสูตรได้รับมอบหมายจาก ดร.กัญญาพัชญ์ กานต์ภูวนันต์ ผู้อานวยการ โรงเรียนสตรีวิทยา ๒ ในพระราชูปถัมภ์ฯ ให้จัดทาหลักสูตรท้องถ่ินขึ้น โดยบูรณาการหลักสูตร มาตรฐานสากล สนองนโยบายการจัดการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐานทสี่ อดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม สภาพแวดล้อม และท้องถ่ินของตนเพื่อการพัฒนาท่ียั่งยืน งานพัฒนาหลักสูตรจึง ได้จัดทาหลักสูตร “สตรีวิทยา ๒ ในพระราชูปถัมภ์ฯ ศึกษา” ข้ึน ซึ่งประกอบด้วย ๖ หน่วยการเรียนรู้ คือ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ โบราณนานมาสตรีวิทยา ๒ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒ ยุคทองของการพัฒนา สถาบัน หน่วยการเรียนรู้ที่ ๓ สัญลักษณ์รอบร้ัวขาวแดง หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๔ คุณสมบัติแห่งลูกพิกุล หน่วยการเรยี นรู้ท่ี ๕ เกยี รติคณุ เลืองชอื่ ลือระบลิ หน่วยการเรยี นรู้ที่ ๖ ทอ้ งถิน่ ลาดพร้าวของชาวเรา หลกั สตู รสตรีวทิ ยา ๒ ในพระราชูปถัมภ์ฯ ศึกษา สาเร็จลุล่วงได้ด้วยความอนุเคราะห์จากอดีต ผู้อานวยการ ครูอาวุโส และศิษย์เก่าในการให้ข้อมูล ครูกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และ วัฒนธรรม เป็นผู้เขียนและเรียบเรียงเน้ือหา นายธงชัย เดือนแจ้ง และ นายกฤษณะ หนูแสง หัวหน้า งานพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาเป็นผู้ปรับปรุงและจัดทารูปเล่ม นายจาริวัชระ คุ้มครอง และ นางสาว อัมรา กะมะโน เปน็ ครคู นแรกผปู้ ระเดิมสอนรายวิชาสตรีวิทยา ๒ ในพระราชูปถัมภ์ฯ ศึกษา นางอรทัย พรโกศลสิริเลิศ รองผู้อานวยการกลุ่มบริหารวิชาการ เป็นผู้ตรวจสอบ และ ดร.กัญญาพัชญ์ กานต์ภูวนันต์ ผู้อานวยการโรงเรียน เป็นที่ปรึกษาและให้คาแนะนา ส่งผลให้หลักสูตรสตรีวิทยา ๒ ใน พระราชูปถัมภ์ฯ ศึกษา เสร็จสมบูรณ์ งานพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาจึงกราบขอบพระคุณผู้ให้ ความอนเุ คราะหท์ ุกท่านมา ณ โอกาสนี้ งานพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาหวังเป็นอย่างยิ่งว่าหลักสูตรท้องถ่ิน “สตรีวิทยา ๒ ในพระ ราชูปถัมภฯ์ ศึกษา” จะเกิดประโยชน์สูงสุดต่อผู้เรียน โดยนักเรียนรุ่นแรกท่ีได้เรียนวิชาสตรีวิทยา ๒ ใน พระราชปู ถมั ภ์ฯ ศึกษา น้ี คือ นกั เรียนระดับช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๑ และ นักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี ๔ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ เพ่ือให้นักเรียนมีความรู้และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามจุดมุ่งหมายของ หลักสูตร มีความรัก ความศรทั ธา และความภาคภูมใิ จในโรงเรยี นสตรีวิทยา ๒ งานพฒั นาหลกั สูตรสถานศึกษา

สำรบัญ ๑ ๑๓ หน่วยการเรยี นรู้ที่ ๑ โบราณนานมาสตรีวทิ ยา ๒ ๒๘ หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๒ ยุคทองของการพัฒนาสถาบนั ๓๗ หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ ๓ สญั ลักษณ์รอบรวั้ ขาวแดง ๔๖ หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี ๔ คณุ สมบตั แิ หง่ ลูกพิกลุ ๕๔ หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ ๕ เกยี รตคิ ุณเลอ่ื งชื่อลือระบลิ ๖๕ หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี ๖ ท้องถน่ิ ลาดพร้าวของชาวเรา เอกสารอา้ งองิ ๖๖ คณะกรรมการจดั ทาหลกั สูตรทอ้ งถ่นิ “สตรวี ิทยา ๒ ในพระราชูปถมั ภฯ์ ศกึ ษา”

1หน่วยการเรยี นรู้ท่ี โบราณนานมาสตรวี ิทยา ๒ โรงเรียนสตรีวทิ ยา ๒ ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราช- ชนนี ตั้งอยู่เลขที่ ๒๙ ซอยสุคนธสวัสด์ิ ๓ ถนนสุคนธสวัสดิ์ แขวงลาดพร้าว เขตลาดพร้าว กรุงเทพมหานคร เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาประเภทสหศึกษา สงั กดั เขตพ้นื ท่ีการศกึ ษากรุงเพมหานครเขต ๒ เม่ือ พ.ศ.๒๕๑๖ นางสาวสุ่น พานิชเฮง มีจิตศรัทธาบริจาคที่ดินให้กรม สามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ จานวน ๑๙ ไร่ ๓ งาน ๑๙ ตารางวา เพื่อสร้างเป็นโรงเรียน คุณหญิงบุญเจือ ไชยภัฏ ผู้อานวยการโรงเรียนสตรีวิทยา ในขณะน้นั ได้รบั เรอ่ื งนี้จากกรมสามัญศึกษามาดาเนนิ การก่อต้ังเปน็ โรงเรียน แห่งใหม่ ในวันที่ ๗ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๑๖ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้คุณหญิง บุญเจือ ไชยภัฏ นางสาวสุ่น พานิชเฮง ดร.ก่อ สวัสดิพานิช (อธิบดีกรมสามัญศึกษา) กรรมการสตรีวิทยาสมาคม และนักเรียนสตรีวิทยาเข้าเฝ้าทูลละอองพระบาท เพ่ือสนองพระราชดาริเรื่อง การก่อต้ังโรงเรียน และมีพระเมตตา พระราชทานนามโรงเรียนวา่ “สตรวี ทิ ยา ๒” นับเป็นพระมหากรุณาธิคุณเป็นล้นพ้น ชาวสตรีวิทยา ๒ จึงถือว่าวันที่ ๗ ธันวาคม ๒๕๑๖ เปน็ วนั สถาปนาโรงเรียนนบั ตั้งแตบ่ ดั นน้ั เป็นต้นมา ต่อมานางหลง ไว้สาลี น้องสาวของนางสาวสุ่น พานิชเฮง ได้บริจาคที่ดินเพิ่มเติม จานวน ๒๔ ไร่ ๗๗ ตารางวา เมื่อวันท่ี ๒๒ มกราคม พ.ศ.๒๕๑๘ คุณหญิงบุญเจือ ไชยภัฏ ไดน้ านางหลง ไวส้ าลี เข้าเฝา้ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี น้อมเกล้าฯ ถวายที่ดิน ดังกล่าวเพ่ือขยายโรงเรียนให้กว้างขึ้น ต่อมาคุณหญิงบุญเจือ ไชยภัฏ ได้ติดต่อขอเช่าที่ดิน ของมูลนิธโิ รงพยาบาลสงฆ์เพ่ิมเติมอีก ๓๖ ไร่ รวมเป็นพื้นท่ีขนาดใหญ่ จานวน ๘o ไร่ ๔๕ ตารางวา ซึ่งขณะนั้นที่ดินเป็นทุ่งนา ทุรกันดาร ยังไม่มีไฟฟ้าใช้ นางสมหมาย เอมสมบัติ ผู้บริหารโรงเรียนคนแรกเป็นผู้ติดต่อกับการไฟฟ้านครหลวง จนสามารถนาไฟฟ้าเข้า สชู่ มุ ชนไดส้ าเร็จก่อนเปดิ ภาคเรียน พ้ืนทโี่ รงเรยี นสตรวี ิทยา ๒ และภาพคณะผู้ก่อตัง้ โรงเรียนในอดตี ๑ ๑ หน่วยกำรเรียนรู้ที่ ๑ โบรำณนำนมำสตรวี ิทยำ ๒

ประวตั ิโรงเรยี นสตรีวทิ ยา ๒ ในพระราชูปถมั ภ์ฯ ๒ โรงเรียนสตรวี ิทยา ๒ ในพระราชูปถมั ภฯ์ เปิดสอนครั้งแรกเมื่อวันที่ ๑๗ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๑๗ โดยอาศัยศาลาการเปรียญวัดสาครสุ่น ประชาสรรคซ์ งึ่ ติดกับทต่ี งั้ โรงเรยี นเปน็ สถานศึกษาชวั่ คราว นางสมหมาย เอมสมบัติ เป็นผบู้ ริหารคนแรกมนี กั เรยี น ๒๗๗ คน ครู ๑๓ คน แบง่ เป็น ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี๑ (ม.ศ. ๑) จานวน ๕ ห้อง มัธยมศึกษาปีท่ี ๔ (ม.ศ. ๔) จานวน ๒ ห้อง สภาพของโรงเรียนในปี พ.ศ. ๒๕๑๗ การคมนาคมสู่โรงเรียนยากลาบาก ถนนเป็นดิน ถ้ามีฝนตกรถ จะไม่สามารถเข้าถึงโรงเรียนได้ ทั้งครูและนักเรียนต้องถอดรองเท้าเดิน ทางเข้าโรงเรียน จากสภาพดังกล่าวทาให้การก่อสร้างโรงเรียนประสบ ความยากลาบากนานัปการ แต่ก็สามารถสร้างกลุ่มแรก จานวน ๔ หลัง ได้สาเร็จลงในระยะเวลาเพียง ๑ ปี อาคารกลุ่มแรกนี้ตั้งอยู่ด้านหน้า ของโรงเรียน ชื่อ “อาคารสมเด็จพระศรีนครินทร์” ซ่ึงเป็นอาคาร ๒ ชั้น ช้นั บนตงั้ อยู่บนเนินหญ้าอันเขียวขจี ชั้นล่างเป็นห้องเรียนมีปล่องระบาย อากาศให้อากาศถ่ายเทได้สะดวก ลักษณะงดงามและแปลกตาเหมือน อาคารเรียนในต่างประเทศ เป็นที่ประทับใจแก่ผู้พบเห็นเป็นอย่างยิ่ง อาคารแห่งนี้สาเร็จได้ด้วยความร่วมมือ ร่วมแรงร่วมใจของบุคคลหลาย ฝ่าย ท้ังคณะผู้บุกเบิก คณาจารย์โรงเรียนสตรีวิยา ผู้นาชุมชน ครู อาจารย์และนักเรียนโรงเรียนสตรีวิทยา ๒ ในพระราชูปถัมภ์ฯ ทุกคน เมื่อสร้างอาคารเรียนกลุ่มแรกน้ีเสร็จแล้วในปี พ.ศ. ๒๕๑๘ โรงเรียนจึง รับนกั เรียนเพมิ่ ๒๗ ห้องเรยี น สมเด็จพระศรีนครินทร์ทราบรมราชชนนีได้เสด็จพระราชดาเนิน มาเป็นประธานในพิธีเปิด “อาคารสมเด็จพระศรีนครินทร์” เมื่อวันที่ ๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๑๘ และยังทรงพระเมตตาต่อชาวสตรีวิยา ๒ ทรง ปลูกต้นพิกุลที่เกาะหน้าอากาศสมเด็จพระศรีนครินทร์ ชาวสตรีวิทยา ๒ จึงน้อมนาดอกพิกลุ ดอกไม้มหามงคลน้ี เป็นดอกไมป้ ระจาโรงเรยี น หน่วยกำรเรียนรูท้ ี่ ๑ โบรำณนำนมำสตรวี ิทยำ ๒

ประวตั ิโรงเรียนสตรวี ทิ ยา ๒ ในพระราชปู ถัมภฯ์ การก่อสร้างโรงเรียนกลุ่มท่ี ๒ จานวน ๔ หลัง แล้วเสร็จ พ.ศ. ๒๕๒๑ โรงเรียนได้นาความกราบบังคม ทูลพระกรุณาขอพระราชทานกราบทูลเชิญสมเด็จ พระบรมโอรสาธิราชสยามมกุฎราชกุมาร เสด็จพระราช ดาเนินทรงประกอบพิธีเปิดอาคารเรียน กลุ่มท่ี ๒ นามว่า “อาคารวชิรา” นับเป็นพระกรุณาธิคุณแก่ชาว สตรีวทิ ยา ๒ เปน็ ลน้ พน้ ในปี พ.ศ. ๒๕๒๔ โรงเรียนสตรีวิทยา ๒ ในพระราชูปถัมภ์ฯ ขยายเต็มรูปแบบคือ รับนักเรียน ๖ ระดับ ระดับละ ๑๒ ห้องเรียน รวมเป็น ๗๒ ห้องเรียน จึงเป็นโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษในกรุงเทพมหานคร ทาให้มี งบประมาณแผน่ ดนิ และงบบริจาคจากผู้มจี ิตศรทั ธามาสรา้ งอาคาร และส่งิ กอ่ สร้างอีกมาก ได้แก่ อาคารนวราช ชนนี อาคารเฉลิมพระเกียรติ ๖ รอบพระชนมพรรษา อาคารหอสมุดนพ บุณยุปการ อาคารไชศรีปราโมช อาคารอเนกประสงค์ อาคารพลศึกษา อาคารฝึกงาน อาคารโอษธีศ สนามเทนนิสจึงพานิช นอกจากน้ียังได้ งบประมาณสร้างสระว่ายน้าขนาดมาตรฐาน ให้นักเรียนว่ายน้าออกกาลังกาย เพ่ือสุขภาพพลามัยที่ดี และเป็นสถานท่ีแข่งขันว่ายน้านักเรียนทั่วประเทศ “พิกุลแชมเป้ียนชิพ” เป็นประจาทุกปีต้ังแต่ พ.ศ. ๒๕๔๑ จนปจั จุบัน ด้วยคุณภาพความรู้และคุณธรรม โรงเรียนสตรีวิทยา ๒ ในพระราชูปถัมภ์ฯ จึงเป็นโรงเรียนท่ีผู้ปกครอง ปรารถนาจะสง่ บุตรหลานเขา้ เรียน ในปีการศกึ ษา ๒๕๓๖ โรงเรยี นสตรีวทิ ยา ๒ ในพระราชูปถัมภ์ฯ มีชั้นเรียน มัธยมศึกษาตอนต้นและมัธยมศึกษาตอนปลายรวม ๘๐ ห้องเรียน จานวนนักเรียน ๓,๖๐๐ คน แต่ก็ยังมีผู้ท่ี ประสงคจ์ ะเข้าเรียนอีกเปน็ จานวนมากรวมทง้ั พน้ื ท่ขี องโรงเรยี นมถี ึง ๘๑ ไร่เศษ กรมสามัญศึกษาจึงต้องการใช้ ปจั จัยทงั้ หมดใหค้ มุ้ คา่ โดยจะให้มีการเปิดสอนระดับละ ๒๐ ห้องเรียนรวม ๖ ระดับเป็น ๑๒๐ ห้องเรียน จึงให้ แยกโรงเรียนสตรีวิทยา ๒ เป็น ๒ โรงเรียน โรงเรียนที่ต้ังเพ่ิมขึ้นใช้ชื่อโรงเรียนสตรีวิทยา ๒ มัธยมศึกษา ตอนต้น ใช้ท่ีดิน ๒๔ ไร่ ๗๗ ตารางวา ทางด้านทิศเหนือของโรงเรียนสตรีวิทยา ๒ ซึ่งเป็นที่ดินที่ นางหลง ไว้สาลี ทูลเกล้าฯ ถวายสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีไว้ต้ังแต่ปี ๑๕๑๘ เปิดสอนเฉพาะระดับ มัธยมศึกษาตอนต้นและส่งนักเรียนเรียนต่อช้ันมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนสตรีวิทยา ๒ มัธยมศึกษา ตอนต้นใช้หลักเกณฑ์เช่นเดียวกับเม่ือยังเป็นโรงเรียนเดียว ๒ โรงเรียนน้ีมีสนามฟุตบอลกั้นระหว่างกันท้ัง ๒ โรงเรียนแยกการบริหารแต่ใช้อาคารสถานที่ร่วมกันจึงเป็นโรงเรียนพี่-น้องคู่แรกของกรมสามัญศึกษาและของ ประเทศไทย หน่วยกำรเรียนรทู้ ี่ ๑ โบรำณนำนมำสตรวี ิทยำ ๒ สแกนเพอ่ื รบั ชม หนว่ ยกำรเรียนร้ทู ี่ ๑ โบรำณนำนมำสตรวี ิทยำ ๒ ๓

