แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 1 รายวชิ าเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ ชน้ั มัธยมศึกษาท่ี 5 กลุม่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ เวลาเรียน 50 นาที หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 11 เคมีไฟฟา้ เรื่อง เลขออกซิเดชนั และปฏิกิรยิ ารดี อกซ์ สอนวนั ที่ 31 มกราคม 2564 ครูผสู้ อน นางสาวกติ ติยา สุวรรณรตั น์ 1. สาระการเรียนรู้เพิ่มเติมเคมี เข้าใจการเขียนและการดุลสมการเคมี ปริมาณสัมพันธ์ในปฏิกิริยาเคมี อัตราการเกิด ปฏิกิริยาเคมี สมดุลในปฏิกิริยาเคมี สมบตั แิ ละปฏิกิริยาของกรด-เบส ปฏิกริ ยิ า รดี อกซ์และเซลล์เคมีไฟฟ้า รวมทั้งการนำความรู้ ไปใช้ประโยชน์ 2. ผลการเรียนรู้ ม.5/1 คำนวณเลขออกซิเดชัน และระบปุ ฏกิ ริ ิยา ทเี่ ป็นปฏิกริ ิยารีดอกซ์ 3. สาระการเรยี นรู้เพม่ิ เติม เคมีไฟฟ้าเป็นการศึกษาเกี่ยวกับการเปล่ียนแปลง ระหว่างพลังงานไฟฟ้าและการเกิดปฏิกิริยาเคมี ท่ีมีการถ่ายโอนอิเล็กตรอนแล้วทำใหเ้ กิดการ เปล่ยี นแปลงเลขออกซิเดชัน ซึ่งเป็นเลขทีแ่ สดง ประจุไฟฟ้าหรือ ประจไุ ฟฟา้ สมมตขิ องอะตอมธาตุ เรยี กปฏกิ ริ ิยาชนิดนีว้ า่ ปฏกิ ริ ิยารีดอกซ์ 4. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. นักเรียนสามารถอธิบายความหมายของปฏิกิริยารีดอกซ์ และระบุปฏิกิริยาที่เป็นปฏิกิริยารีดอกซ์ จากเลขออกซเิ ดชนั ของสารในปฏกิ ิรยิ าได้ (K) 2. นกั เรยี นสามารถคำนวณเลขออกซิเดชันของธาตุในสารประกอบและไอออนตา่ ง ๆ ได้อย่างถกู ต้อง (P) 3. นักเรยี นมีความรับผดิ ชอบต่อการทำงานเป็นกลุ่ม (A) 5. สาระสำคัญหรือความคิดรวบยอด เคมีไฟฟ้าเป็นการศึกษาปฏิกิริยาเคมีที่เกี่ยวข้องกับพลังงานไฟฟ้า โดยปฏิกิริยาเคมีที่มีการถ่ายโอน อิเล็กตรอนระหว่างสารเรียกว่า ปฏิกิริยารีดอกซ์ ซึ่งการถ่ายโอนอิเล็กตรอนระหว่างสารพิจารณาได้จากการ เปลย่ี นแปลงเลขออกซเิ ดชนั ของธาตุในสารที่ทำปฏกิ ิริยาเคมนี ั้น โดยเลขออกซเิ ดชันเปน็ ค่าท่ีแสดงประจุไฟฟ้า สมมตขิ องไอออนหรืออะตอมของธาตุ โดยมขี ้อกำหนดดังน้ี
1. อะตอมของธาตอุ ิสระทกุ ชนดิ ท่ีอยใู่ นรูปอะตอมหรอื โมเลกุลมีเลขออกซิเดชันเทา่ กับ 0 2. ไอออนของธาตุมเี ลขออกซเิ ดชนั เทา่ กับประจุของไอออนนน้ั 3. ในสารประกอบ เลขออกซิเดชันของธาตหุ มู่หลักมีค่าดังนี้ - เลขออกซิเดชันของธาตุโลหะหมู่ IA IIA IIIA มีเลขออกซิเดชนั เปน็ +1 +2 และ+3 ตามลำดับเสมอ ยกเว้น TI มีเลขออกซิเดชนั เป็น +3 หรอื +1 ก็ได้ - ไฮโดรเจน มเี ลขออกซเิ ดชนั เปน็ +1 เม่ือเกดิ พนั ธะกับธาตุอโลหะ และมีเลขออกซิเดชนั เป็น -1 เม่อื เกิดพันธะ กับธาตุโลหะ - ออกซเิ จน มเี ลขออกซิเดชนั เทา่ กบั -2 ในสารประกอบสว่ นใหญ่ - ฟลอู อรนี มเี ลขออกซเิ ดชันเท่ากบั -1 เสมอ 4. สารประกอบมีผลรวมของเลขออกซิเดชันเท่ากับ 0 และกลุ่มไอออนมีผลรวมเลขออกซิเดชันเท่ากับประจุ ของไอออนน้ัน 5. ธาตทุ ม่ี ีค่าอิเล็กโทรเนกาตวิ ติ มี ากกวา่ จะมเี ลขออกซิเดชนั เป็นค่าลบ 6. ธาตุหมู่ IVA VA VIA VIIA (ยกเว้นฟลูออรีน) และโลหะแทรนซิชันส่วนใหญ่มีเลขออกซิเดชันได้หลายค่า แต่อย่างไรก็ตามเลขออกซเิ ดชันมีค่าไดส้ ูงสดุ เทา่ กับเลขหม่หู รอื จำนวนเวเลนซ์อิเล็กตรอนของธาตนุ ั้น เมอื่ ทราบเลขออกซิเดชนั ของธาตุทำใหส้ ามารถระบุได้วา่ ปฏกิ ริ ยิ าใดเป็นปฏกิ ริ ิยารีดอกซ์ โดยพิจารณา จากการเปลี่ยนแปลงเลขออกซิเดชันของธาตุในสารที่ทำปฏิกิริยาเคมีกัน โดยมีธาตุหนึ่งตัวมีเลขออกซิเดชัน เพมิ่ ขน้ึ และธาตุอีกหนึง่ ตัวมีเลขออกซเิ ดชันลดลง เช่น ปฏกิ ิรยิ าเคมีระหวา่ งโลหะสังกะสกี ับสารละลายคอปเปอร์(II)ซัลเฟต เลขออกซเิ ดชนั ลดลง เลขออกซิเดชนั Zn(s) + CuSO4 (aq) → ZnSO4 (aq) + Cu(s) (0) (+2)(+6)(-2) (+2)(+6)(-2) (0) เลขออกซิเดชันเพิ่มข้นึ ปฏกิ ิริยานีเ้ ปน็ ปฏกิ ิรยิ ารดี อกซ์ เน่ืองจากมีธาตุทม่ี ีการเปล่ยี นแปลงเลขออกซิเดชนั โดย Zn มีเลข ออกซิเดชันเพ่ิมขนึ้ ส่วน Cu มีเลขออกซิเดชันลดลง 6. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 1. ความสามารถในการส่อื สาร - การแลกเปล่ียนความรู้ 2. ความสามารถในการคดิ - การคดิ วเิ คราะห์
3. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี - ความสามารถในการเลือกใช้เครื่องมือได้อย่างถกู ต้อง และเหมาะสม 7. กระบวนการจัดการเรยี นรูห้ รือกิจกรรมการเรียนรู้ (5E) 1. ขัน้ กระตุ้นความสนใจ (Engagement) 5 นาที 1.ครูกลา่ วคำทักทายนักเรยี นพร้อมกบั ครูต้ังคำถามวา่ หากไมม่ ีไฟฟา้ ใชน้ ักเรียนจะเป็นอย่างไร (แนวทางการตอบ : เล่นโทรศพั ทไ์ มไ่ ด้ ดโู ทรทัศนไ์ มไ่ ด้ เปดิ แอรไ์ ม่ได้ และอน่ื ๆ) จากนัน้ ครอู ธบิ ายต่อว่า ไฟฟ้าสามารถผลิตได้จากแหลง่ กำเนดิ ไฟฟา้ ทหี่ ลากหลาย 2. ครูยกตวั อย่างแหล่งกำเนดิ ไฟฟ้า เช่น พลังงานจากน้ำและลม พลังงานจากแสงอาทติ ย์ พลังงาน จากน้ำมัน ถ่านหิน และแกส๊ ธรรมชาติ และพลังงานจากปฏกิ ิริยาเคมี 3. ครูอธิบายเก่ยี วกับปฏิกริ ยิ าเคมที ี่สามารถให้พลังงานไฟฟา้ ได้จากตัวอย่างของถ่านไฟฉาย 2. ข้นั สำรวจและค้นหา (Exploretion) 10 นาที 1. ครูให้นักเรียนหนึ่งคนออกมาต่อวงจรไฟฟ้าเข้ากับถ่านไฟฉายเพื่อให้หลอดไฟสว่างโดยต่อสาย ปากหนีบจระเขส้ ีแดงเข้ากบั ขั้วบวกและสายสดี ำเข้ากับขั้วลบของถ่านไฟฉายดังรูปที่ 2.1 รูปที่ 2.1 การตอ่ วงจรไฟฟ้า 2. ครูถามนักเรียนว่าแสงสว่างจากหลอดไฟเกิดขึ้นได้อย่างไร (แนวทางการตอบ : เกิดจาก ถ่านไฟฉาย เกิดจากการถ่ายโอนอิเล็กตรอน และอื่นๆ ) ครูอธิบายสรุปว่า พลังงานไฟฟ้าที่ทำให้ หลอดไฟสว่างเกิดจากการถ่ายโอนอเิ ล็กตรอน ซงึ่ ปฏกิ ริ ิยาเคมีที่มีการถ่ายโอนอิเลก็ ตรอนระหว่างสาร เรียกว่า ปฏิกิริยารีดอกซ์ โดยการถ่ายโอนอิเล็กตรอนระหว่างสารพิจารณาได้จากการเปลี่ยนแปลง เลขออกซิเดชันของธาตใุ นสารทท่ี ำปฏกิ ิรยิ าเคมีนน้ั 3. จากนนั้ ครอู ธิบายเกย่ี วกับข้อกำหนดและวธิ กี ารหาเลขออกซเิ ดชันของธาตุ 3. ขน้ั อธิบายและลงขอ้ สรปุ (Explaination) 20 นาที 1. ครูกลา่ วว่าจากทีน่ ักเรียนศกึ ษาเร่ืองพันธะเคมที ำใหท้ ราบวา่ เลขออกซิเดชนั เป็นค่าที่แสดงประจุ ไฟฟา้ สมมตขิ องไอออนหรืออะตอมของธาตโุ ดยมีข้อกำหนดดังน้ี 1.1 อะตอมของธาตุอิสระทกุ ชนิดที่อยู่ในรปู อะตอมหรือโมเลกุลเช่น Ca Fe He O2 S8 อะตอม ของธาตุเหลา่ นีค้ อื Ca Fe He O และ S มเี ลขออกซเิ ดชันเทา่ กบั 0
1.2 ไอออนของธาตมุ เี ลขออกซิเดชนั เทา่ กบั ประจุของไอออนนัน้ เช่น Na+ มีเลขออกซเิ ดชนั เท่ากับ +1 S2- มเี ลขออกซเิ ดชันเท่ากบั -2 Mg2+ มีเลขออกซิเดชันเท่ากบั +2 1.3 ในสารประกอบ เลขออกซิเดชันของธาตหุ มหู่ ลกั มีค่าดังน้ี - เลขออกซิเดชันของธาตุโลหะหมู่ IA IIA IIIA มีเลขออกซิเดชันเป็น +1 +2 และ+3 ตามลำดบั เสมอ ยกเว้น TI มเี ลขออกซเิ ดชนั เปน็ +3 หรอื +1 ก็ได้ - ไฮโดรเจน มีเลขออกซิเดชันเป็น +1 เมื่อเกิดพันธะกับธาตุอโลหะ เช่น H2O NaOH และมีเลขออกซิเดชันเป็น -1 เมอ่ื เกดิ พันธะกบั ธาตุโลหะ เชน่ NaH CaH2 - ออกซเิ จน มเี ลขออกซิเดชันเท่ากับ -2 ในสารประกอบสว่ นใหญ่ เชน่ H2O NaOH - ฟลูออรนี มเี ลขออกซิเดชนั เท่ากบั -1 เสมอ 1.4 สารประกอบมีผลรวมของเลขออกซิเดชันเท่ากับ 0 เช่น NaCl โดยโซเดียมมีเลข ออกซิเดชันเปน็ +1 ดงั น้ันคลอรีนมเี ลขออกซิเดชันเปน็ -1 1.5 กลุ่มไอออนมีผลรวมเลขออกซิเดชันเท่ากับประจุของไอออนนั้น เช่น PO43- มีผลรวม ของเลขออกซิเดชันของธาตุทุกตัวในกลุ่มไอออนเท่ากับ -3 2. ครูอธิบายต่อว่าจากข้อกำหนดข้างต้นสามารถนำมาใช้ในการคำนวณเลขออกซิเดชันของ ธาตุชนิดอ่ืนที่ยังไม่ทราบเลขออกซิเดชันในสารประกอบและกลุ่มไอออน ครูยกตัวอย่างโจทย์ดังน้ี ตวั อย่างท่ี 1 หาเลขออกซเิ ดชนั ของธาตทุ ั้งหมดในสารท่กี ำหนดใหต้ ่อไปน้ี 1.1 ซัลเฟอรไ์ ดออกไซด์ (SO2) 1.2 ฟอสเฟตไอออน (PO43- ) วิธที ำ 1.1 หาเลขออกซิเดชันของธาตุทง้ั หมดในซัลเฟอรไ์ ดออกไซด์ (SO2) จากข้อกำหนด O มีเลขออกซิเดชันเท่ากับ -2 ในสารประกอบส่วนใหญ่ เนื่องจากผลรวมเลขออกซิเดชันของธาตุ ทง้ั หมดใน SO2 เทา่ กบั 0 สามารถหาเลขออกซิเดชนั ของ S ได้ดังนี้ [เลขออกซิเดชันของ S] + [2 x (-2)] = 0 เลขออกซเิ ดชันของ S = +4 ดงั นัน้ เลขออกซเิ ดชันของกำมะถนั เทา่ กบั +4 และเลขออกซเิ ดชันของออกซเิ จนเทา่ กบั -2 1.2 หาเลขออกซิเดชนั ของธาตทุ ้ังหมดในฟอสเฟตไอออน (PO43- ) จากข้อกำหนด O มีเลขออกซิเดชันเท่ากับ -2 ในสารประกอบส่วนใหญ่ เนื่องจากผลรวมเลขออกซิเดชันของธาตุ ท้งั หมดใน PO43- เท่ากบั -3 สามารถหาเลขออกซเิ ดชันของ P ไดด้ ังน้ี [เลขออกซเิ ดชันของ P] + [4 x (-2)] = -3 เลขออกซิเดชนั ของ P = +5 ดงั น้ันเลขออกซิเดชันของฟอสฟอรัสเทา่ กับ +5 และเลขออกซิเดชนั ของออกซิเจนเท่ากับ -2
3. ครูกล่าวต่อว่าเมื่อทราบเลขออกซิเดชันของธาตุทำให้สามารถระบุได้ว่าปฏิกิริยาใดเป็นปฏิกิริยา รีดอกซ์ โดยพิจารณาจากการเปลี่ยนแปลงเลขออกซิเดชันของธาตุในสารที่ทำปฏิกิริยาเคมีกัน โดยมีธาตุหน่ึง ตวั มเี ลขออกซิเดชนั เพมิ่ ข้นึ และธาตุอกี หน่ึงตัวมีเลขออกซเิ ดชนั ลดลง เชน่ K2Cr2O7 (aq) + 8H+ + 3H2O2(l) → 2Cr3+(aq) +7H2O(l) + 3O2(g) 4. ครใู ห้นกั เรียนช่วยกันคำนวณเลขออกซิเดชนั (แนวทางการตอบคำถาม : เลขออกซเิ ดชันลดลง K2Cr2O7 (aq) + 8H+ + 3H2O2(l) → 2Cr3+(aq) +7H2O(l) + 3O2(g) (+1)(+6)(-2) (+1) (+1)(-1) (+3) (+1)(-2) (0) เลขออกซิเดชันเพมิ่ ขึ้น 5. ครอู ธิบายตอ่ วา่ เลขออกซิเดชันของ Cr2 ลดลงจาก +6 เป็น +3 และ เลขออกซิเดชันของ O เพิ่มขึ้นจาก -2 เป็น 0 เรียกปฏิกิริยาน้ีว่า ปฏิกิริยารีดอกซ์ คือ ธาตุหนึ่งตัวมีเลขออกซิเดชันเพ่ิมข้ึน และ ธาตุอีกหน่ึงตัวมเี ลขออกซิเดชันลดลง 6. ครูยกอีกหน่ึงตวั อยา่ ง HCl(aq) + NaOH(aq) → NaCl(aq) + H2O(l) 7. ครูให้นักเรยี นช่วยกนั คำนวณหาเลขออกซเิ ดชันและระบุวา่ เป็นปฏกิ ิรยิ ารดี อกซ์หรือไม่ (แนวทางการตอบ : HCl(aq) + NaOH(aq) → NaCl(aq) + H2O(l) (+1)(-1) (+1)(-2)(+1) (+1)(-1) (+1)(-2) ไม่เป็นปฏกิ ริ ยิ ารดี อกซ์เพราะเลขออกซิเดชันไม่มีการเปล่ยี นแปลง 4. ขัน้ ขยายความรู้ (Elaboration) 5 นาที 1. ครูให้นกั เรยี นดูวิดีโอการเกดิ ปฏิกิริยาจากโจทยข์ ้างตน้ โดยมีวธิ ีการทดลองดงั น้ี 1.1 เติมสารละลาย K2Cr2O7 ลงในหลอดทดลอง จากนั้นเติมกรด H2SO4 แล้วเขย่าหลอด ทดลอง ให้นักเรยี นสงั เกตสสี ารละลาย (เกดิ สารละลายสีส้ม) 1.2 เติม H2O2 แล้วเขย่าหลอดทดลอง ให้นักเรียนสังเกตสีสารละลาย (เกิดสารละลายสีเขียว และเกดิ ฟองแกส๊ ) 2. ครูสรุปผลการทดลองว่า เลขออกซิเดชันของ Cr2 ลดลงจาก +6 เป็น +3 และ เลขออกซิเดชัน ของ O เพิ่มขึน้ จาก -2 เป็น 0 จงึ ทำใหส้ ีสารละลายเปลย่ี นแปลงไป 5. ข้ันประเมนิ (Evalution) 10 นาที ครใู ห้นักเรยี นแตล่ ะกลุ่มทำเปน็ แบบฝึกหัดหลงั เรียน ผ่าน Quizizz กลุ่มใดคะแนนมากที่สุดครู มีรางวัลมอบให้
8. ส่อื วสั ดุ อปุ กรณ์ และแหล่งการเรยี นรู้ สอ่ื /วสั ดุ/อุปกรณ์ แหลง่ การเรยี นรู้ 1. Powerpoint เร่อื ง การคำนวณเลขออกซิเดชันและ อนิ เตอรเ์ น็ต ปฏกิ ริ ิยารีดอกซ์ หนังสือเรียน 2. แบบฝึกหัดหลงั เรยี น เรือ่ ง การคำนวณเลขออกซิเดชัน และปฏิกริ ยิ ารีดอกซ์ https://quizizz.com/join/quiz/60154caa048975001 ca3b682/start?studentShare=true 9. การประเมนิ การเรียนรู้ จุดประสงค์ วธิ ีการวดั ผล เคร่อื งมือที่ใชว้ ดั ผล เกณฑ์การวดั และ ประเมินผล การเรียนรู้ - แบบฝึกหดั หลงั - สามารถตอบคำถามได้ 1.ดา้ นความรู้ (K) - การทำแบบฝึกหัด เรยี นเร่ืองการ ถูกต้องรอ้ ยละ 60 คำนวณเลข - อธบิ ายความหมายของปฏิกิริยา หลังเรียนเร่ืองการ ออกซิเดชันและ ปฏกิ ริ ยิ ารีดอกซ์ รีดอกซ์ และระบุปฏกิ ิรยิ าที่เป็น คำนวณเลข - แบบฝึกหัดหลงั - สามารถตอบคำถามได้ เรียนเรื่องการ ถกู ต้องรอ้ ยละ 60 ปฏิกิรยิ ารดี อกซ์จากเลข ออกซิเดชันและ คำนวณเลข ออกซเิ ดชันและ ออกซิเดชันของสารในปฏิกริ ิยาได้ ปฏิกิริยารดี อกซ์ ปฏิกิริยารดี อกซ์ - แบบสงั เกต ระดบั คุณภาพ 2.ดา้ นทักษะกระบวนการ (P) - การทำแบบฝึกหัด พฤติกรรมการ 3 ผ่านเกณฑ์ ทำงานเป็นกลุ่ม - คำนวณเลขออกซเิ ดชนั ของธาตุ หลังเรียนเร่ืองการ ในสารประกอบและไอออนต่าง ๆ คำนวณเลข ได้อย่างถูกต้อง ออกซเิ ดชันและ ปฏกิ ริ ิยารีดอกซ์ 3.ดา้ นคุณลกั ษณะ - การทำงานเปน็ อันพึงประสงค์ (A) กลุ่ม - มีความรบั ผิดชอบต่อการทำงาน เป็นกล่มุ
10. บนั ทกึ หลังการจัดการเรยี นรู้ 10.1 จำนวนนักเรยี นท่สี อน ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..... 10.2 ผลท่ีเกิดขึ้นจากการเรียนรู้ (ความรู้ / ทกั ษะ / จิตวิทยาศาสตร)์ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..... ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..... 10.3 บรรยากาศการเรยี นรู้ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..... ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..... 10.4 การปรบั เปลย่ี นแผนการจดั การเรยี นรู้ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..... ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..... ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..... 10.5 ปญั หา / วิธีการแกไ้ ข / ผลการแกไ้ ข้ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..... ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..... ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..... ลงชอ่ื ………………………………………………….. ผ้เู ขยี นแผนการจดั การเรยี นรู้ (…………………………………………………..) …………/…………………/…………. ลงชอ่ื ………………………………………………….. ผตู้ รวจ (…………………………………………………..) …………/…………………/………….
แบบสงั เกตพฤติกรรมการทำงานเปน็ กลุม่ คำชแ้ี จง : ให้ ผ้สู อน สังเกตพฤติกรรมของนักเรยี นระหวา่ งเรยี นและนอกเวลาเรยี น แล้วขดี ลงในช่องว่างที่ตรงกบั ระดบั คะแนน กลมุ่ …………………… สมาชิกของกล่มุ 1……………………………………………..2……………………………………………… 3………………………………………… 4…………………………………………….. 5…………………………………………………….. ลำดบั ที่ พฤติกรรม คณุ ภาพการปฏิบตั ิ 432 1 1 มคี วามสนใจเรยี นรใู้ นส่งิ ท่ีครูสอน 2 มกี ารแลกเปลี่ยนความคดิ เห็นภายในกลมุ่ 3 สามารถเลน่ เกมตามกตกิ าทก่ี ำหนด 4 มีความรับผดิ ชอบต่อภาระงานทไ่ี ด้รับมอบหมาย รวม ลงช่อื ……………………………………………………ผู้ประเมนิ ….………/……………./………….. เกณฑก์ ารไดค้ ะแนน ปฏบิ ตั หิ รือแสดงพฤติกรรมอย่างสมำ่ เสมอ = 4 คะแนน ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมอย่างบอ่ ยครั้ง = 3 คะแนน ปฏิบัตหิ รือแสดงพฤติกรรมอย่างบางครงั้ = 2 คะแนน ปฏิบัตหิ รือแสดงพฤตกิ รรมอย่างน้อยครั้ง = 1 คะแนน เกณฑ์การตัดสินคณุ ภาพ ชว่ งคะแนน ระดบั คณุ ภาพ 21-24 4 = ดมี าก 16-20 3 = ดี 11-15 2 = พอใช้ 6-10 1 =ปรบั ปรงุ
แบบฝกึ หดั หลงั เรยี นเร่อื ง การคำนวณเลขออกซเิ ดชันและปฏกิ ริ ยิ ารดี อกซ์ 1. เลขออกซเิ ดชนั ของ Ni(s) มีค่าเป็นเท่าใด ตอบ 0 2. เลขออกซิเดชนั ของ Na ใน 2NaCl มีคา่ เป็นเทา่ ใด ตอบ +1 3. เลขออกซเิ ดชันของ Cu 2+ มคี า่ เป็นเท่าใด ตอบ +2 4. เลขออกซิเดชันของ O ใน 2OH – มคี ่าเปน็ เทา่ ใด ตอบ -2 5. เลขออกซเิ ดชนั ของ N ใน N2H4 มีค่าเป็นเทา่ ใด ตอบ -2 6. 2H2S(g) + 3O2(g) → 2SO2(g) + 2H2O(g) ตอบ เป็นปฏกิ ริ ิยารดี อกซ์เพราะ เลขออกซิเดชนั เพิ่มข้ึน 2H2S(g) + 3O2(g) → 2SO2(g) + 2H2O(g) (+1)(-2) (0) (+4)(-2) (+1)(-2) เลขออกซเิ ดชันลดลง 7. HCO3- (aq) + OH- (aq) → H2O(l) + CO32- (aq) ตอบ ไมเ่ ป็นปฏิกิริยารดี อกซเ์ พราะเลขออกซเิ ดชนั ไมม่ ีการเปล่ียนแปลง HCO3- (aq) + OH- (aq) → H2O(l) + CO32- (aq) (+1)(+4)(-2) (-2)(+1) (+1)(-2) (+4)(-2) 8. CH4 (g) + 2O2(g) → CO2(g) + 2H2O(g) ตอบ เป็นปฏกิ ริ ยิ ารดี อกซ์เพราะ เลขออกซเิ ดชันเพ่มิ ขน้ึ CH4 (g) + 2O2(g) → CO2(g) + 2H2O(g) (-4)(+1) (0) (+4)(-2) (+1)(-2) เลขออกซิเดชนั ลดลง
Search
Read the Text Version
- 1 - 9
Pages: