ก คำนำ คมู่ ือการทาโครงงานพเิ ศษฉบับน้ี เพ่ือให้อาจารยท์ ่ีปรึกษาโครงงานพเิ ศษและผู้จัดทาโครงงานพิเศษได้ ใช้เป็นแนวทางในการจัดการเรียนการสอนรายวิชาโครงงานพเิ ศษ (Special Project) โดยมีจดุ มงุ่ หมายให้การ จัดทาโครงงานพิเศษเป็นไปตามสาดับขั้นตอนและสามารถจัดทาโครงงานพิเศษอย่างมีคุณภาพและให้เสร็จ ทันเวลาท่ีกาหนด ดังนั้น เพ่ือให้การจัดการเรียนการสอนรายวิชาโครงงานพิเศษ (Special Project) เป็นไปใน แนวทางเดียวกนั และสัมฤทธผ์ิ ลในการจัดการเรียนการสอนรายวิชาโครงงานพเิ ศษ (Special Project) ผจู้ ดั ทา คู่มือการทาโครงงานพิเศษจึงได้เรียบเรียงข้ันตอนการทาโครงงานพิเศษ ส่วนประกอบของโครงงานพิเศษ การ พิมพ์โครงงานพิเศษ และแนวทางการวัดผลและประเมินผลวิชาโครงงานพิเศษให้เป็นแนวทางเดียวกันและ สอดคลอ้ งกับการจัดทาโครงงานพิเศษตามหลกั สากลทว่ั ไป ในกรณีท่ีคู่มือการทาโครงงานพิเศษฉบับน้ีมีข้อบกพร่องประการใด ผู้จัดทายินดีรับข้อเสนอแนะเพ่ือ พิจารณาปรับปรุงคู่มือการจัดทาโครงงานพิเศษให้เหมาะสมยิ่งขึ้น หวังเป็นอย่างยิ่งว่าคู่มือฉบับน้ีจะเป็น ประโยชน์ต่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานพิเศษและผู้จัดทาโครงงานพิเศษในการนาไปใช้เป็นแนวทางในการ จัดการเรียนการสอนรายวิชาโครงงานพเิ ศษ (Special Project) ใหป้ ระสบความสาเร็จตอ่ ไป คณะบรหิ ารธรุ กิจ มกราคม 2562 ก
สำรบญั ข คานา หนำ้ สารบัญ ก บทที่ 1 ข้นั ตอนการจัดทาโครงงานพิเศษ ข 1 1.1 การเสนอโครงงานพิเศษ 1 1.2 การสอบหวั ข้อโครงงานพเิ ศษ 2 1.3 การสอบความกา้ วหน้าโครงงานพเิ ศษ 2 1.4 การสอบป้องกนั โครงงานพิเศษ 3 1.5 การส่งเลม่ โครงงานพเิ ศษฉบบั สมบูรณ์ 3 1.6 ข้ันตอนการจัดทาโครงงานพเิ ศษ 4 บทที่ 2 สว่ นประกอบของโครงงานพเิ ศษ 7 2.1 ส่วนนา 7 2.2 ส่วนเน้ือหา 8 2.3 สว่ นอ้างองิ หรือส่วนท้าย 10 บทท่ี 3 การพิมพโ์ ครงงานพิเศษ 12 3.1 กระดาษที่ใช้ 12 3.2 การวางรูปหนา้ กระดาษพิมพ์ 12 3.3 การพิมพ์ 12 3.4 การลาดับหนา้ และการพิมพเ์ ลขหน้า 13 3.5 การพิมพ์บทที่ หวั ข้อสาคัญ และหวั ข้อย่อย 14 3.6 การพมิ พ์ตาราง 14 3.7 การพิมพภ์ าพประกอบ 15 3.8 การเขยี นอ้างองิ แบบนาม-ปี 15 3.9 การพิมพ์บรรณานุกรม 15 ภาคผนวก ก 16 ตวั อย่างการพิมพโ์ ครงงานพเิ ศษ 17 ภาคผนวก ข 32 ข้ันตอนในการจัดส่งโครงงานพเิ ศษฉบับสมบรู ณ์ 33 ภาคผนวก ค 34 คู่มือการใชง้ านระบบโครงงานพิเศษ 35 ข
1 บทที่ 1 ขนั้ ตอนกำรจดั ทำโครงงำนพิเศษ 1.1 กำรเสนอโครงงำนพิเศษ การเสนอโครงงานพเิ ศษ ให้นกั ศึกษาดาเนินการตามขอ้ กาหนดและขั้นตอน ดังนี้ 1.1.1 การจดั ทาโครงงานพิเศษ ประกอบด้วย 1.1.1.1 หวั ข้อโครงงานพิเศษ 1.1.1.2 ความเปน็ มาและความสาคญั ของปัญหา (นิยามปญั หาและความสาคัญของปญั หา ความ จาเปน็ ทใ่ี ช้ในการวจิ ยั มาแกไ้ ขปัญหา) 1.1.1.3 วัตถุประสงค์ (ระบุวัตถปุ ระสงค์ให้ชัดเจน ในกรณีทมี่ กี ารศึกษาตวั แปรให้ระบสุ มมติฐาน ในการจดั ทาโครงงานพเิ ศษดว้ ย) 1.1.1.4 ขอบเขตของการจัดทาโครงงานพิเศษ (ระบุขอบเขตของเน้ือหา พ้ืนท่ี และระยะเวลาใน การศึกษา) 1.1.1.5 วิธีการวิจัย (ระบุการออกแบบโครงงานพิเศษ ขั้นตอนโครงงานพิเศษ เคร่ืองมือท่ีใช้ใน โครงงานพิเศษ วิธีการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล และการแปลผล) 1.1.1.6 ประโยชนข์ องโครงงานพิเศษ (ระบุอย่างชัดเจนวา่ ผลที่ได้จากโครงงานพิเศษคืออะไร จะ นาเสนอผลโครงงานพเิ ศษหรอื ประโยชน์ในการแก้ไขปัญหาได้อย่างไร) 1.1.1.7 รายชือ่ เอกสารอา้ งองิ (ระบุชอ่ื เอกสารตา่ ง ๆ ทใ่ี ช้เปน็ หลกั ในโครงงานพเิ ศษตามรูปแบบ ที่ระบุไว้ในคมู่ อื การจัดทาโครงงานพเิ ศษ) 1.1.1.8 รายละเอียดอื่น ๆ นอกเหนือจากนี้ให้เป็นไปตามความต้องการของหลักสูตรในแต่ สาขาวิชา 1.1.2 นักศึกษาจะเสนอโครงงานพิเศษได้ จะมีสถานภาพเป็นผู้จัดทาโครงงานช้ันปีท่ี 3 หรือช้ันปีที่ 4 และสอบผ่านตามหลักสูตรบริหารธุรกิจบณั ฑิตในทุกรายวิชาของภาคการศึกษาที่ 1 และ2 ของปีการศึกษาที่ 1 และปกี ารศกึ ษาที่ 2 และภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษาที่ 3 ทั้งนี้ตอ้ งได้รับความเหน็ ชอบจากคณะบริหารธุรกิจ ในหนึ่งโครงงานสามารถมีจานวนผจู้ ดั ทาไดไ้ มเ่ กิน 2 คนโดยจะตอ้ งลงทะเบยี นในภาคการศึกษาเดยี วกัน 1.1.3 นักศึกษาย่ืนแบบฟอร์มขออนุมัติหัวข้อโครงงานพิเศษ (บธค.01) แก่อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน พิเศษ เพ่ือทาการตรวจสอบ ภายใน 10 วันทาการนับต้ังแต่วันเปิดการศึกษา และอนุญาตให้นักศึกษา ลงทะเบียนขอสอบหวั ข้อโครงงานพเิ ศษต่อไป
2 1.2 กำรสอบหัวข้อโครงงำนพเิ ศษ คณะบริหารธุรกจิ มีข้อกาหนดและขน้ั ตอนการดาเนนิ การในการสอบหวั ข้อโครงงานพิเศษ ดงั นี้ 1.2.1 นักศึกษาเข้าสู่ระบบโครงงานพิเศษ พร้อมแนบแบบฟอร์มขอสอบหัวข้อโครงงานพิเศษ (บธค.02) ภายใน 15 วันทาการ นับแต่วันท่ียื่นขออนุมัติหัวข้อโครงงานพิเศษ เพื่อผ่านการตรวจสอบและ อนุมัตจิ ากอาจารย์ท่ีปรกึ ษาหลัก ประธานสาขา และประธานโครงงานพเิ ศษ ตามขน้ั ตอนของระบบ 1.2.2 เมือ่ นกั ศึกษาได้รับอนมุ ตั ิการสอบหัวขอ้ โครงงานพิเศษตามระบบแลว้ ให้นักศึกษาเขา้ สู่ระบบ เพื่อพิมพ์ใบสอบหัวข้อโครงงานพิเศษ (บธค.07) และสอบหัวข้อโครงงานพิเศษ ตามวันเวลาที่นัดหมายกับ อาจารย์ทีป่ รึกษาหลกั (กาหนดไว้ในระบบ) 1.2.3 เม่ือนักศึกษาสอบหัวข้อโครงงานพิเศษเรียบร้อยแล้ว นักศึกษาส่งใบสอบหัวข้อโครงงาน พิเศษ (บธค.07) ภายใน 3 วันทาการ หลังวันท่ีสอบหัวข้อโครงงานพิเศษแล้ว แก่เจ้าหน้าท่ีโครงงานพิเศษ เพอ่ื ทาการเปิดระบบให้นักศึกษาดาเนนิ การขนั้ ตอนต่อไป และประกาศเป็นหวั ขอ้ โครงงานพิเศษ 1.2.4 ในกรณีท่ีมีผลการสอบหัวข้อโครงงานพิเศษเป็น “ผ่านโดยมีการปรับปรุงแก้ไข” นักศึกษา จะต้องดาเนินการแก้ไขปรับปรุงโครงงานพิเศษตามข้อเสนอแนะของอาจารย์ท่ีปรึกษาโครงงานพิเศษ และ ยื่นคาร้องเสนอโครงงานพิเศษฉบับแก้ไข (บธค.05) พร้อมโครงงานพิเศษที่ได้ปรับแก้ไขแล้วนั้น โดยให้ อาจารย์ทีป่ รกึ ษาโครงงานพิเศษลงนามให้ความเหน็ ชอบภายใน 5 วันทาการ นับแต่วนั ท่สี อบหัวขอ้ โครงงาน พิเศษ เพอ่ื เสนอประธานสาขา และประธานโครงงานพิเศษ อนมุ ัติ และประกาศเปน็ หัวขอ้ โครงงานพเิ ศษ 1.2.5 ในกรณีท่ีมีผลการสอบหัวข้อโครงงานพิเศษ “ไม่ผ่าน” ให้เสนอโครงงานพิเศษใหม่และสอบ หัวข้อโครงงานพิเศษใหม่ 1.2.6 การเปลย่ี นแปลงใด ๆ เกยี่ วกบั โครงงานพิเศษที่ไดร้ บั อนมุ ัติแลว้ ในกรณเี ป็นการเปล่ียนแปลง หัวข้อโครงงานพิเศษหรือสาระสาคัญของโครงงานพิเศษ ให้อาจารย์ท่ีปรึกษาโครงงานพิเศษประเมินผล โครงงานพิเศษที่ลงทะเบียนผ่านมาท้ังหมดเป็นระดับค่าคะแนน I ซึ่งนักศึกษาต้องลงทะเบียนและยื่นขอ อนมุ ัติโครงงานพเิ ศษใหม่ 1.3 กำรสอบควำมกำ้ วหน้ำโครงงำนพเิ ศษ คณะบริหารธุรกิจมีข้อกาหนดและข้ันตอนการดาเนินการในการสอบความก้าวหน้าโครงงานพิเศษ ดงั น้ี 1.3.1 นักศึกษาส่งแบบฟอร์มขอสอบก้าวหน้าโครงงานพิเศษเข้าสู่ระบบ (บธค.03) เข้าสู่ระบบ โครงงานพิเศษ หลังจากสอบหัวข้อโครงงานพิเศษไปแล้วไม่น้อยกว่า 45 วัน นับแต่วันที่ประกาศผลสอบ หัวข้อโครงงานพิเศษ เพ่ือผ่านการตรวจสอบและอนุมัติจากอาจารย์ที่ปรึกษาหลัก ประธานสาขา และ ประธานโครงงานพิเศษ ตามขนั้ ตอนของระบบ
3 1.3.2 เมื่อนักศึกษาได้รับอนุมัติสอบก้าวหน้าโครงงานพิเศษตามระบบแล้ว ให้นักศึกษาเข้าสู่ระบบ เพอ่ื พิมพใ์ บสอบกา้ วหนา้ โครงงานพเิ ศษ (บธค.08) และสอบกา้ วหน้าโครงงานพเิ ศษ ตามวนั เวลาทนี่ ดั หมาย กบั อาจารย์ท่ปี รึกษาหลกั (กาหนดไวใ้ นระบบ) 1.3.3 เม่อื นักศึกษาสอบความก้าวหน้าโครงงานพิเศษเรยี บร้อยแล้ว ให้นักศกึ ษาส่งใบสอบก้าวหน้า โครงงานพิเศษ (บธค.08) ภายใน 3 วันทาการ หลังวันที่สอบก้าวหน้าโครงงานพิเศษ แก่เจ้าหน้าท่ีโครงงาน พเิ ศษ เพ่ือทาการเปิดระบบให้นกั ศึกดาเนนิ การข้ันตอนต่อไป 1.4 กำรสอบป้องกนั โครงงำนพเิ ศษ คณะบรหิ ารธุรกิจมขี อ้ กาหนดและขั้นตอนการดาเนินการในการสอบปอ้ งกนั โครงงานพเิ ศษ ดังนี้ 1.4.1 นักศึกษาส่งแบบฟอร์มขอสอบป้องกันโครงงานพิเศษเข้าสู่ระบบ (บธค.04) หลังจากสอบ ก้าวหน้าโครงงานพิเศษไปแล้วไม่น้อยกว่า 10 วัน นับแต่วันที่ประกาศผลสอบความก้าวหน้าโครงงานพิเศษ เพื่อผ่านการตรวจสอบและอนุมัติจากอาจารย์ท่ีปรึกษาหลัก ประธานสาขา และประธานโครงงานพิเศษ ตามขน้ั ตอนของระบบ 1.4.2 เม่ือนักศึกษาได้รับอนุมัติสอบป้องกันโครงงานพิเศษตามระบบแล้ว ให้นักศึกษาเข้าสู่ระบบ เพื่อพิมพ์ใบสอบป้องกันโครงงานพิเศษ (บธค.09) และสอบป้องกันโครงงานพิเศษ ตามวันเวลาท่ีนัดหมาย กับทอ่ี าจารย์ปรึกษาหลัก (กาหนดไว้ในระบบ) 1.4.3 เม่ือนักศึกษาสอบป้องกันโครงงานพิเศษเรียบร้อยแล้ว ให้นักศึกษาส่งใบสอบป้องกัน โครงงานพิเศษ (บธค.09) และเล่มโครงงานพิเศษฉบับสมบูรณ์ ภายใน 10 วันทาการ หลังวันที่สอบป้องกัน โครงงานพิเศษ แก่เจ้าหน้าที่โครงงานพิเศษ เพื่อเปิดระบบให้นักศึกษาดาเนินการแนบไฟล์โครงงานพิเศษ เขา้ ส่รู ะบบโครงงานพเิ ศษ 1.4.4 การทาเล่มโครงงานพิเศษ ให้นักศึกษาส่งเล่มโครงงานพิเศษฉบับสมบูรณ์ พร้อมใบรับรอง โครงงานพิเศษท่ีมีการเซ็นต์รับรองจากท่ีปรึกษาหลัก ที่ปรึกษาร่วมหรือกรรมการสอบ และประธานสอบ ตามจานวนที่นักศึกษาต้องการ พร้อมบรรจุในซองน้าตาล พร้อมติดหน้าปกโครงงานพิเศษบนหน้าซอง แก่ เจ้าหนา้ ท่โี ครงงานพิเศษ 1.5 กำรสง่ โครงงำนพิเศษฉบบั สมบรู ณ์ นักศึกษาต้องส่งเล่มโครงงานพิเศษฉบับสมบูรณ์พร้อมใบรับรองท่ีมีลายมือช่ือคณะกรรมการสอบ โครงงานพิเศษครบถว้ นทุกคน จานวน 1 เลม่ โดยบรรจโุ ครงงานพิเศษฉบบั สมบูรณ์ใส่ซองมาตรฐานขยาย ขา้ งสีนา้ ตาลและใหส้ าเนาปกในปะไวห้ นา้ ซองจานวน 1 ซอง พร้อมแนบเอกสารคารอ้ ง ดงั น้ี 1.5.1 ขอส่งเลม่ โครงงานพเิ ศษฉบบั สมบูรณ์ (บธค.07) 1.น6อขกน้ั จตาอกนนก้ีนำักรศจึดักทษำาโตค้อรงงสง่ำงไนฟพลเิ ์ศโคษรงงานพิเศษฉบับสมบูรณ์ (File word และ File PDF) (ตัวอย่างใน ภาคผนวก ข หน้า 34)
4 กำรเสนอโครงงำนพิเศษและสอบหัวข้อโครงงำนพเิ ศษ - นักศึกษาตอ้ งลงทะเบียนรายวชิ าโครงงานพิเศษ 3 หนว่ ยกิต - นกั ศึกษายื่นแบบฟอรม์ ขออนมุ ัตหิ วั ขอ้ โครงงานพิเศษ (บธค.01) แก่อาจารย์ท่ปี รกึ ษาโครงงานพเิ ศษ - ท่ปี รกึ ษาหลักโครงงานพิเศษทาการตรวจสอบ และอนญุ าตใหน้ กั ศึกษาเข้าสู่ระบบโครงงานพเิ ศษ เพื่อยน่ื แบบฟอรม์ ขอสอบหัวขอ้ โครงงานพเิ ศษ (บธค.02) เขา้ สรู่ ะบบ - นกั ศึกษาเข้าสู่ระบบโครงงานพิเศษ เพื่อยน่ื แบบฟอร์มขอสอบหวั ขอ้ โครงงานพิเศษ (บธค.02) เขา้ สู่ ระบบโครงงานพิเศษ - ทป่ี รึกษาหลักเขา้ ระบบเพื่อตรวจสอบอนุมตั ิให้สอบหวั ข้อโครงงานพเิ ศษ - เจ้าหนา้ ทีโ่ ครงงานพิเศษเขา้ สรู่ ะบบเพ่ือตรวจสอบหัวข้อโครงงานพิเศษ - ประธานสาขาเขา้ ระบบเพ่ือตรวจสอบอนมุ ตั ิใหส้ อบหัวข้อโครงงานพิเศษ - ประธานโครงงานพเิ ศษเข้าระบบเพ่ือตรวจสอบอนมุ ตั ิให้สอบหัวข้อโครงงานพเิ ศษ - นกั ศึกษาเข้าสูร่ ะบบเพ่ือพิมพ์ใบสอบหวั ข้อโครงงานพิเศษ (บธค.07) - นกั ศึกษาสอบหัวข้อโครงงานพิเศษ ตามวนั เวลาท่ีนดั หมายกับทปี่ รึกษาหลกั - นกั ศกึ ษาสง่ ใบสอบหวั ข้อโครงงานพิเศษ (บธค.07) ภายใน 3 วนั ทาการ หลังวันทีส่ อบหวั ขอ้ โครงงานพเิ ศษ แกเ่ จ้าหนา้ ทีโ่ ครงงานพิเศษ - เจ้าหนา้ ที่ทาการเปิดระบบให้นกั ศกึ ษาดาเนินการข้ันตอนต่อไป
5 กำรสอบกำ้ วหนำ้ โครงงำนพเิ ศษ - นักศึกษาส่งแบบฟอรม์ ขอสอบก้าวหนา้ โครงงานพิเศษ (บธค.03) เข้าสูร่ ะบบโครงงานพิเศษ (สามารถสง่ แบบฟอรม์ ขอสอบก้าวหนา้ โครงงานพิเศษไดห้ ลังจากสอบหวั ข้อโครงงานพิเศษไปแลว้ ไม่ ต่ากว่า 45 วัน) - ท่ปี รกึ ษาหลกั เข้าระบบเพ่ือตรวจสอบอนมุ ัติให้สอบก้าวหนา้ โครงงานพิเศษ - ประธานสาขาเขา้ ระบบเพ่ือตรวจสอบอนุมัติใหส้ อบก้าวหนา้ โครงงานพเิ ศษ - ประธานโครงงานพิเศษเข้าระบบเพ่ือตรวจสอบอนุมัติให้สอบกา้ วหนา้ โครงงานพิเศษ - นักศกึ ษาเข้าสรู่ ะบบเพ่ือพิมพ์ใบสอบกา้ วหนา้ โครงงานพิเศษ (บธค.08) - นกั ศกึ ษาสอบก้าวหนา้ โครงงานพิเศษ ตามวนั เวลาท่นี ัดหมายกบั ท่ีปรึกษาหลัก - นักศกึ ษาส่งใบสอบก้าวหนา้ โครงงานพเิ ศษ (บธค.08) ภายใน 3 วนั ทาการ หลงั วันท่สี อบก้าวหน้า โครงงานพเิ ศษ แกเ่ จ้าหน้าทีโ่ ครงงานพิเศษ - เจ้าหน้าทท่ี าการเปดิ ระบบให้นักศกึ ดาเนนิ การขั้นตอนต่อไป
6 กำรสอบป้องกันโครงงำนพเิ ศษ และส่งเล่มฉบบั สมบูรณ์ - นักศึกษาส่งแบบฟอร์มขอสอบปอ้ งกนั โครงงานพเิ ศษ (บธค.04)เขา้ สู่ระบบโครงงานพเิ ศษ (สามารถ สง่ แบบฟอร์มขอสอบป้องกันโครงงานพิเศษ (บธค.04) ไดห้ ลังจากสอบก้าวหน้าโครงงานพิเศษไปแลว้ ไม่นอ้ ยกวา่ 10 วนั ) - ทป่ี รกึ ษาหลกั เข้าระบบเพื่อตรวจสอบอนมุ ตั ิให้สอบป้องกันโครงงานพเิ ศษ - ประธานสาขาเข้าระบบเพ่ือตรวจสอบอนมุ ัติให้สอบป้องกันโครงงานพเิ ศษ - ประธานโครงงานพิเศษเข้าระบบเพื่อตรวจสอบอนมุ ัติให้สอบป้องกันโครงงานพิเศษ - นักศึกษาเข้าสรู่ ะบบเพื่อพิมพ์ใบสอบป้องกนั โครงงานพเิ ศษ (บธค.09) - นกั ศึกษาสอบป้องกันโครงงานพเิ ศษ ตามวันเวลาทน่ี ดั หมายกบั ที่ปรกึ ษาหลกั และประธานสอบ - นักศกึ ษาส่งใบสอบป้องกนั โครงงานพิเศษ (บธค.09) และเล่มโครงงานพเิ ศษฉบบั สมบรู ณ์ ภายใน 10 วนั ทาการ หลงั วนั ท่ีสอบป้องกนั โครงงานพเิ ศษ แกเ่ จา้ หน้าทโ่ี ครงงานพเิ ศษ - เจ้าหน้าทที่ าการเปดิ ระบบใหน้ ักศกึ ดาเนนิ การแนบไฟล์โครงงานพิเศษเข้าส่รู ะบบโครงงานพเิ ศษ - นักศกึ ษาส่งเลม่ โครงงานพเิ ศษฉบบั สมบรู ณ์ พร้อมใบรบั รองโครงงานพเิ ศษทม่ี ีการเซ็นตร์ บั รองจาก ที่ปรึกษาหลัก ทป่ี รึกษารว่ มหรือกรรมการสอบ และประธานสอบ ตามจานวนที่นกั ศึกษาต้องการ พรอ้ มบรรจุในซองน้าตาล พร้อมตดิ หนา้ ปกโครงงานพเิ ศษบนหนา้ ซอง แกเ่ จ้าหนา้ ท่ีโครงงานพเิ ศษ - จบรายวชิ าโครงงานพเิ ศษ
บทที่ 2 สว่ นประกอบของโครงงำนพเิ ศษ สว่ นประกอบของโครงงานจะขึน้ อยกู่ ับลักษณะและความมุ่งหมายของโครงงานน้ัน ๆ โดยท่ัวไป โครงงานอาจมีความแตกต่างในรายละเอียดต่าง ๆ แต่กจ็ ะมีรูปแบบท่เี ป็นมาตรฐานสากล โดยทั่วไป ส่วนประกอบของโครงงาน จาแนกเปน็ 3 สว่ น ดังน้ี 1. ส่วนนา 2. สว่ นเน้ือหา 3. สว่ นอ้างองิ หรือส่วนทา้ ย 2.1 สว่ นนำ สว่ นนาประกอบดว้ ยรายละเอียด ดงั น้ี 2.1.1 ปกนอก หน้าปกนอกและปกในให้เขียนช่ือและนามสกุลของผู้ทาโครงงาน โดยให้ใช้คา นาหน้าเช่น นาย นาง นางสาว เป็นต้น (ดูตัวอย่างในภาคผนวก ก หน้า 17) สาหรับปกด้านนอกให้เข้าเล่ม เปน็ ปกหนังสีนา้ เงินเขม้ พิมพด์ ว้ ยอกั ษรสีทอง 2.1.2 สันปก ให้พิมพ์ชื่อเรื่องชิดด้านซ้าย (ในกรณีท่ีชื่อเรื่องยาวให้พิมพ์เป็นสองบรรทัด) และปี การศกึ ษาทจี่ ดั ทาโครงงานพิเศษชิดด้านขวา 2.1.3 กระดำษเปลำ่ ถดั จากปกแขง็ ด้านหน้าและก่อนปกแข็งด้านหลังใหม้ ีกระดาษสขี าวด้านละ 1 แผ่น 2.1.4 ใบรับรองโครงงำนพิเศษ ให้ใช้แบบฟอร์มของคณะบริหารธุรกิจ โดยพิมพ์ข้อความการลง นาม ในใบรบั รองให้ลงลายมือชื่อจริงของคณะกรรมการสอบโครงงานพิเศษด้วยหมึกสดี าเท่านั้น (ดูตัวอย่าง ในภาคผนวก ก หนา้ 18) 2.1.5 ปกใน ข้อความในปกในให้เขียนเป็นภาษาไทย (ดูตัวอย่างในภาคผนวก ก หน้า 17) โดยมี สาระสาคัญ ดงั นี้ 2.1.5.1 หัวข้อโครงงานพิเศษ 2.1.5.2 ขื่อผู้จัดทาโครงงานพิเศษ มีคานาหน้าช่ือ นาย นาง หรือนางสาว ในกรณีท่ีผู้มียศ เชน่ ร้อยตารวจตรี หม่อมราชวงศ์ เป็นต้น ให้ยศนั้น ๆ นาหนา้ ชอื่ 2.1.5.3 ระบุวา่ โครงงานพเิ ศษน้ีเป็นส่วนหนง่ึ ของการศกึ ษาในหลักสตู รใด สาขาวชิ าใดและ ปีการศึกษาทจ่ี ดั ทาโครงงานพเิ ศษ
8 2.1.5.4 ระบุว่า ลิขสิทธ์ิของคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระ นครเหนือ 2.1.5.5 ข้อความบนปกในที่เขียนเป็นภาษาไทยให้ใช้ตัวพิมพ์ช่ือ TH SarabunPSK ขนาด ตัวอักษร 16 พอยต์ ตัวธรรมดา ในกรณีเขียนเป็นภาษาอังกฤษให้ใช้ตัวพิมพ์ชื่อ TH SarabunPSK ขนาด ตัวอกั ษร 16 พอยต์ ตวั ธรรมดา พมิ พต์ วั อกั ษรภาษาองั กฤษตวั พมิ พ์ใหญ่ 2.1.6 บทคัดย่อ ข้อความในบทคัดย่อใหเ้ ขียนเปน็ ภาษาไทย (ดตู วั อย่างในภาคผนวก ก หน้า 19 และเขยี นเปน็ ภาษาองั กฤษ ดูตวั อย่างในภาคผนวก ก หนา้ 20) โดยมีสาระสาคัญ ดงั น้ี 2.1.6.1 ชื่อ-สกุลของผู้จัดทาโครงงานพิเศษ พร้อมคานาหน้าเช่นเดียวกับปกใน หัวข้อ โครงงานพิเศษ สาขาวิชา ช่ือมหาวิทยาลัย รายนามอาจารย์ท่ีปรึกษาโครงงานพิเศษ และปีการศึกษาท่ี สาเรจ็ การศึกษา 2.1.6.2 วตั ถปุ ระสงค์ ขอบเขต วธิ ีการศึกษาโครงงานพิเศษ และผลทไ่ี ดจ้ ากโครงงานพิเศษ และสรุป 2.1.6.3 ระบจุ านวนหนา้ รวมของเล่มโครงงานพิเศษ 2.1.6.4 ระบคุ าสาคัญทเ่ี ปน็ คาหลกั เพื่อใชใ้ นการคน้ หาข้อมูลบนอนิ เทอรเ์ นต็ 2.1.6.5 อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานพิเศษหลักลงนามอนุมตั ิ 2.1.7 กิตตกิ รรมประกำศ เป็นข้อความทกี่ ลา่ วขอบคณุ ผ้ทู ี่ให้ความช่วยเหลอื และให้ความร่วมมือใน การค้นคว้าในการจัดทาโครงงานพิเศษ กิตติกรรมประกาศน้ีควรมีความยาวไม่ควรเกิน 1 หน้ากระดาษ (ตัวอย่างในภาคผนวก ก หน้า 21) 2.1.8 สำรบัญ แสดงถึงส่วนประกอบสาคัญทั้งหมดของโครงงานพิเศษ โดยเรียงตามลาดับ เลข หน้า ในกรณีท่ีไม่จบในหนึ่งหน้า ให้พิมพ์คาว่า สารบัญ (ต่อ) อยู่กลางหน้ากระดาษถัดไป (ดูตัวอย่างใน ภาคผนวก ก หนา้ 22) 2.1.9 สำรบัญตำรำง (หากมี) เป็นส่วนที่แสดงตาแหน่งหน้าของตารางท้ังหมด ท่ีมีอยู่ในรายงาน โครงงานพเิ ศษ (ดตู ัวอยา่ งในภาคผนวก ก หน้า 23) 2.1.10 สำรบัญภำพ หรือ สำรบัญแผนภูมิ (กรณีท่ีมี) แสดงตาแหน่งหน้าของภาพต่าง ๆ เช่น รูปภาพ แผนภาพ แผนท่ี กราฟ เป็นต้น ท่ีแสดงอยู่ในรายงานโครงงานพิเศษ (ดูตัวอย่างในภาคผนวก ก หนา้ 24) 2.1.11 รำยกำรสัญลกั ษณ์ (กรณีทม่ี )ี แสดงรายการของสัญลกั ษณ์ หรอื เครื่องหมายต่าง ๆ ทแี่ สดง ในรายงานโครงงานพิเศษ ควรอธิบายความหมายและหน่วยของสญั ลักษณ์นนั้ ๆ ประกอบใหช้ ัดเจน 2.1.12 ประมวลศัพท์และคำย่อ (กรณีที่มี) แสดงรายการของคาศัพท์ หรือคาย่อที่ใช้ในรายงาน โครงงานที่ปรากฏอยูซ่ า้ ๆ โดยอธบิ ายความหมายและคาเตม็ ของคาย่อน้นั ๆ ให้ชดั เจน
9 2.2 สว่ นเน้อื หำ ส่วนเนื้อหาของโครงงานพิเศษจะเป็นเนอ้ื หาหลักหรือเนอ้ื หาท่ีสาคัญของรายงานโครงงานพิเศษใน การเขียนอธิบายการดาเนินงานของโครงงานพิเศษ โดยท่ัวไปแบ่งออกเป็น 5 บท ดังน้ี 2.2.1 บทที่ 1 บทนำ ประกอบด้วยสว่ นตา่ ง ๆ ดังน้ี 2.2.1.1 ควำมเป็นมำและควำมสำคัญของปัญหำ จะกล่าวถึงความเป็นมาและ ความสาคัญของปัญหาที่สาคญั และจาเปน็ ท่จี ะต้องจดั ทาโครงงานพิเศษเพ่ือแก้ไขปัญหาทเ่ี กี่ยวข้องกับธุรกิจ ทางด้านบริหารธุรกิจและโลจิสติกส์ ทางด้านบัญชี และทางด้านคอมพิวเอร์ธุรกิจ หรือเป็นเหตุจูงใจให้ ผ้จู ดั ทาโครงงานพเิ ศษมีความคิดที่จะทางานโครงงานพิเศษนนั้ ๆ 2.2.1.2 วัตถุประสงค์ของโครงงำนพิเศษ เป็นข้อความระบุเป้าหมายของการค้นหา ข้อเท็จจริงในประเด็นต่าง ๆ โดยท่ัวไปจะข้ึนต้นว่า เพ่ือศึกษา......... เพ่ือพัฒนา.......... เพ่ือวิเคราะห์........ เป็นต้น ในกรณีมีวัตถุประสงค์หลายข้อ นิยมเขียนเป็นข้อ ๆ โดยเรียงลาดับตามเป้าหมายท่ีจะทาโครงงาน พเิ ศษ 2.2.1.3 สมมติฐำนกำรวิจัย (ถ้ามี) เป็นข้อความที่กาหนดข้ึนเพื่อคาดคะเนถึงผลของ โครงงานพิเศษที่จะเกิดขึ้นว่าเป็นลักษณะใดหรือมีผลเป็นอย่างไร โดยเขียนเป็นข้อ ๆ ให้สอดคล้องกับ วัตถุประสงค์ของโครงงานพเิ ศษ 2.2.1.4 ขอบเขตกำรศึกษำ เป็นข้อความที่จะทาการศึกษาโครงงานโดยกาหนดความ ชัดเจนว่าจะศึกษาอะไร กับใคร เม่ือใด ภายใต้กรอบปัญหาและความสาคัญของปัญหา โดยครอบคลุม วัตถุประสงค์ โดยทั่วไปจะเกี่ยวข้องกับเน้ือหาสาระเกี่ยวกับขอบเขตเนื้อหา ประชากรท่ีศึกษา และ ระยะเวลาท่ีใชใ้ นการวิจยั 2.2.1.5 ข้อตกลงเบ้ืองต้น (ถ้ามี) เป็นข้อความท่ีกาหนดขึ้นเพ่ือระบุความคิดพื้นฐานหรือ ข้อจากัดที่ผู้จัดทาโครงงานพิเศษต้องการทาความเข้าใจกับผู้อ่านว่า การจัดทาโครงงานพิเศษมีข้อจากัด มี ข้อยกเวน้ หรือมขี อ้ ตกลงอะไรบา้ ง ซง่ึ ต้องเปน็ ประเดน็ สาคัญทสี่ ง่ ผลตอ่ โครงงานพเิ ศษ 2.2.1.6 นิยำมศัพท์ เป็นข้อความท่ีอธิบายความหมายของคาสาคัญที่ใช้ในโครงงานพิเศษ ซง่ึ คาเหลา่ นั