ประวตั โิ รงเรยี นสตรีวทิ ยา ๒ ในพระราชปู ถมั ภฯ์ การดาเนินงานของโรงเรียนสตรีวิทยา ๒ มัธยมศึกษาตอนต้น ในช่วงปีการศึกษา ๒๕๓๘ ใช้สถานท่ีและ ครูอาจารย์ร่วมกับครูมัธยมศึกษาตอนปลาย เนื่องจากอาคารเรียนของโรงเรียนสตรีวิทยา ๒ มัธยมศึกษา ตอนต้น ยังก่อตั้งสร้างไม่เสร็จสานักงานของโรงเรียนยังอยู่ท่ีอาคารเรียนช่ัวคราวของโรงเรียนสตรีวิทยา ๒ จนต้นปีการศึกษา ๒๕๓๘ โรงเรียนได้รับงบประมาณสร้างอาคารอเนกประสงค์ ๔ ช้ันซ่ึงก่อสร้างแล้วเสร็จ และให้อาคารหลังใหม่เป็นอาคารกาญจนาภิเษกเพ่ือเฉลิมพระเกียรติเน่ืองในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จ พระเจา้ อยู่หวั ทรงครองราชย์ครบ ๕๐ ปี แม้ว่าการดาเนินงานของโรงเรียนสตรีวิทยา ๒ มัธยมศึกษาตอนต้น แยกการดาเนินงานเป็นอิสระแล้ว ก็ตามแต่การดาเนินงานหลายอย่างยังร่วมกับโรงเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย การดาเนินงานและการใช้ ทรพั ยากรร่วมกนั ประสบความสาเร็จตามท่กี รมสามัญศึกษาวางไวท้ กุ ประการในปีการศึกษา ๒๕๓๙ โรงเรียน สตรีวิทยา ๒ มัธยมศึกษาตอนต้น มีช้ันเรียนเต็มรูปคือ ๖๐ ห้องเรียน มีนักเรียนตั้งแต่ระดับช้ันมัธยมศึกษา ปีที่ ๑-๓ ปี พ.ศ. ๒๕๔๒ กรมสามัญศึกษาพิจารณาว่าโรงเรียนสตรีวิทยา ๒ มัธยมศึกษาตอนต้นได้ดาเนินการ สาเร็จไปโรงเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นที่สมบูรณ์แบบ พร้อมด้วยครูอาจารย์ อาคารสถานที่และคุณภาพ ของผู้เรียนประสบผลสัมฤทธ์ิในระดับสูงแสดงถึงการวางระบบงานที่มีประสิทธิภาพจึงให้รวมโรงเรียน สตรีวิทยา ๒ มัธยมศึกษาตอนต้นเป็นโรงเรียนเดียวกับโรงเรียนสตรีวิทยา ๒ เพื่อให้การส่งต่อผู้เรียนและ การพัฒนาตา่ ง ๆ เป็นไปอย่างสอดคล้องเป็นหนึ่งเดียวเป็นโรงเรียนท่ีมีขนาดใหญ่ท่ีสุดของประเทศมีคุณภาพ ระดบั แนวหน้าของประเทศไทยสืบไป หนว่ ยกำรเรียนร้ทู ี่ ๑ โบรำณนำนมำสตรีวทิ ยำ ๒ ๔

พระราชประวัติ สมเด็จพระศรนี ครินทราบรมราชชนนี สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีเสด็จพระราชสมภพ เม่ือวันอาทิตย์ที่ ๒๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๔๓ ณ เมืองนนทบุรี พระนามเดิมว่า “สังวาลย์” ทรงเป็นบุตรของพระชนกชู และพระชนนีคา ได้ถวายตัวเป็นข้าหลวง ในสมเด็จเจ้าฟ้าวไลยอลงกรณ์ กรมหลวงเพชรบุรีราชสิรินธร ทรงสาเร็จการศึกษาวิชาพยาบาลจากโรงเรียน แพทย์ผดุงครรภ์และหญิงพยาบาลแห่งศิริราช เม่ือ พ.ศ. ๒๔๕๙ และทรงได้รับทุนของสมเด็จพระศรีสวรินทรา -บรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้าเสด็จพระราชดาเนินไปรงเรียนวิชาพยาบาลเพ่ิมเติมที่ประเทศ สหรัฐอเมริกาเม่ือ พ.ศ. ๒๔๖๐ อภิเษกสมรสกับสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดลอดุลเดชกรมหลวงสงขลานครินทร์ (สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร์อดลุ ยเดชวิกรมพระบรมราชชนก) เมอื่ พ.ศ. ๒๔๖๓ มีพระโอรสธดิ า ๓ พระองค์ คือ พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล สมเด็จพระเจา้ พน่ี างเธอ เจา้ ฟ้ากัลยาณิวัฒนา พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดุลยเดช กรมหลวงนราธวิ าสราชนครินทร์ หน่วยกำรเรียนรู้ที่ ๑ โบรำณนำนมำสตรวี ิทยำ ๒ หนว่ ยกำรเรียนรทู้ ี่ ๑ โบรำณนำนมำสตรวี ิทยำ ๒ ๕

พระราชประวัติ สมเดจ็ พระศรีนครนิ ทราบรมราชชนนี สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีโปรดการดารงชีวิต สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ท่ีเรียบง่าย โปรดการทรงงานด้วยพระองค์เอง ทรงใช้เวลาว่าง ให้เป็นประโยชน์เสมอ ทรงใช้จ่ายอย่างประหยัดเพื่อนา ไม่ทรงยึดถือในลาภ ยศ และสรรเสริญ พระราชทรัพย์ไปใช้ในกิจการกุศล โปรดการเดินป่าปีนเขา ทอดพระเนตรดอกไม้และทิวทัศน์ธรรมชาติ ทรงเป็นผู้ใฝ่รู้ “ดงั เคยมีรับสงั่ วา่ ... ในการศึกษาต่าง ๆ ตลอดพระชนม์ชีพทรงศึกษาธรรมะ คนเราไมค่ วรลมื ตัว ในพระพุทธศาสนาอย่างลึกซึ้ง ทรงฝึกสมาธิและทรงดาเนิน ไม่อวดดี พระชนมช์ พี อยใู่ นธรรมะ ”ไม่ถอื ดวี า่ ตนเกง่ พระราชกรณียกจิ ตลอดพระชนม์ชีพสมเด็จพระบรมราชชนนีทรงยึดม่ัน ในการบาเพญ็ ประโยชนต์ ่อประเทศชาตแิ ละประชาชนชาวไทย พระราชภารกิจที่สาคัญย่ิง คือ ทรงอภิบาลพระโอรสสอง พระองค์ ซ่ึงต่อมาทรงเป็นพระมหากษัตริย์ที่ทรงคุณธรรม อันประเสริฐ เป็นท่ีเคารพรักเทิดทูนของปวงพสกนิกร ส่วนพระธิดาก็ทรงดาเนินรอยตามสมเด็จพระบรมราชชนนี ในการบาเพ็ญสาธารณประโยชน์ตา่ ง ๆ ต่อประเทศชาติ นอกจากการถวายพระอภิบาลแล้ว สมเด็จพระบรมราช ชนนีทรงประกอบพระราชกรณียกิจอ่ืน ๆ อีกเป็นอเนกอนันต์ ได้พระราชทานพระราชานุเคราะห์แก่มูลนิธิ และองค์การกุศล ต่างๆ ตามกาลังพระราชทรัพย์มาตลอดพระชนม์ชีพ และนับ แต่ พ.ศ. ๒๕๐๗ เปน็ ต้นมา ได้เสด็จพระราชดาเนินเยี่ยมเยียน ราษฎรในถ่ินทุรกันดารท่ัวประเทศ พระราชทานสิ่งของความ ช่วยเหลือและทรงบารุงขวัญกาลังใจแก่ราษฎร ข้าราชการ ทหาร ตารวจ และพลเรือนในท้องถิ่นเหล่านั้นการเสด็จพระ ราชดาเนินไปทรงเยยี่ มราษฎร เป็นแรงบันดาลใจสาคัญท่ีทาให้ ทรงเร่ิมงานพฒั นาตา่ ง ๆ ดงั นี้ หนว่ ยกำรเรียนร้ทู ี่ ๑ โบรำณนำนมำสตรวี ิทยำ ๒ ๖

๑. ดา้ นการศึกษา ได้พระราชทานพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์และเงินที่มีผู้ทูลเกล้าทูลกระหม่อมสร้างโรงเรียน ในถ่ินทุรกันดารท่ัวประเทศ เพื่อสนับสนุนโครงการจัดตั้งโรงเรียนชาวเขาและประชาชนไกลคมนาคม ของตารวจตระเวนชายแดน และได้พระราชทานทุนการศึกษาแก่เยาวชนตามเกาะต่าง ๆ อน่ึง ยังได้พระราชทานพระราชานุเคราะห์ผ่านมูลนิธิส่งเสริมผลผลิตชาวเขาไทยท่ีทรงรับใช้ในพระราชูปถัมภ์ พัฒนาอบรมเด็กชาวเขาในด้านสุขวิทยาการติดต่อกับสังคมอ่ืน การประกอบอาชีพ และส่งเสริม การศึกษาตามความสามารถของเด็ก นอกจากนี้ยังทรงส่งเสริมการเผยแพร่ธรรมะแก่เยาวชน และประชาชนทางวทิ ยุและหนังสือ ๒. ด้านสาธารณสุข ในพ.ศ. ๒๕๑๒ ได้ทรงจัดตั้งหน่วยแพทย์เคล่ือนที่เพื่อออกรักษาพยาบาลและป้องกันโรค แก่ประชาชนในเขตชายแดนและเขตทุรกันดารอ่ืน ๆ ในวันหยุดราชการ หน่วยแพทย์น้ีเรียกว่า “แพทย์อาสาสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี” (พอ.สว.) ผู้ปฏิบัติงานล้วนเป็นอาสาสมัคร รัฐบาล เห็นประโยชน์ของโครงการนี้จึงได้ให้เงินอุดหนุนจานวนหนึ่งในแต่ละปี กิจการ พอ.สว. ยังมีบทบาท สาคัญในด้านทันตสาธารณสุข และช่วยนาคนไข้ที่ป่วยเฉพาะโรคในที่ห่างไกลมารับการรักษาพยาบาล ตอ่ ไป นบั แต่ พ.ศ. ๒๕๓๔ เป็นต้นมา พอ.สว. ไดเ้ ขา้ ช่วยเสรมิ งานสาธารณสขุ มูลฐานของรฐั บาลดว้ ย หนว่ ยกำรเรียนรทู้ ี่ ๑ โบรำณนำนมำสตรวี ิทยำ ๒ หนว่ ยกำรเรียนรูท้ ี่ ๑ โบรำณนำนมำสตรวี ิทยำ ๒ ๗

๓. ดา้ นการฟน้ื ฟูปลกู ปา่ และพฒั นาคณุ ภาพชีวติ ท่ดี อยตงุ ใน พ.ศ. ๒๕๓๑ ได้ทรงริเร่ิม “โครงการพัฒนาดอยตุง” ข้ึนในพ้ืนที่อาเภอแม่จันและแม่สาย จังหวัด เชียงราย มีเน้ือท่ีประมาณ ๙o,ooo ไร่ เพ่ือฟื้นฟูต้นน้าลาธารในบริเวณที่เสื่อมโทรม และพัฒนาคุณภาพ ชีวิตของประชาชนในพื้นที่ ให้คนกับป่าอยู่ด้วยกันได้อย่างสันติสุข โครงการน้ีได้รับความร่วมมือจากท้ัง ภาครัฐและเอกชน มี “มูลนิธิแม่ฟ้าหลวงในพระราชูปถัมภ์” เป็นผู้ประสานงานดูแลโครงการ (มูลนิธินี้เดิม คือ มูลนธิ สิ ง่ เสรมิ ผลผลิตชาวเขาไทยฯ) ในเวลาเพียง ๕ ปี โครงการพัฒนาดอยตุงตามพระราชดาริสามารถ ปลูกป่าได้ถึงร้อยละ ๘๐ ของพื้นท่ี ชาวบ้านในบริเวณนี้กลายเป็นกาลังสาคัญ ในการปลูกป่านอกจากน้ัน โครงการฟน้ื ฟปู ลูกป่าและพัฒนาคุณภาพชีวิตท่ีดอยตุง ยังได้ส่งเสริมฝึกอาชีพอื่นๆแก่ราษฎร ทาให้มีรายได้ และความเปน็ อยู่ทดี่ ขี ึน้ ปลายพระชนม์ชพี ส ม เ ด็ จ พ ร ะ บ ร ม ร า ช ช น นี ท ร ง พ ร ะ ป ร ะ ช ว ร ด้ ว ย พ ร ะ โ ร ค พระหทัย และเสด็จเข้ารักษาพระองค์ที่โรงพยาบาลศิริราช เมื่อวันที่ ๒ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๓๘ เสด็จสวรรคตเม่ือวันอังคารท่ี ๑๘ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๓๘ เวลา ๒๑ นาฬกิ า ๑๗ นาทพี ระชนมายุ ๙๔ พรรษา ๘ เดือน ๒๗ วัน พสกนิกรต่างเช่ือม่ันว่าด้วยอานุภาพแห่งกุศลกรรมท่ีทรงบาเพ็ญ มาอย่างต่อเนื่องยาวนาน พระผู้ทรงจากไปได้เสด็จสถิตในภพภูมิ อันประเสรฐิ อนั ควรแกพ่ ระคณุ ธรรมของพระองค์แลว้ หน่วยกำรเรียนรู้ที่ ๑ โบรำณนำนมำสตรวี ิทยำ ๒ ๘

สมเด็จพระสงั ฆราชเจา้ กรมหลวงวชริ ญาณสงั วร เสดจ็ เป็นประธานในพธิ วี างศิลาฤกษพ์ ระราชานสุ าวรีย์ สมเดจ็ พระศรนี ครนิ ทราบรมราชชนนี วันที่ ๑๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๔ สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก (พระยศในขณะน้ัน) เสดจ็ เปน็ ประธานในพิธีวางศิลาฤกษ์พระราชานุสาวรีย์ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราช ชนนี และเททองหล่อพระรูปป้ัน ณ โรงเรียนสตรีวิทยา ๒ ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราช ชนนี แขวงลาดพรา้ ว เขตลาดพรา้ ว กรงุ เทพมหานคร หน่วยกำรเรียนรู้ที่ ๑ โบรำณนำนมำสตรวี ิทยำ ๒ สแกนเพอ่ื รบั ชม หนว่ ยกำรเรียนรทู้ ี่ ๑ โบรำณนำนมำสตรวี ิทยำ ๒ ๙

พระบาทสมเดจ็ พระวชิรเกล้าเจา้ อยหู่ วั เสดจ็ พระราชดาเนินมาทรงเปดิ อาคารวชริ า ณ โรงเรยี นสตรีวทิ ยา ๒ ในพระราชูปถัมภ์ฯ พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อครั้งดารงพระราชอิสริยยศเป็นสมเด็จพระบรม โอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร เสด็จพระราชดาเนินมาทรงประกอบพิธีเปิดอาคารเรียน กลุ่ม ที่ ๒ นามว่า “อาคารวชิรา” และทอดพระเนตรการดาเนินการพัฒนาโรงเรียนสตรีวิทยา ๒ ใน พระราชปู ถัมภ์ฯ ดา้ นต่าง ๆ เม่อื ปี พ.ศ. ๒๕๒๑ หน่วยกำรเรียนรู้ที่ ๑ โบรำณนำนมำสตรวี ิทยำ ๒ สแกนเพอื่ รบั ชม หน่วยกำรเรียนรทู้ ี่ ๑ โบรำณนำนมำสตรวี ิทยำ ๒ ๑

สมเดจ็ พระเจ้าพ่ีนางเธอ เจา้ ฟ้ากลั ยาณวิ ฒั นา กรมหลวงนราธวิ าสราชนครินทร์ เสดจ็ เปน็ ประธาน ประกอบพธิ เี ปดิ พระราชานสุ าวรีย์ สมเด็จพระศรนี ครนิ ทราบรมราชชนนี ณ โรงเรียนสตรีวิทยา ๒ ในพระราชปู ถมั ภฯ์ วนั ท่ี ๑๕ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๕ สมเด็จพระพ่ีนางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราช- นครินทร์ เสด็จเป็นประธานประกอบพิธีเปิดพระราชานุสาวรีย์ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ณ โรงเรยี นสตรีวทิ ยา ๒ ในพระราชปู ถมั ภ์ฯ โดยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ นายกสมาคมผู้ปกครอง และครสู ตรีวทิ ยา ๒ คณะกรรมการจัดสร้างพระราชานุสาวรีย์ ครู และนักเรียนเฝ้ารับเสด็จ ทั้งน้ี ประธาน กรรมการสถานศึกษาโรงเรยี นสตรวี ทิ ยา ๒ ในพระราชูปถมั ภก์ ราบทูลเบกิ ผู้มจี ิตศรัทธาบรจิ าคเงินสมทบใน การจัดสร้างพระราชานุสาวรีย์ เข้าเฝ้ารับพระราชทานพระรูปจาลองพระราชานุสาวรีย์ และกราบทูลเบิก ข้าราชการครูผูป้ ฏิบตั ิหน้าที่ ครบ ๒๕ ปี เขา้ รบั พระราชทานเข็มพกิ ุลทองคา สแกนเพอื่ รบั ชม หน่วยกำรเรียนรทู้ ี่ ๑ โบรำณนำนมำสตรวี ิทยำ ๒ ๑

สมเดจ็ พระกนิษฐาธิราชเจา้ กรมสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดา ฯ สยามบรมราชกมุ ารี เสด็จเปน็ ประธานทรงเปดิ อาคารเรียน ณ โรงเรียนสตรีวิทยา ๒ ในพระราชูปถมั ภ์ฯ วันที่ ๑๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๘ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (พระราช อิสริยยศในขณะนั้น) เสด็จเป็นประธานทรงเปิดอาคารเรียนนามว่า “อาคาร ๓๐ปี สตรีวิทยา ๒ เฉลมิ พระเกียรติ ๔๘ พรรษา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ”เน่ืองในโอกาสครบวาระ ๓๐ ปี แห่ง การก่อต้ังโรงเรียนสตรีวิทยา ๒ ในพระราชูปถัมภ์ฯ คณะกรรมการสถานศึกษา สมาคมผู้ปกครอง และครู สมาคมศิษย์เก่าสตรีวิทยา ๒ เครือข่ายผู้ปกครอง และผู้มีจิตศรัทธาร่วมบริจาค เงินสมทบ ก่อสร้างอาคารเรียน ๔ ชั้น เป็นอาคารเช่ือมระหว่างอาคาร ๑๒ และอาคารกาญจนาภิเษก ทาให้มี หอ้ งเรยี นเพม่ิ ข้ึนจานวน ๙ หอ้ งเรียน สแกนเพอ่ื รบั ชม หน่วยกำรเรียนรทู้ ี่ ๑ โบรำณนำนมำสตรวี ิทยำ ๒ ๑

๒หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี ยคุ ทองของการพัฒนาสถาบนั ๑. ผู้บรหิ ารโรงเรยี นสตรีวิทยา ๒ ในพระราชูปถัมภฯ์ ผู้บริหารในฐานะผู้นาองค์กรจาเป็นต้องปฏิรูปตนเอง และ การเปลี่ยนแปลงองค์กรคร้ังใหญ่เพ่ือนาไปสู่ ความสาเร็จตามเป้าหมาย ที่ต้องการ โดยเฉพาะอย่างย่ิงผู้บริหารสถานศึกษามีบทบาทสาคัญ ที่จะต้องบริหารจัดการทรัพยากรทางการศึกษาให้เกิดประสิทธิภาพ และความสมดุลเพ่ือให้การจดั การศกึ ษาบรรลผุ ลสาเร็จ ผู้บริหารสถานศึกษาเป็นกลไกสาคัญและมีอิทธิพลสูงสุดต่อคุณภาพ ของผลลัพธ์ท่ีได้จากระบบการศึกษาประสิทธิภาพของการบริหาร และประสิทธิผลของสถานศึกษา นักวิชาการหลายท่าน มีความเห็น ตรงกันว่า ความสาเร็จหรือความล้มเหลวทางการศึกษาน้ันข้ึนอยู่กับ ผู้บริหารส่วนหน่ึง ผู้บริหารจึงเป็นตัวแปรสาคัญในด้านการจัดการศึกษา ให้มีคุณภาพผู้บริหารสถานศึกษา จึงต้องมีความรู้ ความสามารถ ทักษะ และประสบการณ์ทางการบริหารการศึกษา เพ่ือพัฒนาสถานศึกษาให้ ทันสมยั เหมาะสมกับการเปล่ยี นแปลงของโลก หนว่ ยกำรเรียนรู้ที่ ๒ ยุคทองของกำรพัฒนำสถำบนั ๑๓

ทาเนยี บผอู้ านวยการ โรงเรียนสตรวี ิทยา ๒ มัธยมศกึ ษาตอนตน้ นางสาวสมภาพ คมสัน นายอดุ ร บญุ ถาวร พ.ศ. ๒๕๓๗ พ.ศ. ๒๕๓๗ – ๒๕๔๑ นายสรุ นิ ทร์ ต่อเนอ่ื ง นายณรงค์ ตามรักษา พ.ศ. ๒๕๔๑ - ๒๕๔๒ พ.ศ. ๒๕๔๒ – ๒๕๔๔ หน่วยกำรเรียนรู้ที่ ๒ ยคุ ทองของกำรพัฒนำสถำบัน ๑๔

ทาเนยี บผอู้ านวยการ โรงเรียนสตรีวทิ ยา ๒ ในพระราชูปถัมภฯ์ นางสมหมาย เอมสมบัติ นางศิรลิ ักษณ์ นันทพิศาล นางสาวสมภาพ คมสัน พ.ศ. ๒๕๑๗ – ๒๕๒๙ พ.ศ. ๒๕๒๙-๒๕๓๓ พ.ศ. ๒๕๓๓ – ๒๕๓๗ นายลอื ชา สร้อยพาน นายณรงค์ ตามรกั ษา นายเชิดชยั พลานิวัติ พ.ศ. ๒๕๓๗ - ๒๕๔๐ พ.ศ. ๒๕๔๐ – ๒๕๔๕ พ.ศ. ๒๕๔๕ -๒๕๕๑ นายเกษม สดงาม นายพชรพงศ์ ตรเี ทพา นายธีรัช ไชยยศ พ.ศ. ๒๕๕๑ – ๒๕๕๕ พ.ศ. ๒๕๕๖ - ๒๕๕๗ พ.ศ. ๒๕๕๘ – ๒๕๖๒ นางกญั ญาพชั ญ์ กานตภ์ วู นนั ต์ พ.ศ. ๒๕๖๒ - ปจั จบุ นั หน่วยกำรเรียนรู้ที่ ๒ ยุคทองของกำรพัฒนำสถำบัน หนว่ ยกำรเรียนรู้ที่ ๒ ยคุ ทองของกำรพัฒนำสถำบนั ๑๕

โครงสรา้ งการบริหารสถานศกึ ษา หนว่ ยกำรเรียนรู้ที่ ๒ ยคุ ทองของกำรพฒั นำสถำบนั ๑๖

๒. การพัฒนาโรงเรยี นสตรีวทิ ยา ๒ โรงเรียนสตรีวิทยา ๒ ในพระบรมราชูปถัมภ์สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี เร่ิมก่อตั้งในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เม่ือแรกเร่ิมลักษณะ ภูมิประเทศเป็นท่ีราบลุ่มช้ืนแฉะ มีความทุรกันดาร พ้ืนท่ีโดยท่ัวไปเป็นทุ่งนากว้างไม่มีถนนตัดผ่านการเข้าถึง พื้นทเี่ ปน็ ไปด้วยความยากลาบาก ในพุทธศักราช ๒๕๑๖ กระทรวงศึกษาธิการ โดย ดร.ก่อ สวัสดิพานิช อธิบดีกรมสามัญศึกษา ได้จัดต้ัง โรงเรียนมัธยมศึกษาในเขตกรุงเทพมหานครซ่ึงเป็นพ้ืนท่ีขนาดใหญ่ เน้ือที่ราว ๘๐ ไร่ เป็นที่ดินที่ได้รับ การบริจาค จัดวา่ โรงเรียนมัธยมศึกษาท่ใี หญท่ ี่สุดในประเทศไทยในขณะนั้น การพัฒนาของโรงเรียนสตรีวิทยา ๒ ในพระบรมราชูปถัมภ์สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี เกิดขึ้น จากบุคคลท่ีมีคุณูปการที่ทาให้โรงเรียนมีพัฒนาการอย่างต่อเน่ือง มีความรุ่งเรืองผ่านวันเวลามากกว่า คร่ึงศตวรรษ ตง้ั แตพ่ ทุ ธศักราช ๒๕๑๗ ถงึ ปจั จุบัน โดยพัฒนาการของโรงเรียนแบ่งออกเปน็ ๓ ระยะ ดังนี้ สภาพหอ้ งเรยี นของนักเรียนรุ่นแรก ๒.๑ ระยะท่ี ๑ พ.ศ. ๒๕๑๗ – ๒๕๓๗ ใตศ้ าลาการเปรยี ญ วัดสาครส่นุ ประชาสรรค์ โรงเรียนสตรีวิทยา ๒ ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระ ศรีนครินทราบรมราชชนนี เปิดสอนอยา่ งเปน็ ทางการคร้ังแรก เม่ือวันท่ี ๑๗ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๑๗ โดยอาศัยศาลา การเปรียญวัดสาครสุ่น ประชาสรรค์เป็นท่ีเรียนช่ัวคราว มีครู ๑๓ คน และนักเรียน ๒๗๗ คน ระดับมัธยมศึกษาปีที่ ๑ จานวน ๕ ห้องเรียน และระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๔ จานวน ๒ ห้องเรยี น เมือ่ สรา้ งอาคารเรยี นกลมุ่ แรกเสร็จ ในปีถัดมาจึง รับนักเรียนเพ่ิมเป็น ๒๗ ห้องเรียน และพัฒนาเรื่อยมาจนมี ๗๒ ห้องเรียนในปี พ.ศ. ๒๕๒๔ นอกจากน้ีโรงเรียนได้มี การพัฒนาในด้านต่าง ๆ ดังนี้ ๑. การพฒั นาระหว่างปี พ.ศ. ๒๕๒๙ - ๒๕๓๐ - สร้างสวนป่าเฉลิมพระเกยี รติ ในพระบรมราชวโรกาส - สร้างโรงอาหารเพิ่มเติม ทพ่ี ระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเจรญิ - สรา้ งบา้ นพักลกู จา้ งประจา ๑๙ หน่วย พระชนมพรรษาครบ ๖๐ พรรษา - สร้างสนามวอลเลยบ์ อลขนาดมาตรฐาน - สรา้ งสระวา่ ยนา้ ขนาดมาตรฐาน - ปรับปรุงสานักงาน - สร้างสนามกฬี าขนาดมาตรฐาน - ตดิ ตั้งไฟฟา้ และน้าประปาเพม่ิ เติม - สรา้ งร้ัวโรงเรียนความยาว ๒ กิโลเมตร - ปรับปรงุ อาคารสถานท่ี - สร้างถนนคอนกรตี ยาว ๘๒ เมตร ส่วนทชี่ ารุดทรุดโทรมทั่วโรงเรยี น หนว่ ยกำรเรียนรทู้ ี่ ๒ ยุคทองของกำรพฒั นำสถำบนั ๑๗

๒. การพัฒนาในปี พ.ศ. ๒๕๓๑ - สรา้ งรัว้ โรงเรยี นเพ่ิมเติม - สรา้ งอาคารบริการ - สรา้ งอาคารนิทรรศการ - ปรบั ปรงุ ศาลารวมใจ ศาลาพฤกษชาติ ห้องคอมพวิ เตอร์ ๓. การพัฒนาในปี พ.ศ. ๒๕๓๒ - สรา้ งถนนรอบสระวา่ ยน้า - สร้างศาลาทีพ่ ักผปู้ กครอง ป้อมยาม - ปรบั ปรุงสนามกฬี า ห้องพกั ครู ต่อเตมิ โรงอาหาร และปรับปรุงสภาพแวดลอ้ ม - สรา้ งอาคารนวราชชนนี ๔. การพัฒนาในปี พ.ศ. ๒๕๓๓ - สร้างเข่อื นรอบหอสมดุ - ปรับปรงุ อาคารสมเด็จฯ - สรา้ งปะราพิธใี นสนามกีฬา - ปรบั ปรุงพ้ืนทบี่ รเิ วณสวนเกษตรดา้ นหลงั โรงเรียนและพัฒนาสภาพแวดล้อมทั่วไป คณุ ครู อาจารย์ ผ้ปู กครอง นางสมหมาย เอมสมบัติ ไดด้ าเนนิ การตดิ ต่อไฟฟ้า และนักเรยี นร่วมมอื กนั สร้างสวนปา่ เฉลิมพระเกยี รติ นครหลวง เพ่อื นากระแสไฟฟา้ เข้าส่โู รงเรียน หน่วยกำรเรียนรทู้ ี่ ๒ ยุคทองของกำรพัฒนำสถำบนั ๑๘

๒.๒ ระยะที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๓๗ - ๒๕๔๔ เมื่อพุทธศักราช ๒๕๓๘ กรมสามัญศึกษาเห็นว่าโรงเรียนสตรีวิทยา ๒ ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จ พระศรีนครนิ ทราบรมราชชนนี มชี ื่อเสียงเป็นทนี่ ิยมของผู้ปกครองมากขึ้น เห็นได้จากการที่ผู้ปกครองพากันส่ง บุตรหลานเข้าเรียนเพ่ิมข้ึนเกินกว่าโรงเรียนจะรับไว้ได้หมดทุกปี ประกอบกับโรงเรียนมีพื้นที่กว้างใหญ่ถึง ๘๐ ไร่ ๔๕ ตารางวา สมควรใช้ทีด่ ินของโรงเรียนให้คุ้มค่าท่ีสุด กรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ จึงประกาศ จัดตงั้ เป็น “โรงเรยี นสตรวี ิทยา ๒ มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ ” เมอื่ วนั ที่ ๒๕ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๓๗ ตั้งอยู่บนพื้นที่เดิม ทางทิศเหนือของโรงเรียนสตรีวิทยา ๒ โดยให้รับเฉพาะระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ส่วนโรงเรียนสตรีวิทยา ๒ นั้น จะรับเฉพาะนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ซึ่งในระหว่างนี้ได้มีการพัฒนาในด้านต่าง ๆ ประกอบดว้ ย ๑. ดา้ นกายภาพ มุ่งเน้นที่จะพัฒนาโรงเรียนภายใต้กรอบท่ีว่า “โรงเรียนของเราต้องสะอาดและสดใสสมกับเป็นแหล่ง ความรู้” โดยการใช้ทรัพยากรด้านอาคารสถานที่ให้คุ้มค่าก่อให้เกิดประโยชน์แก่นักเรียนมากที่สุด จัดแหล่ง เรียนรู้ทเ่ี ก่ียวกับการเสริมสรา้ งสขุ ภาพและพลามยั ของนักเรียนให้สมบูรณ์ ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ โดยใช้หลัก Keep Out School Clean & Green ๒. ดา้ นวิชาการ มคี วามมุ่งม่นั ทีจ่ ะพัฒนาคุณภาพของนกั เรยี นทุกคนตามศกั ยภาพ โดยจดั แบ่งนักเรยี นออกเป็น ๓ กลุ่ม คือ กลุ่ม Express กลุ่ม Normal กลุ่ม Below Normal เพ่ือความเหมาะสมในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และพัฒนาอย่างเหมาะสมทาให้นักเรียนเจริญไปพร้อม ๆ กันโดยจัดให้เกิดกิจกรรมต่าง ๆ อย่างหลากหลาย เช่น - สนบั สนนุ ใหก้ ลุ่มสาระการเรยี นรู้ จัดนทิ รรศการแสดงความรู้ความสามารถของนักเรียน - จดั ให้มกี ารเฝา้ ระวังการติด ศูนย์ ร มส. และ มผ. ใหเ้ ปน็ ระบบมากขึน้ - จัดคา่ ยวิชาการสาหรับนกั เรียนทจ่ี ะไปศกึ ษาตอ่ ในระดับอุดมศกึ ษา - จัดให้มกี ารสอบวัดความรู้ความสามารถโดยใช้ข้อสอบระดับชาติและขอ้ สอบของโรงเรียน - จดั ให้มีนกั เรยี นในกลุม่ “Gifted Student” ในระดับชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๑ และระดบั ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๔ ส่งเสรมิ นักเรยี นท่มี ีความสามารถพเิ ศษในดา้ นดนตรี กฬี า และศลิ ปะ ให้มคี วามเป็นเลศิ - สรา้ งบรรยากาศทางดา้ นการศึกษาโดยการพัฒนาห้องสมดุ ศนู ย์การเรียนและสือ่ เทคโนโลยตี า่ ง ๆ - เปดิ ศนู ยภ์ าษาสากล (ภาษาอังกฤษ) เพอื่ การศึกษาค้นควา้ (Self- Access and Learning Centre) หน่วยกำรเรียนรทู้ ี่ ๒ ยคุ ทองของกำรพฒั นำสถำบัน ๑๙

ศูนย์ภาษาสากล (ภาษาอังกฤษ) เพื่อการศึกษาค้นคว้า (Self- Access and Learning Centre) ๓. ดา้ นการบริหารทว่ั ไป พัฒนาระบบการบริหารการจัดการในกรอบ Self-Management หรือ S B M ให้ชัดเจนและเป็นรูปธรรม เพ่ือความสะดวกในการดาเนนิ งาน โดยเน้นการเสรมิ สร้างความเปน็ เอกภาพทง้ั การบรหิ าร และการบังคับบัญชา ในระบบ ๓ FS คือ บริหารโดยยึดระบบหลักการมีส่วนรวม บริสุทธ์ิยุติธรรม ตรวจสอบได้ เน้นความมีมนุษย สมั พนั ธม์ ากกว่าการบรหิ ารจดั การ การพัฒนาในระยะท่ี ๒ ทาใหโ้ รงเรียนสตรวี ิทยา ๒ สะอาด มีหอ้ งสมดุ ทท่ี ันสมัย มีสื่อเทคโนโลยี หอประชุม อาคารอเนกประสงคเ์ พ่ือการเรยี นรู้ เหมาะกับการจัดการเรียนการสอนในทุกสาระการเรียนรู้ และทุกห้องเรียน ครบครันด้วยส่ืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ มีสนามกีฬาที่ได้มาตรฐานและเหมาะสมกับการใช้งาน และมีสถานที่ พักผ่อนยามว่างจากการเล่าเรียนมีห้องเรียนท่ีสวยงาม เหมาะสม และเพียงพอที่จะสนองความต้องการของ ลกู สตรวี ิทยา ๒ ๒.๓ ระยะที่ ๓ พ.ศ. ๒๕๔๔ - ๒๕๖๑ เมื่อพุทธศักราช ๒๕๔๔ โรงเรียนสตรีวิทยา ๒ (ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย) และโรงเรียนสตรีวิทยา ๒ มัธยมศึกษาตอนต้น (ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น) ได้กลับมารวมกันอีกครั้งเป็น โรงเรียนสตรีวิทยา ๒ ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี จึงเริ่มต้นการพัฒนาอย่างม่ันคงเป็นหน่ึงเดียวกัน เมื่อพุทธศักราช ๒๕๔๖ กรมสามัญศึกษาได้ยกวิทยฐานะเป็นสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ ซ่ึงโรงเรียนสตรีวิทยา ๒ จึงต้อง ปรับเปลี่ยนการบริหารราชการให้เป็นไปตามนโยบายของกระทรวงด้านการพัฒนาทางด้านนวัตกรรม และเทคโนโลยีระบบดิจิทัล โรงเรียนได้มุ่งเน้นวิชาการท่ีเข้มข้นประกอบใช้เทคโนโลยีเต็มรูปแบบ โดยจัดการ เรยี นการสอนในรปู แบบใหมเ่ พือ่ ให้สอดคล้องกบั การเรยี นรู้ในศตวรรษท่ี ๒๑ หนว่ ยกำรเรียนรทู้ ี่ ๒ ยุคทองของกำรพฒั นำสถำบัน ๒๐

ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น ๑. แผนการเรียนห้องเรียนพิเศษภาษาองั กฤษ (English Program : EP) ๒. แผนการเรียนห้องเรียนพเิ ศษวทิ ยาศาสตรแ์ ละคณิตศาสตรเ์ ขม้ ขน้ (ISM) ๓. แผนการเรยี นหอ้ งเรยี นภาษาอังกฤษเข้มข้น ๔. แผนการเรียนหอ้ งเรยี นภาษาจนี เข้มข้น ๕. แผนการเรยี นห้องเรียนคอมพวิ เตอร์เข้มขน้ ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย ๑. แผนการเรยี นห้องเรยี นพเิ ศษภาษาองั กฤษ (The Special Program : SP) ๑.๑ แผนการเรียนหอ้ งเรียนพิเศษภาษาองั กฤษ (SP) วทิ ยาศาสตร์-คณติ ศาสตร์ ๑.๒ แผนการเรียนหอ้ งเรยี นพิเศษภาษาองั กฤษ (SP) ภาษาอังกฤษ-คณิตศาสตร์ ๒. แผนการเรียนห้องเรยี นพิเศษวทิ ยาศาสตร์และคณิตศาสตรเ์ ขม้ ข้น (ISM) ๓. แผนการเรียนวทิ ยาศาสตร์-คณติ ศาสตร์ ๔. แผนการเรียนภาษาอังกฤษ-คณิตศาสตร์ ๕. แผนการเรียนภาษาองั กฤษ-สงั คมศกึ ษา ๖. แผนการเรียนภาษาอังกฤษ-ภาษาจีน ๗. แผนการเรยี นภาษาอังกฤษ-ภาษาญ่ีปุ่น ๘. แผนการเรยี นภาษาองั กฤษ-ภาษาฝร่งั เศส ห้องเรียนพิเศษ เกิดข้ึนเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาครูและบุคลากรทางการศึกษา โดย การขับเคล่ือนนักเรียนตามศักยภาพ พร้อมนาโรงเรียนสตรีวิทยา ๒ ในพระราชูปถัมภ์ฯ ก้าวนาและ ขับเคลือ่ น จนกระทั่งเป็นตน้ แบบโรงเรียนในวงการการศึกษาของไทยในยุคศตวรรษที่ ๒๑ รวมท้ังเป็นกลไก ประสานบา้ น วัด โรงเรียน ให้เปน็ อนั หนึง่ อนั เดยี วกนั ในแต่ละระยะของการพัฒนาโรงเรียนย่อมมีอุปสรรค ในการพัฒนาท้ังส้ิน แต่ด้วยความร่วมมือร่วมใจต้ังแต่ผู้อานวยการซึ่งเป็นผู้นาในการพัฒนาอย่างไม่หยุดนิ่ง ครู อาจารย์ และบุคลากร ตลอดจนนักเรียนได้ร่วมมือ ร่วมใจรักษาระดับคุณภาพและรักษามาตรฐานทาง การศึกษาให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล จนกระทั่งขับเคล่ือนองค์กรให้ผ่านมาได้ประสบความสาเร็จ มีมาตรฐานดีเย่ียม เปน็ ตัวอย่างแกโ่ รงเรียนอน่ื ๆ ในพ้นื ทีก่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต ๒ โรงเรียนสตรีวิทยา ๒ ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ในทุกวันนี้ มีการพัฒนาการจนประสบความสาเรจ็ เพราะบคุ คลสาคญั ท่ีกล่าวมาแล้วช่วยต่อยอดปณิธานเม่ือคร้ังก่อตั้ง จากรนุ่ หน่ึงไปยงั รนุ่ ต่อๆ มา ต้ังแต่ผู้ก่อต้ัง ผู้สานต่อ คณาจารย์ บุคลากร เจ้าหน้าท่ี และที่เป็นหัวใจสาคัญ คือ ศิษย์รุ่นแล้วรุ่นเล่าที่ยังคงรักษาระดับคุณภาพ ชื่อเสียง ตลอดจนความรักในสถาบันการศึกษาแห่งนี้ ทาใหเ้ กยี รติยศของสตรีวทิ ยา ๒ ดารงอยู่ค่ปู ระเทศไทยสืบไป หนว่ ยกำรเรียนรู้ที่ ๒ ยุคทองของกำรพัฒนำสถำบัน หนว่ ยกำรเรียนรู้ที่ ๒ ยุคทองของกำรพฒั นำสถำบัน ๒๑

๒.๔ ระยะที่ ๔ พ.ศ. ๒๕๖๒ - ปัจจุบนั ปัจจุบันโรงเรียนสตรีวิทยา ๒ ในพระราชูปถัมภ์ฯ ได้มีการบริหารโรงเรียนภายใต้คณะผู้บริหาร ของผู้อานวยการกัญญาพัชญ์ กานต์ภูวนันต์ ซ่ึงทาให้โรงเรียนได้มีการพัฒนาในด้านต่าง ๆ มากยิ่งข้ึน ดงั รายละเอียดตอ่ ไปนี้ ๑. การสรา้ งศนู ยก์ ารเรยี นรู้ ๑.๑ สร้างศูนย์พฒั นาศักยภาพบุคคลเพื่อความเป็นเลิศ (Human Capital Excellence Center) โรงเรียนสตรีวิทยา ๒ ได้รับคัดเลือกเป็นต้นแบบศูนย์พัฒนาศักยภาพบุคคลเพื่อความเป็นเลิศ (Human Capital Excellence Center : HCEC) จากกระทรวงศึกษาธิการ โดย นายณัฏฐพล ทีปสุวรรณ รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ได้เป็นประธานเปิดศนู ย์ ณ โรงเรียนสตรีวิทยา ๒ ในพระราชูปถัมภ์ฯ เม่ือวันท่ี ๑๙ กนั ยายน ๒๕๖๓ โดยมี นางกญั ญาพัชญ์ กานตภ์ ูวนันต์ ผู้อานวยการโรงเรียนกล่าวต้อนรับและพาเยี่ยมชมศูนย์ HCEC ศูนยต์ ้นแบบ ซ่งึ ศนู ย์ HCEC มีเป้าหมายหลกั ในการชว่ ยใหร้ ะบบการศึกษาดีขนึ้ ด้วยการพัฒนาวิชาชีพครู ใน การพัฒนาวิชาชีพซึ่งเป็นที่ต้องการของตลาด โดยมุ่งหวังให้เป็นศูนย์พัฒนาศักยภาพและเพิ่มขีดความสามารถใน ทักษะต่าง ๆ ที่จาเป็นในศตวรรษท่ี ๒๑ ในเขตพ้ืนท่ีการศึกษาเพื่อให้ครูและบุคลากรทางการศึกษาสามารถพัฒนา ตนเองได้อย่างต่อเนื่องและตลอดเวลาเพ่ือนาความรแู้ ละทกั ษะไปพฒั นาผูเ้ รียนใหม้ ีคุณภาพยงิ่ ข้นึ ไป ๑.๒ สรา้ งอาคารอเนกประสงค์ การพัฒนาโรงเรียนสตรีวิทยา ๒ ในพระราชูปถัมภ์ฯ ปัจจุบันดาเนินการตามนโยบายการจัด การศึกษาเพ่ือการมีงานทาตามยุทธศาสตร์ชาติและแผนการศึกษาแห่งชาติ ห้องปฏิบัติการกลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพเดิมไม่สามารถรองรับนักเรียนท่ีเพ่ิมข้ึนได้และมีความทรุดโทรมจึงมีแผนสร้างอาคารอเนกประสงค์ ข้ึนเพื่อรองรับการเปิดรายวิชาเลือกเสรีและเป็นศูนย์การเรียนรู้ของกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพเพ่ือให้ นักเรียนเขา้ ไปศกึ ษา ค้นควา้ หรอื ฝึกปฏบิ ตั ิเพ่อื ให้เกดิ ประโยชนส์ งู สดุ หนว่ ยกำรเรียนรู้ที่ ๒ ยคุ ทองของกำรพฒั นำสถำบนั ๒

๒. การปรับปรงุ ระบบโครงสร้างพื้นฐาน โรงเรียนสตรีวิทยา ๒ ในพระราชูปถัมภ์ฯ เป็นโรงเรียนที่เปิดทาการเรียนการสอนมากว่า ๔ ทศวรรษ โครงสร้างพื้นฐานหลายอย่างย่อมเสื่อมโทรมหรือเสื่อมสภาพไปตามกาลเวลา ในปัจจุบันน้ีจึงถือว่าเป็นยุคทองของ การพัฒนาและปรับปรุงโครงสร้างพ้ืนฐานของโรงเรียน ซ่ึงท่านผู้อานวยการ ดร.กัญญาพัชญ์ กานต์ภูวนันต์ ใช้ หลักการ SW2 ในการพัฒนาโรงเรียน คือ S1 Safe ปลอดภัยต่อผู้เรียนและบุคลากรในโรงเรียน S2 Speed แก้ไข ปัญหาอยา่ งรวดเร็ว W1 Well การดาเนินงานต้องดีและมีคุณภาพ W2 Whole ทุกคนสามารถเข้าถึงและได้รับการ บริการอย่างเทา่ เทยี ม ตลอดระยะเวลา ๑ ปี ท่านผ้อู านวยการไดพ้ ัฒนาและปรับปรุงระบบโครงสร้างพื้นฐานอันเป็น ประโยชน์แก่นักเรยี นและบคุ ลากรในโรงเรียนดงั นี้ ๒.๑ ปรบั ปรุงถนนรอบอาคารสมเดจ็ พระศรีนครนิ ทร์ ๒.๒ ปรบั ปรงุ ภมู ิทศั นภ์ ายในโรงเรยี น ๒.๓ ปรบั ปรุงหอ้ งน้านักเรียน ๒.๔ เปล่ยี นหลังคาหอประชมุ คณุ หญิงบุญเจือ ไชยภฏั หนว่ ยกำรเรียนรู้ที่ ๒ ยคุ ทองของกำรพฒั นำสถำบนั ๒๓

๒.๕ ปรับปรุงหอ้ งเรียนและห้องปฏบิ ตั กิ าร ๒.๖ เปลย่ี นโปรเจคเตอรห์ ้องเรียนพเิ ศษ English Program ๒.๗ ปรับปรุงศนู ย์ปฏิบตั กิ ารคอมพิวเตอร์ ๒.๘ ตดิ ตงั เครือข่ายสญั ญาณ WiFi หน่วยกำรเรียนรู้ที่ ๒ ยุคทองของกำรพัฒนำสถำบัน ๒๔

๒.๙ บรู ณปฏสิ ังขรณ์พระพทุ ธรูปประจา้ โรงเรียน ๒๕ ๒.๑๐ ปรบั ปรงุ โรงอาหาร ๒.๑๑ ปรบั ปรงุ ห้องสมดุ ๒.๑๒ ปรับปรุงระบบนา้ ประปา ๒.๑๓ ปรบั ปรุงหอประชมุ คณุ หญงิ บุญเจือ ไชยภัฏ หน่วยกำรเรียนร้ทู ี่ ๒ ยุคทองของกำรพฒั นำสถำบนั

๓. การรับมอื กับสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 ในปัจจบุ นั ท่ัวโลกตกอยใู่ นสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) กระทบ ทั้งระบบเศรษฐกิจและระบบการศึกษา การจัดการศึกษาจึงต้องคานึงถึงความปลอดภัย ซึ่งนักเรียนทุกคนจะต้อง ผ่านหลักสูตรโดยมีความความรู้ ทักษะ คุณลักษณะ และสมรรถนะสาคัญตามจุดมุ่งหมาย ท่านผู้อานวยการ ดร.กัญญาพัชญ์ กานต์ภูวนันต์ จึงมอบนโยบายให้คุณครูจัดการเรียนการสอนผ่าน Pikul Online Platform และ อบรมเชิงปฏิบัติการให้นักเรียนและครูมีความรู้ในด้านการใช้เทคโนโลยีเพ่ือการศึกษาอย่าง Microsoft Team เพ่ือ รบั มือกบั สถานการณ์ดงั กล่าว นอกจากนี้ดา้ นความปลอดภัยท่านได้ปฏบิ ตั ติ ามมาตรการของศูนย์บริหารสถานการณ์ แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 อย่างเคร่งครัดส่งผลให้โรงเรียนสตรีวิทยา ๒ ในพระราชูปถัมภ์ฯ ประสบความสาเร็จในการบรหิ ารงานภายใตส้ ถานการณฉ์ ุกเฉิน ๓.๑ พ่นน้ายาฆ่าเชือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ๓.๒ ตดิ ตัง Thermoscan Infrared Camera และแท่นกดเจลแอลกอฮอร์ ๓.๓ ตรวจหาเชอื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) แก่ครแู ละนกั เรยี นในกลมุ่ ท่มี คี วามเสย่ี งสูง ๓.๔ อบรมการใช้ Microsoft Team หนว่ ยกำรเรียนรู้ที่ ๒ ยคุ ทองของกำรพัฒนำสถำบัน ๒๖

๔. การพฒั นาด้านการศกึ ษา การพัฒนาด้านการศึกษาภายใต้การนาของ ดร.กัญญาพัชญ์ กานต์ภูวนันต์ ท่านได้ให้ความสาคัญกับการจัด การศึกษาทต่ี อบสนองนโยบายของกระทรวงศกึ ษาธิการโดยเฉพาะการจัดการศึกษาเพื่อการมีงานทา มีการประสาน ความร่วมมือกับองค์กรท้ังภาครัฐและเอกชนเพื่อเพิ่มศักยภาพในการจัดการศึกษา นอกจากน้ี มีการเปิดหรือเพิ่ม แผนการเรยี นตามความสนใจของนักเรียนและผู้ปกครอง ดังนี้ ๔.๑ เปิดแผนการเรียนใหม่ - แผนการเรียนวิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ และปญั ญาประดษิ ฐ์ (ISMAI) - แผนการเรยี นภาษาองั กฤษ-เกาหลี ๔.๒ เพิ่มหอ้ งเรียนเขม้ ข้น - ห้องเรียนภาษาองั กฤษเข้มขน้ เพม่ิ เปน็ ๓ หอ้ งเรียน - หอ้ งเรยี นคอมพวิ เตอร์เขม้ ขน้ เพม่ิ เปน็ ๒ หอ้ งเรยี น ๔.๓ หลกั สูตรการจดั การศึกษาเพื่อการมีงานทา้ ดาเนินการจัดทาหลักสูตรการจัดการศึกษาเพื่อการมีงานทาสนองนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ โดยจัดรายวชิ าเลอื กเสรีเพอ่ื การสารวจตนเองสาหรบั นักเรียนระดบั ช้นั มัธยมศึกษาตอนต้น และจัดวิชาเลือกเสรีตาม แผนการเรียนของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ซึ่งโรงเรียนได้รับรางวัลชนะเลิศ เหรียญเงิน จากผลการ ดาเนนิ งานที่ดีเยยี่ ม Best Practice เรอ่ื ง ESCARE Model การจัดการศกึ ษาเพอื่ การมีงานทา ๔.๔ เขา้ ร่วมโครงการหอ้ งเรียนวิทยาศาสตรต์ ามแนวทาง สสวท. และ สอวน. โรงเรียนสตรีวิทยา ๒ ในพระราชูปถัมภ์ฯ ได้เข้าร่วมโครงการยกระดับคุณภาพห้องเรียน วิทยาศาสตร์ตามแนวทาง สสวท. และ สอวน. ผลจากการประเมินหลักสูตรสถานศึกษารอบท่ี ๑ มีระดับคุณภาพ ร้อยละ ๑๐๐ ๔.๕ หลักสตู รสตรวี ิทยา ๒ ในพระราชูปถัมภ์ฯ ศกึ ษา งานพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาได้รับมอบหมายจาก ดร.กัญญาพัชญ์ กานต์ภูวนันต์ ให้พัฒนา หลักสูตรที่บูรณาการหลักสูตรท้องถ่ินและหลักสูตรโรงเรียนมาตรฐานสากล เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ผู้เรียน สามารถนาไปย่อยอดในการเรียนวิชา Inderpendent Study (IS) ในอนาคต โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือให้นักเรียน รู้และเข้าใจบริบทของโรงเรียน และเพื่อให้นักเรียนมีความรักและภาคภูมิใจในโรงเรียนสตรีวิทยา ๒ ในพระ ราชูปถมั ภ์ฯ ๔.๖ การพฒั นาโครงข่าย Pikul Online Platform หน่วยกำรเรียนรูท้ ี่ ๒ ยุคทองของกำรพฒั นำสถำบนั ๒๗

๓หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี สัญลักษณ์รอบร้ัวขาวแดง ตราโรงเรียนประกอบด้วย ดอกพกิ ลุ รัศมี สญั ลกั ษณ์อักษรยอ่ ส.ว.๒ และพุทธศาสนสภุ าษติ เข็มโรงเรียน ผู้มสี ิทธใ์ิ ชค้ อื นกั เรียนโรงเรียนสตรวี ทิ ยา ๒ ในพระราชูปถัมภฯ์ ระดับมัธยมศึกษา ตอนปลายเท่านัน้ เข็มโรงเรียนเป็นองคร์ วมของสิง่ ที่รักของสถาบันเข้าไว้เป็นหน่ึงเดียว จึงเป็นสัญลักษณ์ของหลักการ และเป้าหมายของสถาบันการศึกษาท่ีดี เข็มโรงเรียน ประกอบด้วยดอกพกิ ลุ รัศมี สัญลกั ษณ์อักษรย่อ ส.ว.๒ และพุทธศาสสุภาษิต หน่วยกำรเรียนร้ทู ี่ ๓ สญั ลักษณร์ อบรั้วขำวแดง ๒๘

พระมหากรณุ าธิคณุ \"พระมหากรุณาธิคุณ\" อันเป็นท่ีพ่ึงยึดเหน่ียวจิตใจ และเป็นท่ีเคารพสักการะของชาว ส.ว.๒ ทุกคน ตามนโยบาย ของกระทรวงศึกษาธิการกาหนดโครงการจัดหาพระพุทธรูป ประจาสถานศึกษาในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ เพื่อ ให้สถานศึกษามีพระพุทธรูปไว้สักการะบูชา และเป็นส่ือยึด เหน่ียวจิตใจของเยาวชนให้ใกล้ชิดพระพุทธศาสนา ประพฤติ ปฏิบัตธิ รรมมากยง่ิ ข้นึ ดังน้ันโรงเรียนจึงเชิญชวนผู้มีจิตศรัทธา อนั ได้แก่ คณะครู นักเรยี น และผู้ปกครองได้สละบริจาคทรัพย์ ร่วมกันสร้างจนแล้วเสร็จและฉลองสมโภชพระพุทธรูป ซึ่ ง มี น า ม เ ฉ พ า ะ ว่ า \" พ ร ะ ม ห า ก รุ ณ า ธิ คุ ณ \" ใ น วั น ท่ี ๑๙ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๒๙ พระพุทธรูปองค์น้ีเป็นปางประทานพร ประทับยืน ยกพระหัตถ์ซ้ายข้ึนหงายพระหัตถ์ออกไปข้างหน้า พระหัตถ์ ขวาห้อยแบ หันฝ่าพระหัตถ์ออกไปข้างหน้า เป็นกิริยา ประทานพร พระพุทธชินศรรี ัตนมนุ ี พ ร ะ พุ ท ธ รู ป อ ง ค์ นี้ ไ ม่ ป ร า ก ฏ ป ร ะ วั ติ ก า ร ส ร้ า ง ที่ ชั ด เ จ น มีการบันทึกว่าสร้างข้ึนราวปี พ.ศ. ๒๕๓๗ พร้อมกับการสร้าง อาคาร ๑๑ และ ๑๒ (อาคารเรียน ๗ ช้ัน) ประดิษฐานในหอ พระจินตนิมิต บริจาคโดย นางเป่ียมจิตต์ มาลีกรัย และ นางจินตนา พวงงาม เม่ือครั้งกระทรวงศึกษาธิการประกาศ จัดตั้งโรงเรียนสตรีวิทยา ๒ มัธยมศึกษาตอนต้น เม่ือปี พ.ศ. ๒๕๓๗ หนว่ ยกำรเรียนรู้ที่ ๓ สญั ลักษณร์ อบรว้ั ขำวแดง ๒๙

เพลงมาร์ช ส.ว.๒ เนือร้อง บุญส่ง อุษณรัศมี เรียบเรยี ง ประยงค์ ชน่ื เย็น ขบั ร้อง ร.ท.สาโรจน์ จาคะ พจอ.หญงิ กฤษณา ทองถาวรวงศ์ ทา้ นอง สเุ ทพ อภิณหพานชิ พจอ.หญิง นภาพร พงศ์อคั รวาณิช พจอ. ธนู วนะสิทธ์ิ เกยี รติคุณเราภมู ิใจในนามนี้ ส.ว.๒ ตรงึ ฤดีเราใฝฝ่ นั สร้างศักดิศ์ รสี ร้างคุณคา่ สถาบนั ผกู สัมพนั ธ์สามัคคีมีทุกคน เรียนเด่น เล่นดี มีวนิ ยั สูงสง่ ในปญั ญาเราฝึกฝน ศิษย์ทกุ คนไม่ย่อท้อขอทาดี เสียสละกลา้ แกรง่ เป็นแรงดล แม้อยู่ท้องทุ่งกล้าไม่ถอยหนี สญั ลกั ษณพ์ ิกลุ เด่นเป็นสง่า แม้มลายทกุ ชวี ีจามลิ มื สขี าวแดงคือธงชยั ไร้ราคี เพลงลูกพกิ ุล ท้านอง ล้วน ควันธรรม คา้ ร้อง ยุพา เลศิ วานชิ เรยี บเรียง/ดนตรี ประยงค์ ช่ืนเยน็ ขบั รอ้ ง สเุ ทพ วงศก์ าแหง ยามเมอ่ื ลมโชยกล่ินพกิ ลุ กล่ินกร่นุ ระรื่นชน่ื ใจ ดอกนวลขาวพราวพรา่ งพิไล ฉันเกบ็ ไวแ้ นบฤทัย เพราะในนิยมเร่ือยมา เธอนนั้ หรอื คอื ลูกพิกุล เกือ้ หนนุ คณุ ครบู ชู า เพียรฝกึ ฝน สตปิ ญั ญา ชนั้ เชงิ เช่ียวชาญนักหนา ลา้ คา่ ควรค่ผู นู้ า เรียนเดน่ เล่นดี มีวินัย ใฝ่ใจ นยิ มคุณธรรม ปลอ่ ยจิตว่าง ไม่สร้างผลกรรม รักคุณความดีทท่ี า สมคาวา่ พกิ ลุ ยามดอกบานก็ส่งกล่ินหอม ถกู เด็ดดอมกย็ งั หอมกร่นุ เธอน้ันหรือคอื ลกู พกิ ลุ ลา้ ค่าเลอคุณ สังคมชืน่ ชมนาน หนว่ ยกำรเรียนร้ทู ี่ ๓ สัญลักษณ์รอบร้ัวขำวแดง ๓๐

เพลง สขุ ใจ ส.ว.๒ คา้ รอ้ ง บญุ ส่ง อุษณรัศมี ทา้ นอง สเุ ทพ อภิณหพาณชิ ย์ ขับรอ้ ง ร.ท.สาโรจน์ จาละ พจอ. ธนู วนะสิทธิ์ พจอ.หญิง กฤษณา ทองถาวรวงศ์ สุขใดไหนจะเทา่ สตรีวิทยาสองน้นี า บ้านของเราสุขอุรา พจอ.หญิง นภาพร พงศอ์ ัครวาณิช แหลง่ ใหก้ ารศกึ ษา คมุ้ ชีวาเรารม่ เยน็ บ้านทส่ี องผ่องเพ็ญ และปัญญาไม่ลาเคญ็ ครูอาจารยเ์ ข้าใจ สวยดเี ด่นทุกคนื วนั สง่ เสรมิ และสรา้ งสรรค์ สอนสงั่ ใหจ้ ่อจติ มัน่ จรรยามารยาท เราไม่หวนั่ เรื่องการเรยี น เราทกุ คน รกั โรงเรียน แพรวพิลาศ แม้นเขียน ส.ว.๒ ไมร่ องใคร เพลง ดอกพิกลุ ท้านอง นคร ถนอมทรพั ย์ ขบั รอ้ ง สรอ้ ยจนั ทร์ จตุพร ค้ารอ้ ง บุญส่ง อุษณรศั มี เรียบเรยี ง / ดนตรี ประยงค์ ชน่ื เย็น ชน่ื ชีวนั ขวัญชวี าพาสขุ ศรี เหล่าสตรีวทิ ยส์ อง ปองสขุ สนั ต์ ไดม้ าเรียน ได้มาเล่น ไดเ้ หน็ กนั ความผกู พนั สรา้ งความรกั สามัคคี ดอกพกิ ุล ส่งกลิ่นหอม น้อมนาใจ พราวไสวเนน้ เดน่ ในศักดศ์ิ รี ธงขาวแดง คอื องคพ์ ระผู้ปรานี สร้างชวี ใี ห้ชืน่ บาน สราญชนม์ ใครไดม้ า รว่ มพึง่ พาอยู่อาศัย สขุ อะไรมิเทา่ เราสขุ ล้น สตรีวิทยส์ อง เป็นของเราทุกคน รว่ มกมล มอบรักไว้ ไมเ่ สื่อมคลาย หนว่ ยกำรเรียนรทู้ ี่ ๓ สญั ลกั ษณ์รอบรวั้ ขำวแดง ๓๑

เพลง ราวงสตรีวิทยา ๒ คา้ ร้อง-ทา้ นอง อโศก สขุ ศรีพรฤทธ์ิ เรยี บเรียง / ดนตรี ประยงค์ ชน่ื เย็น ขับร้อง อโศก สุขศรีพรฤทธ์ิ วศิ ณุ มหามิตร นางสาวกฤติยา กลพิสุทธ์ิ นางสาวเสริมรศั มี เภาวนันทน์ สุขศรพี ี่น้องปองปรีดา สตรีวิทยาสอง ครองความสดใส เสริมสร้างศักดศ์ิ รี ให้เกริกไกร ต่างก็รักใคร่ ส.ว.๒ ของเรา ช่ืนชม นิยมคณุ ค่า ศรัทธาภมู ใิ จ ในศษิ ยใ์ หม่เกา่ นา้ ใจ รูจ้ ักหนกั เบา สง่ เสริมพวกเรา ใหเ้ ปน็ คนดี เชญิ ชวน ให้นอ้ งออกรา คู่กันงามขา ชื่นฉ่าชีวี เชือ่ มความสมั พันธ์ มั่นไมตรี ท้ังนอ้ งพี่ ท่วงทีชวนมอง พช่ี วน น้องก็ไม่ชา้ เพราะความศรัทธา ใน ส.ว.๒ เรามาพรอ้ มหน้า พรอ้ มตาปรองดอง เรงิ ร่าราร้องให้สุขในอรุ า สขุ ศรพี ีน่ อ้ ง ปองปรีดาสตรวี ิทยา ชวี าสดใส เสริมศักดศิ์ รี ใหเ้ กริกไกร ตา่ งกร็ ักใคร่ ส.ว.สองของเรา ชนื่ ชมนิยมคณุ ค่า ศรัทธาภูมใิ จ ในศษิ ย์ใหม่เก่า น้าใจรู้จกั หนกั เบา สง่ เสรมิ พวกเรา ให้เป็นคนดี หอมกลิ่นพิกลุ ลอยไกล รอ้ ยเปน็ มาลยั นาไปบชู า องค์พระมหากรุณา มาเถดิ อย่าช้า อยา่ ชา้ รา่ ไร นอ้ งร้อยมาลัยสองสี ขาวแดงน้ันมี ความหมายวา่ ไว้ ผูกพันยดึ มั่น ดวงใจสร้างคณุ คา่ ใน ความรักสามคั คี หน่วยกำรเรียนร้ทู ี่ ๓ สัญลักษณร์ อบรวั้ ขำวแดง ๓๒

เพลงอาลัยพิกุล ท้านอง สงา่ อารมั ภรี ์ ค้ารอ้ ง บญุ ส่ง อุษณรัศมี ขับรอ้ ง รท.สาโรจน์ จาละ พจอ.ธนู วนะสิทธ์ิ พจอ.หญงิ กฤษณา ทองถาวรวงษ์ พจอ.หญิง นภาพร พงศอ์ ัครวาณิช ลากอ่ น ถ่ินท่ีรกั ดั่งดวงจิต ลาทั้งท้ัง ที่ยัง คดิ ถงึ เสมอ ลาพิกลุ ต้นเก่า เหงาจรงิ เออ กว่าจะเจอ พบกัน ฉนั จาลา องคเ์ อย พระมหาการุณสยาม ทกุ โมงยาม กราบไหวซ้ ึง้ ใจมัน่ ตอ้ งจาไกล ท้ังท่ีใจ ยงั ผูกพัน คอยนับวนั กลับมาเยือน เหมอื นเช่นเคย ตะวนั รอน อ่อนแสง สิ้นแรงฉาย ใจแห้งหาย คาเอย่ ลา ไม่กล้าเผย ประทบั ภาพ พิมพ์ไว้ ใจเจา้ เอย โอ้เพื่อนเอย๋ ตอ่ แตน่ ้ี มแี ตไ่ กล น้าตาริน ยินสาเนียง เสยี งหวานแวว่ ระฆงั แกว้ กังสดาล ขานคาไข สัญญาลา เหมือนสญั ญา จะขาดใจ นานเทา่ ไร จะไดก้ ลบั รบั ขวัญคนื เพลง ส.ว.๒ คะนองเพลง ทา้ นอง พยงค์ มุกดา (ศิลปนิ แห่งชาติ) ค้ารอ้ ง บุญสง่ อษุ ณรัสมี เรียบเรยี ง/ดนตรี ประยงค์ ช่นื เย็น ขบั รอ้ ง ปทั มา ปานทอง ภูมิใจในเพลงลา้ ค่า ศรทั ธาในเลอื ดแดงขาว สตรวี ิทย์สอง ผุดผ่องเหมือนดาว สกาวพราวแพรวนภา เรียนเด่นเลน่ ดี มีหลัก เพราะเราตระหนัก คุณค่า สง่ เสรมิ สร้างสรรคบ์ รรดา เยาวชนคนกล้าเกรยี งไกร รัศมีสีทอง ผอ่ งผดุ งามประดจุ เพชรดสี ใี ส โอบล้อมพกิ ลุ กร่นุ กาจาย สร้างสายสัมพันธ์ ม่นั คง จดุ หมายปลายทางข้างหน้าหนา้ แกร่งกลา้ วทิ ยา ดงั่ ประสงค์ เชดิ ชู ส.ว.๒ ดารง สูงสง่ ศักดิศ์ รี นิรันดร หน่วยกำรเรียนรู้ที่ ๓ สญั ลักษณ์รอบร้วั ขำวแดง ๓๓

เพลง พิกลุ ท้านอง ธนิดา ผลประเสริฐ ค้าร้อง บญุ สง่ อษุ ณรสั มี เรียบเรียง/ดนตรี ประยงค์ ชน่ื เย็น ขับร้อง วินยั พันธุรกั ษ์ หอมกลนิ่ พิกุลกร่นุ กลน่ิ ละมนุ ละไมค่า ช่นื ใจไปทุกครา สร้างคณุ ค่าสารพนั ผลดิ อกออกชชู อ่ งามลอออวดสีสัน ดอกเก่าโชยกล่ินกลั่น ดอกใหม่นั้นอบอวลอาย คือศษิ ย์พิกุลแกว้ เพริศแพร้วเกนิ บรรยาย แน่นหนักท้ังใจกาย มนุ่ ม่ันหมาย ใฝท่ าดี พกิ ลุ ยัง ส่งกลิน่ หอมรวยรนิ ไปทกุ ที่ ทุกทวิ าและราตรี งามศักดศิ์ รีลูกพกิ ลุ เพลง แดง – ขาว ท้านอง คณุ หญงิ บุญลือ ไชยภัฏ ค้าร้อง สเุ ทพ อภณิ หพาณชิ ย์ เรียบเรียง/ดนตรี ประยงค์ ช่ืนเยน็ ขบั ร้อง ทพิ วรรณ ปิ่นภิบาล สีแดงเปรียบแรงแห่งความรกั ในเกยี รตศิ ักด์ิ ส.ว.๒ ทัง้ นอ้ งพ่ี ใหม้ งุ่ รกั คณุ ธรรมและความดี สดดั่งสเี ดน่ แดง มแิ ปลงไป สีขาวนวล คอื สพี ิกลุ แกว้ สญั ลกั ษณ์เพรศิ แพร้ว ประทานให้ ยึดคุณค่าหอมนานตระการใจ ชัว่ ทีวมี เิ กลือกใกลม้ ลทินเอย หนว่ ยกำรเรียนร้ทู ี่ ๓ สัญลกั ษณ์รอบร้ัวขำวแดง ๓๔

เพลง ธงชยั ของเรา ทา้ นอง ใหญ่ นภายน ค้ารอ้ ง บญุ ส่ง อษุ ณรัสมี เรยี บเรียง/ดนตรี ประยงค์ ชนื่ เยน็ ขับรอ้ ง วรี ะ บารุงศรี ธงโบกพรว้ิ ปลิวไสวในแดนนี้ นามสตรีวทิ ยส์ องของเราสดใส เด่นเป็นหน่งึ จนรุ่งเรอื งเลื่องลือไกล งามน้าใจเริงร่าสามัคคี เพลงขับขานหวานตราตรึงซ้งึ ดวงจติ ชุบเด็กไทยใหส้ ดศรี มือจบั มือยดึ ถือมั่นคณุ ความดี เรานอ้ งพมี่ ีน้าใจนักกีฬา ใต้ผนื ธงแดงขาวเราตั้งจติ จะอทุ ศิ เพือ่ เสริมสง่ ดารงค่า ให้เรอื งรองงามระยับจับนัยนต์ า ช่วยพัฒนาสถาบันด้วยความมนั่ ใจ ด้วยศกั ดศิ์ รขี าวแดงแหลง่ กาเนิด แจ่มบรรเจดิ แนว่ แนร่ ่วมแก้ไข ธงชยั น้จี ะชูชักเปน็ หลกั ชยั กา้ วเดินไปให้พร้อมกนั ทง้ั ฉนั และเธอ หนว่ ยกำรเรียนรู้ที่ ๓ สัญลกั ษณร์ อบรั้วขำวแดง ๓๕

เพลง รกั สามัคคี ท้านอง ธนิดา ผลประเสริฐ ค้ารอ้ ง บุญสง่ อษุ ณรัสมี เรยี บเรียง/ดนตรี ประยงค์ ช่ืนเย็น ขับรอ้ ง โฉมฉาย อรณุ ฉาน ขาวแดงแหลง่ ธรรม นอ้ มนาดวงจติ สร้างสรรค์ ทุกชีวิต ประสทิ ธิ์ประสาทวทิ ยา สขี าวคือดอกพกิ ลุ งามละมนุ ในคณุ คา่ บริสุทธิ์ สะอาดตา เปย่ี มวญิ ญาณเ์ สรชี น สีแดง แจ้งประจกั ษ์ เลอื ดแห่งรกั ยังเขม้ ข้น รกั ถ่ิน แผน่ ดนิ ตน ทุกกมล ไมเ่ ส่อื มคลาย รว่ มมอื มั่นปรองดอง เป็น ส.ว.๒ ท่เี กิดกาย เผยแพร่ เกียรติกาจาย ด้วยมงุ่ รกั สามคั คี เพลง รักกันหนอ ส.ว. ๒ ทา้ นอง พยงค์ มุกดา (ศิลปนิ แหง่ ชาติ) คา้ ร้อง บญุ สง่ อษุ ณรสั มี เรยี บเรียง/ดนตรี ประยงค์ ชน่ื เยน็ ขับรอ้ ง ศิรนิ ทรา นยิ ากร ตัง้ ตระหงา่ นนานแล้วหนอ ส.ว.๒ ดจุ แดนทองทิพยส์ ถาน วิมานสวรรค์ มอื น้อยน้อย ร่วมสรา้ ง สายสัมพันธ์ ชบุ ชวี นั ทกุ ชีวติ ชจู ิตใจ ครอู าทร สอนศษิ ยศ์ ิษย์จึงรกั ดจุ แสงเทียนส่องประจกั ษ์ รักยิ่งใหญ่ สญั ลกั ษณ์ พิกลุ ขาว พราวพไิ ล นอ้ มนาใจ พันผกู ปลูกสัมพันธ์ เรียนกเ็ ด่น เลน่ กด็ ี เพราะมีหลกั รอ้ ยใจภกั ด์ิ พระมหาการณุ มน่ั เทิดนามน้ี สตรีวทิ ยส์ องเราตอ้ งรกั กนั มุ่งสรา้ งสรรคพ์ ัฒนาก้าวหนา้ เอย หนว่ ยกำรเรียนรทู้ ี่ ๓ สญั ลักษณ์รอบร้ัวขำวแดง ๓๖

๔หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี คณุ สมบตั แิ หง่ ลูกพิกลุ อตั ลกั ษณข์ องโรงเรยี น อตั ลกั ษณ์ (Identity) หมายถงึ คุณลกั ษณะเฉพาะตัวซง่ึ เป็นตวั บง่ ชี้ ของลักษณะเฉพาะของบคุ ล สงั คม ชุมชนหรือประเทศนั้น ๆ อตั ลักษณข์ องโรงเรียน “ ลูกสตรวี ิทยา ๒ เปน็ เดก็ ดี ” ๑.๑ ความหมายของเดก็ ดี เด็กดี คอื เด็กทม่ี ีความประพฤติดี ทาประโยชน์แก่ตนเองและผู้อ่นื เป็นพลเมอื งดีของสงั คม ๑.๒ ความสา้ คญั ของเด็กดี เด็กดีเมื่ออยู่ในสังคมใด สังคมน้ันย่อมเต็มไปด้วยผู้คนที่มีจิตใจโอบอ้อมอารี ช่วยเหลือซ่ึงกันและกัน เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนตัว มีความสามัคคีกลมเกลียวกัน ประกอบอาชีพที่สุจริต มีความขยันขันแข็งและยึดมั่นในศีลธรรม ส่งผลให้สังคมนั้นมีแต่ความผาสุก มีความเจริญก้าวหน้าได้อย่าง รวดเร็ว เม่ือมีคนดี สังคมย่อมดีตาม สังคมดีในอุดมคติจะเกิดข้ึนได้ เมื่อทุกคนเข้าใจและเห็นพ้องกันว่า “เปน็ คนดีสาคญั กว่าทุกส่ิง” ๑.๓ คณุ ลกั ษณะของเด็กดี คุ ณ ลั ก ษ ณ ะ ข อ ง เ ด็ ก ดี ต า ม ค่ า นิ ย ม ๑ ๒ ป ร ะ ก า ร อั น เ ป็ น ค่ า นิ ย ม ห ลั ก ข อ ง สั ง ค ม ไ ท ย ต า ม น โ ย บ า ย ข อ ง ค ณ ะ รั ก ษ า ค ว า ม ส ง บ แห่งชาติ (คสช.) หนว่ ยกำรเรียนรูท้ ี่ ๔ คุณสมบตั ิแห่งลูกพิกลุ ๓๗

๑. ความรักชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย์ การประพฤติปฏิบัติตนที่แสดงถึงความสานึก และภาคภูมิใจ ความเปน็ ไทย ปฏิบัตติ ามหลักศาสนา ที่ตนนบั ถือ และจงรกั ภักดี ตอ่ สถาบันพระมหากษัตริย์ ๒. ซ่อื สตั ย์ เสยี สละ อดทน มีอุดมการณใ์ นสงิ่ ท่ดี ีงามเพอื่ ส่วนรวม การประพฤติปฏิบัติตนที่แสดงถึงการยึดมั่นในความถูกต้อง ประพฤติตรงตามความเป็นจริงต่อ ตนเองและผู้อื่น ละความเห็นแก่ตัว รู้จักแบ่งปันช่วยเหลือสังคมและบุคคลที่ควรให้รู้จักควบคุมตัวเอง เมื่อประสบกบั ความยากลาบากและส่งิ ทีก่ ่อใหเ้ กดิ ความเสียหาย ๓. กตญั ญูตอ่ พอ่ แม่ ผปู้ กครอง ครูบาอาจารย์ การประพฤตทิ ี่แสดงถงึ การรูจ้ กั บญุ คณุ ปฏบิ ตั ิตามคาสง่ั สอนแสดงความรัก ความเคารพ ความเอาใจใส่ รกั ษาชอ่ื เสียง และตอบแทนบุญคุณของพ่อแม่ ผู้ปกครอง และครอู าจารย์ ๔. ใฝ่หาความรู้ หม่นั ศกึ ษาเล่าเรียนทงั ทางตรง และทางอ้อม การประพฤติปฏิบัติตนท่ีแสดงถึงความต้ังใจเพียรพยายามในการศึกษาเล่าเรียน แสวงหาความรู้ ทั้งทางตรงและทางออ้ ม ๕. รกั ษาวัฒนธรรมประเพณีไทยอนั งดงาม การปฏบิ ัตติ นทแี่ สดงถงึ การเหน็ คุณคา่ ความสาคัญ ภาคภูมใิ จ อนุรักษ์ สบื ทอดวฒั นธรรมและประเพณีไทยอันดีงาม ๖. มีศลี ธรรม รกั ษาความสัตย์ หวังดีตอ่ ผ้อู ื่น เผ่ือแผแ่ ละแบ่งปัน การประพฤติปฏิบัติตนโดยยดึ ม่นั ในคาสญั ญา มจี ิตใจโอบอ้อมอารี ช่วยเหลือผ้อู ื่นเท่าที่ช่วยได้ทัง้ กาลังทรพั ย์ กาลงั กาย และ กาลงั สตปิ ัญญา หนว่ ยกำรเรียนรูท้ ี่ ๔ คุณสมบตั ิแหง่ ลกู พิกุล ๓๘

๗. เข้าใจเรยี นรกู้ ารเป็นประชาธปิ ไตย อันมีพระมหากษตั รยิ ท์ รงเปน็ ประมุขทถ่ี ูกตอ้ ง การแสดงถึงการมีความรู้ ความเข้าใจ ปฏิบัติตนตามหน้าที่และสิทธิของตนเอง เคารพสิทธิ ของผู้อน่ื ภายใต้การปกครองตามระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมขุ ๘. มรี ะเบยี บวินยั เคารพกฎหมาย ผู้นอ้ ยรู้จักการเคารพผ้ใู หญ่ การปฏิบัติตนตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับ และกฎหมายไทย มคี วามเคารพและนอบนอ้ มตอ่ ผู้ใหญ่ ๙. มีสตริ ู้ตัว ร้คู ิด รทู้ า้ รู้ปฏิบตั ติ ามพระราชดา้ รสั ของพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ ัว สติเป็นส่ิงท่ีเราควรตระหนักอยู่ตลอดเวลา เพื่อท่ีจะได้ทาส่ิงหน่ึงให้ดีท่ีสุด รวมถึงการคิดทบทวน ให้รอบคอบ และมีความมุ่งม่ันตั้งใจในการทางาน และน้อมนาพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จ พระเจา้ อย่หู ัวมาเปน็ หลกั ปฏบิ ัติในการดาเนินชวี ิต ๑๐. รจู้ ักดา้ รงตนอย่โู ดยใช้หลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งตามพระราชด้ารัสของพระบาทสมเด็จ พระเจา้ อยหู่ ัว รู้จักอดออมไว้ใช้เม่ือยามจาเป็น มีไว้พอกินพอใช้ ถ้าเหลือก็แจกจ่ายจาหน่าย และพร้อมที่จะขยาย กิจการเมื่อมีความพร้อม เม่ือมีภูมิคุ้มกันท่ีดี การดารงชีพนั้นอาจจะเป็นปัจจัยหนึ่งที่เราควรตระหนักอยู่ ตลอดเวลา ดั้งท่ีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวให้คาสอนไว้เกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง รวมทั้งการท่ีเรา ต้องปรับเปลี่ยนตนให้เข้ากับคนอื่น และถ้าเราทาตามคาสอนของพ่อหลวง ชีวิตเราจะมีความสุขอยู่กับ สง่ิ ที่เรามี ๑๑. มคี วามเขม้ แขง็ ทงั รา่ งกาย และจติ ใจ ไม่ยอมแพต้ อ่ อานาจฝ่ายตา่ หรือกิเลส มคี วามละอายเกรงกลวั ตอ่ บาปตามหลักของศาสนา การทม่ี จี ติ ใจอนั แน่วแน่ จะไมส่ ั่นคลอนใดๆ ท้ังส้ินถา้ มอี ุปสรรคหรือกเิ ลสผ่านเขา้ มา ถ้าเราได้ผ่านส่ิงเหลา่ น้มี า บอ่ ยครั้ง มันจะทาให้เราเขม้ แขง็ ๑๒. คา้ นงึ ถงึ ผลประโยชน์ของสว่ นรวม และของชาติมากกว่าผลประโยชนข์ องตนเอง การปฏบิ ัตติ นและให้ความร่วมมือในกจิ กรรมทเี่ ปน็ ประโยชน์ ต่อสว่ นรวม และประเทศชาตยิ อมเสียสละ ประโยชนส์ ่วนตน เพือ่ รักษาประโยชน์ของส่วนรวม หนว่ ยกำรเรียนรทู้ ี่ ๔ คุณสมบัติแห่งลูกพิกลุ ๓๙

๑.๔ เด็กดตี ามคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ (Desired Characteristics) หมายถึง ลักษณะที่ต้องการให้เกิดขึ้นกับผู้เรียน อันเปน็ คุณลักษณะทส่ี ังคมตอ้ งการในดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยม จิตสานึกสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคม ไดอ้ ยา่ งมีความสขุ ทง้ั ในฐานะพลเมือง และพลโลกซึ่งหลักสูตรโรงเรยี นสตรวี ิทยา๒ ได้กาหนดคุณลักษณะอันพึง ประสงคไ์ ว้ ๑๐ ประการ คอื ๑. รักชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ เป็นพลเมืองท่ีดีของชาติ ธารงไว้ซึ่งความเป็นไทย ยืนตรงทุกครั้งท่ีได้ ยินเสียงเพลงชาติ ปฏิบัติตามกฎระเบียบของโรงเรียน เคารพกฎหมาย ไม่ละเมิดสิทธิผู้อ่ืน เข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนาที่ตนเองนับถือปฏิบัติตน ๒. ซือ่ สัตย์สจุ ริต ตามหลกั คาสอนของศาสนา เคารพเทดิ ทูนสถาบนั พระมหากษัตรยิ ์ ประพฤติตรงตามความเป็นจริงต่อตนเองและผู้อื่นท้ังกาย วาจา และใจ ตัดสินเหตุการณ์ต่าง ๆ ตามข้อมูล ที่มีพื้นฐานของความถูกต้อง ไม่กระทาตามผู้อื่น เม่ือรู้ว่าส่ิงน้ันไม่เหมาะสมหรือไม่ถูกต้อง ไม่ลอกการบ้าน ไม่ทุจริตในการสอบ เม่ือพบเห็นสิ่งของที่ไม่ใช่ของตนเองจะนาส่งคืนเจ้าของ หรือนาส่งเจ้าหน้าที่ รักษาคาพูด ไมพ่ ูดใส่ร้ายผอู้ น่ื หรือพดู ใหผ้ อู้ ืน่ เสียหาย ๓. มีวนิ ัย ประพฤติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบข้อบงั คบั ของครอบครวั โรงเรียน และสังคม ๔. ใฝ่เรยี นรู้ ต้ังใจเพียรพยายามในการเรียน เข้าเรียนตรงเวลา ไม่หนีเรียน มีอุปกรณ์การเรียน มีการจดบันทึกส่ิงที่ได้ เรยี น ทางาน ตดิ ตามงานทไ่ี ดร้ ับมอบหมายจนสาเร็จ และเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ แสวงหาความรู้จากแหล่ง เรียนรู้ต่าง ๆ ทั้งภายใน และภายนอกโรงเรียนด้วยการเลือกใช้สื่ออย่างเหมาะสม สรุปเป็นองค์ความรู้ และสามารถนาไปใช้ในชีวติ ประจาวันได้ ๕. อยู่อยา่ งพอเพียง ดาเนินชีวิตอย่างพอประมาณ มีเหตุผล ไม่ใช้จ่ายเกินฐานะ หรือความจาเป็นของตนเอง รอบคอบ มีการออมทรัพย์ ใช้ทรัพยากรของโรงเรียนอย่างประหยัด และคุ้มค่า มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี ปรับตัวเพ่ืออยู่ ในสงั คมได้อยา่ งมีความสุข หน่วยกำรเรียนรทู้ ี่ ๔ คุณสมบัติแห่งลูกพิกลุ ๔๐

๖. มงุ่ ม่ันในการท้างาน ต้ังใจทางานทุกอยา่ งทไี่ ด้รบั มอบหมาย มคี วามพยายามในการแกไ้ ขปญั หาหรือส่ิงท่ีบกพร่อง รับผิดชอบ งานทีท่ าจนสาเรจ็ ๗. รักความเป็นไทย เหน็ คุณค่าและใชภ้ าษาไทยในการส่ือสารได้อย่างถูกต้องเหมาะสม มีความภาคภูมิใจในขนบธรรมเนียม ประเพณี ศิลปะ วฒั นธรรมไทย อนรุ ักษ์และสบื ทอดภมู ิปญั ญาไทย ๘. มจี ิตสาธารณะ ไม่ทาลายสาธารณสมบัติ ซ่อมแซมหรือแจ้งให้ผู้เก่ียวข้องรับทราบเมื่อพบว่าชารุด ระวังและรักษา ทรัพย์สิน ของโรงเรียน อาสาทางานช่วยเหลือผอู้ ืน่ ด้วยความเต็มใจโดยไม่หวังผลตอบแทน เข้าร่วมกิจกรรม โครงการจิตสาธารณะท่ีเปน็ ประโยชน์ ตอ่ สงั คม ท้ังท่บี ้าน โรงเรยี น และชุมชน ๙. เคารพและให้เกยี รตซิ ึ่งกนั และกนั ปฏิบัติตนตามสิทธิของตนเอง โดยไม่ละเมิดสิทธิและเสรีภาพของผู้อ่ืน แสดงความเคารพ นับถือ และยอมรับในความสามารถของผู้อ่ืน รับฟังความคิดเห็นของผู้อ่ืนโดยปราศจากอคติ ไม่แสดงกิริยาวาจาดู หม่นิ ผอู้ ่นื ใหเ้ กยี รตผิ ้ฟู งั ผู้พดู หรอื ผทู้ ก่ี ล่าวอ้างถึง ๑๐. กตญั ญูรคู้ ณุ รู้สานึกถึงตอ่ ผู้ท่มี พี ระคณุ แก่ตนเอง ราลึกถงึ พระคณุ ผทู้ เี่ คยใหค้ วามอุปการะด้วยความเคารพยง่ิ หนว่ ยกำรเรียนรูท้ ี่ ๔ คณุ สมบัติแห่งลกู พิกลุ ๔๑

๑.๕ บทบาทและหนา้ ท่ขี องเดก็ ดสี ตรีวิทยา ๒ ในพระราชปู ถัมภฯ์ บทบาทหน้าที่ของนักเรียนโรงเรียนสตรีวิทยา ๒ ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระศรีนครินทราบรม -ราชชนนี จะตอ้ งพงึ ปฏิบัติต่อตนเอง ครูอาจารย์ โรงเรียน เพือ่ นและต่อสังคม ดังต่อไปนี้ ๑. บทบาทหน้าทีข่ องนักเรยี นต่อครู-อาจารย์ ๑.๑ มคี วามรักต่อครู-อาจารย์ ๑.๒ เชอื่ ฟงั คาสั่งสอนและประพฤติตามทงั้ ต่อหน้าและลบั หลัง ๑.๓ มกี ริ ยิ าวาจาสภุ าพอ่อนโยน มีสมั มาคารวะ ๑.๔ มคี วามกตัญญูกตเวทตี อ่ ครู-อาจารย์ ๒. บทบาทหน้าทีข่ องนกั เรียนตอ่ โรงเรยี น ๒.๑ มีความรกั และภาคภมู ิใจตอ่ สถาบนั ของตนเอง ๒.๒ ประพฤตติ นเป็นคนดี ปฏิบตั ิตามกฎระเบยี บวนิ ัยของโรงเรียน ๒.๓ มจี ิตสานึกในการรกั ษาทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อมในโรงเรยี น ๒.๔ เปน็ ผูป้ ฏบิ ตั ิตนใหเ้ ป็นประโยชนต์ อ่ ตนเอง ส่วนรวม ๒.๕ มีความรกั ความเสียสละ ความสามัคคใี นหม่คู ณะ ๒.๖ พงึ รกั ษาสมบตั ิของโรงเรียน และใช้ทรัพยากรในโรงเรยี นอยา่ งคุ้มค่าเพ่ือใหเ้ กดิ ประโยชนส์ งู สดุ ๒.๗ ต้องปฏิบัตติ ามหลักธรรม และเขา้ ร่วมกิจกรรมทางศาสนาทีต่ นเองนบั ถอื ด้วยความพงึ พอใจ ๒.๘ ควรมีสว่ นรว่ มในการจดั กิจกรรมการการเรียนและกิจกรรมเสรมิ หลกั สตู รตา่ ง ๆ ตามเป้าหมาย และจดุ เนน้ ทโ่ี รงเรียนได้ตง้ั เป้าหมายไว้ ๓. บทบาทและหน้าท่ีของนกั เรยี นต่อเพอื่ น ๓.๑ รักการทางาน สามารถทางานรว่ มกบั ผอู้ ื่นอยา่ งมีความสุข ๓.๒ มคี วามรบั ผิดชอบในการทางาน ท้ังต่อตนเองและเพ่ือนรว่ มงาน ๓.๓ มคี วามรักและความสามคั คใี นการทางาน ๓.๔ เป็นผนู้ าและผตู้ ามทด่ี ี ๓.๕ ให้ความช่วยเหลอื ซ่งึ กันและกนั โดยเฉพาะเรอื่ งการเรยี น ๓.๖ อยู่ร่วมกันในสงั คมประชาธปิ ไตยอยา่ งมคี วามสุข ๓.๗ มีความสุภาพอ่อนโยนทัง้ ร่างกายและจิตใจ ๓.๘ มนี ้าใจนักกฬี า รู้แพ้ ร้ชู นะ และรูอ้ ภัย ๓.๙ ตกั เตือนและแนะนาเพื่อนให้ประพฤติตนในทางที่ถกู ทค่ี วร และเป็นประโยชน์ ๓.๑๐ มีความเอื้ออาทร ให้คาปรึกษา แนะนาและช่วยเหลือตามความเหมาะสม ๓.๑๑ มคี วามซื่อสตั ยแ์ ละเคารพสิทธซิ งึ่ กนั และกนั หนว่ ยกำรเรียนร้ทู ี่ ๔ คณุ สมบตั ิแห่งลกู พิกุล ๔๒

๑.๖ ประโยชนข์ องการเปน็ เด็กดี  ตอ่ ตนเอง เมอื่ นักเรยี นปฏบิ ตั ติ นเป็นเด็กดี จะส่งผลดีโดยตรงต่อตัวนักเรียน เพราะคุณสมบัติของการเป็นเด็ก ดีน้ันเป็นสิ่งท่ีจะนามาซึ่งความเจริญรุ่งเรืองในชีวิต เป็นที่ยอมรับของสังคม เป็นองค์ประกอบให้ตนเอง ทางานบรรลตุ ามเป้าหมาย ประสบความสาเร็จในชวี ิต สามารถดารงชีวติ ในสังคมอย่างมีความสุข  ตอ่ โรงเรียน โรงเรียนที่มีนักเรียนที่เป็นเด็กดี ย่อมสะท้อนถึงความสาเร็จในการจัดการเรียนการสอนที่บรรลุ เป้าหมายในการจัดการเรียนรู้ ความสามารถในการปลูกฝังให้ผู้เรียนมีศักยภาพ เป็นประโยชน์ต่อพัฒนา การศกึ ษาใหม้ ีความเจริญก้าวหนา้ มากยิ่งขน้ึ อกี ทั้งยังส่งผลดตี ่อช่ือเสยี งและเกยี รติคุณของโรงเรยี น  ต่อชุมชน ชุมชนใดมสี มาชิกขยันขันแขง็ ปฏิบตั หิ น้าที่ของตนด้วยความตั้งใจจริง มีความเอ้ือเฟ้ือเผื่อแผ่ต่อกัน ซอื่ สัตยส์ จุ ริต อดทน ขยันหมนั่ เพียร และมีความรับผิดชอบต่อส่วนรวม ชุมชนน้ันก็จะเจริญรุ่งเรือง และอยู่ ร่วมกันอย่างมีความสุข ดังน้ัน เด็กดีสตรีวิทยา ๒ จะต้องปฏิบัติตนให้บรรลุตามคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ของหลักสตู ร และปรชั ญาวัฒนธรรมของโรงเรยี นอันเป็นจุดเน้น ดงั ต่อไปนี้ ๑. มีความขยันหมนั่ เพยี รในการศกึ ษา ๒. มคี วามรับผิดชอบตอ่ หนา้ ที่ ๓. มีจติ สานึกและปฏิบตั ิตามวิถีทางประชาธปิ ไตย อันมีพระมหากษตั ริยท์ รงเปน็ ประมุข ๔. ศึกษาหาความรเู้ พม่ิ เติมอย่างต่อเน่อื ง ๕. รกั การเรยี นรู้ และร้วู ิธกี ารเรยี นรู้ ๖. มีเจตคตทิ ่ดี ี มีประสบการณ์ และทักษะในงานอาชีพสุจรติ ๗. ประพฤตติ นใหเ้ หมาะสมกบั สภาพการเปน็ นักเรยี น ละเว้นจากอบายมุข และสง่ิ เสพติด รู้ถึงอนั ตรายและวธิ ีหลีกเล่ยี งจากโรคเอดส์ ๘. รักษาสุขภาพรา่ งกายให้สมบูรณแ์ ข็งแรงเลน่ กฬี าและออกกาลังกายใหเ้ ป็นปรกตวิ สิ ยั ตลอดจนรู้จกั เลือกรบั ประทานอาหารตามหลักโภชนาการ ๙. มีทักษะการจดั การ สามารถใช้เทคโนโลยีอยา่ งเหมาะสม ๑๐. ปฏบิ ัติตนในการเข้ารว่ มกจิ กรรมกับบคุ คลอืน่ ไดเ้ ปน็ อยา่ งดี ๑๑. ใช้เวลาว่างใหเ้ กดิ ประโยชน์แก่ตนเองและสว่ นรวม ๑๒. มีความซือ่ สัตย์ตอ่ ตนเอง ๑๓. ใช้จ่ายเงนิ อย่างประหยัด เหมาะสมกบั ฐานะของตนเอง คงไม่มี “ดี” แบบไหนท่ีเป็น “ดี” อย่างแท้จริง แต่เราควรหาว่า “ดี” แบบไหนท่ี“พอดี” สาหรับเรา และเป็น “ดี” ท่ีตั้งอยู่บนพ้ืนฐานของการอยู่ร่วมกันในสังคม ไม่ทาร้ายหรือสร้างความเดือดร้อนให้ผู้อื่น ท้ังรา่ งกาย จติ ใจ และทรัพยส์ นิ ทีส่ าคญั คือ เราตอ้ งเคารพตอ่ คนอืน่ และตัวเองให้มาก หนว่ ยกำรเรียนร้ทู ี่ ๔ คณุ สมบตั ิแห่งลกู พิกุล ๔๓

เอกลักษณข์ องโรงเรยี น “โรงเรยี นสตรีวทิ ยา๒ มงุ่ มน่ั พฒั นาศักยภาพผู้เรยี น” เอกลกั ษณ์ หมายถงึ ความสาเร็จตามจดุ เน้นและจุดเดน่ ท่ีสะทอ้ นใหเ้ ห็นเป็นลักษณะโดดเดน่ เป็นหน่ึง ของสถานศึกษา เอกลักษณ์ของโรงเรียนสตรีวิทยา ๒ ในพระราชูปถัมภ์ฯ คือ “โรงเรียนสตรีวิทยา๒ มุ่งม่ันพัฒนา ศกั ยภาพผู้เรยี น” ๑. ศักยภาพผู้เรียน หมายถึง ความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ ที่นักเรียนแสดงออกในด้าน การวิเคราะห์ ความคิดสร้างสรรค์ วางแผนการแก้ไขปัญหา เป็นความสามารถในการทางานทั้งของตนหรือ ร่วมกนั เป็นทีมได้ และถ้าผลงานท่ีเกิดเป็นที่ยอมรับหรือบรรลุตามเป้าหมายได้เป็นอย่างดี แสดงว่าผู้เรียนเป็น ผู้ทม่ี ศี กั ยภาพสูง (กระทรวงศกึ ษาธิการ, ๒๕๕๑) ๒. ศักยภาพผู้เรยี นตามสมรรถนะส้าคัญของหลักสตู รสถานศึกษา การพัฒนาศักยภาพผู้เรียนตามสมรรถนะสาคัญของหลักสูตรสถานศึกษา ถือเป็นส่วนสาคัญประการ หน่ึงท่ีมุ่งเน้นทักษะความรู้และประสบการณ์ ก่อให้เกิดการพัฒนาตนเองท้ังทางร่ายกายและจิตใจ โดยอาศัย สถานศกึ ษาเป็นแหล่งบ่มเพาะขยายความรู้ ดังน้ี ๒.๑ ความสามารถในการส่ือสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมใน การใช้ภาษา ถ่ายทอดความคิด และทัศนะของตนเพ่ือแลกเปลี่ยนประสบการณ์และเลือกใช้วิธีการสื่อสารท่ีมี ประสทิ ธิภาพโดยคานึงถงึ ผลกระทบทมี่ ตี ่อตนเองและสังคม ๒.๒ ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์และการคิด อยา่ งเปน็ ระบบเพอื่ นาไปสกู่ ารสรา้ งองค์ความรู้ การตดั สนิ ใจเกยี่ วกบั ตนเองและสังคมได้อยา่ งเหมาะสม ๒.๓ ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหา อุปสรรคต่าง ๆ และ นาไปใชป้ อ้ งกนั และมีการตดั สนิ ใจที่ถกู ต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตผุ ลท่ีมีประสทิ ธิภาพ ๒.๔ ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ติ เป็นความสามารถในการนากระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ ในการดาเนินชีวิตประจาวัน ขจัดปัญหา รู้จักหลีกเล่ียงพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์และปรับตัวให้ทันกับการ เปลีย่ นแปลงของสังคมและสภาพแวดลอ้ ม ๒.๕ ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลอื กและใชเ้ ทคโนโลยีและมี ทักษะ กระบวนการทางเทคโนโลยีเพ่ือการพัฒนาด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การทางาน การแก้ปัญหาอย่าง สร้างสรรค์ ถูกต้อง เหมาะสมและมีคุณธรรม เพอ่ื พฒั นาตนเองและสังคม ดงั น้ัน โรงเรียนสตรีวิทยา ๒ ในพระราชูปถัมภ์ฯ จึงมุ่งมั่นพัฒนาผู้เรียนให้มีศักยภาพตามสมรรถนะที่ สาคัญ คือ ความสามารถในการส่ือสาร ความสามารถในการคิด ความสามารถในการแก้ไขปัญหา ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ผ่านการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน นโยบายแผนงานในการพัฒนาศักยภาพผู้เรียน ตลอดจนการดาเนินการในการปฏิบัติท่ีจะนาไปสู่การบรรลุ เป้าหมายในการพฒั นาศกั ยภาพผเู้ รยี น หน่วยกำรเรียนรทู้ ี่ ๔ คณุ สมบัติแห่งลกู พิกุล ๔๔

๓. ศกั ยภาพผเู้ รยี นตามเป้าประสงคข์ องโรงเรียนสตรวี ิทยา ๒ ในพระราชปู ถมั ภ์ฯ ๓.๑ การมีสุขภาพกายและจิตทีด่ ี การพัฒนาศักยภาพกายและจิตท่ีดีน้ัน จาเป็นต้องรู้จักการสร้างรอยย้ิม มิตรสัมพันธ์ระหว่างเพ่ือนในห้องเรียน รวมท้ังการเล่นกีฬา การออกกาลัง กายที่สง่ เสริมร่างกายแข็งแรงพัฒนาตามวัย มีความสามารถปรับตัวเข้ากับ สังคม พร้อมท้ังควบคุมอารมณ์ให้มั่นคงอยู่เสมอ นอกจากน้ีมีความพอใจ มีจติ ใจดี และภาคภมู ใิ จในตนเอง ซงึ่ เห็นแกป่ ระโยชน์สว่ นรวมเปน็ ที่ตั้ง ๓.๒ การใฝ่เรยี นรู้ การพัฒนาศักยภาพผู้เรียนให้เป็นผู้ใฝ่เรียนรู้ โดยศึกษาจากแหล่ง เรียนรู้ ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน ดาเนินการบันทึกความรู้ วิเคราะห์ สรุปองค์ความรู้ที่ได้จากการศึกษา พร้อมแลกเปล่ียนความรู้ ถ่ายทอด และสามารถนาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้ ๓.๓ การสร้างองคค์ วามรู้ดว้ ยตนเอง การพัฒนาศักยภาพที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากการสร้างงาน ผู้เรียนได้ ดาเนินกิจกรรมการเรียนด้วยตนเองโดยการลงมือปฏิบัติหรือ สร้างงานท่ีตนเองสนใจ ในขณะเดียวกันก็เปิดโอกาสให้สัมผัสและ แลกเปลี่ยนความรู้ กับสมาชิกในกลุ่ม ผู้เรียนจะสร้างองค์ความรู้ขึ้นด้วย ตนเองจากการ ปฏิบตั ิงานที่มคี วามหมายตอ่ ตนเอง ๓.๔ มคี วามภาคภมู ิใจในความเปน็ ไทย การพัฒนาศักยภาพท่ีมุ่งปลูกฝังคุณลักษณะท่ีแสดงออกถึง ความภาคภูมิใจ เห็นคุณค่า ร่วมอนุรักษ์ สืบทอดภูมิปัญญาไทย ขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะและวัฒนธรรม ใช้ภาษาไทยในการ สือ่ สารได้อย่างถกู ตอ้ งและเหมาะสม ๓.๕ ร้เู ทา่ ทนั การเปลย่ี นแปลงของโลก การพัฒนาการตระหนักถึงการเปล่ียนแปลงของสังคมปัจจุบันในมิติ ด้านสิง่ แวดลอ้ มและเทคโนโลยี การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การปรับตัว และแก้ปัญหาในการดาเนินชีวิตอย่างรู้เท่าทันต่อการเปล่ียนแปลงในสังคม ได้อยา่ งเหมาะสม หนว่ ยกำรเรียนรทู้ ี่ ๔ คุณสมบัติแห่งลูกพิกลุ ๔๕

๕หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี เกียรติคณุ เลื่องช่อื ลือระบลิ เกียรติภูมิ คาว่า เกียรติ ตามความหมายของราชบัณฑิตยสถานคือ ช่ือเสียง ความยกย่องนับถือ ความมีหน้ามีตาในสังคม ส่วนคาว่า ภูมิ แปลว่า แผ่นดินหรือท่ีดิน เม่ือนาคาทั้งสองคามารวมกันเป็นคาว่า เกียรติภูมิ จึงหมายถึง เกียรติและศักดิศรีท่ีสังคมยอมรับ ศักดิ์ศรีและความภูมิใจ ในสถาบนั ของตน โรงเรียนสตรีวิทยา ๒ ในพระราชูปถัมภ์ฯ มีความภูมิใจ ในเกียรติภูมิ ที่สร้างสมเกียรติประวัติและผลงานต่างๆ อันเป็นที่ยอมรับ ในสังคม ซึ่งประกอบไปด้วย - เกยี รติภูมสิ ถาบัน - เกยี รติภมู ลิ กู ส.ว.๒ ปีท่ีไดร้ ับรางวัล รางวลั ปี พ.ศ. ๒๕๒๔ - - กรมสามญั ศกึ ษามอบรางวลั โรงเรยี นดเี ด่น เป็นเวลา ๔ ปตี ดิ ตอ่ กนั ๒๕๒๗ - โรงเรยี นสตรีวทิ ยา ๒ ในพระราชปู ถมั ภ์ ฯ ได้รับคัดเลอื กจากกระทรวงศกึ ษาธกิ ารใหเ้ ป็น ปี พ.ศ. ๒๕๓๕ - โรงเรียนมธั ยมศึกษาดีเดน่ รับรางวลั พระราชทานจากพระบาทสมเด็จพระเจา้ อย่หู วั ๒๕๓๗ ปี พ.ศ. ๒๕๓๘ - กรมสามญั ศกึ ษา มอบประกาศเกยี รติคณุ ในฐานะโรงเรียนทม่ี ีส่งิ แวดลอ้ มดีเด่น ระดบั มาตรฐานเหรยี ญทอง ปี พ.ศ. ๒๕๔๗ โรงเรียนสตรวี ิทยา ๒ ในพระราชูปถมั ภ์ ฯ ได้รับการคดั เลอื กจากกระทรวงศึกษาธิการให้เป็น ปี พ.ศ. ๒๕๔๘ สถานศึกษารางวลั พระราชทานระดับมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พเิ ศษ ประจาปี ๒๕๔๗ - วงโยธวาทิต ได้รับรางวัลชนะเลิศ Marching and Display ประเภท ข. รับถ้วย พระราชทานจากสมเด็จพระบรมโอรสธิราชสยามกฎุ ราชกุมาร หนว่ ยกำรเรียนรู้ที่ ๕ เกียรติคุณเลื่องชอ่ื ลือระบิล ๔๖


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook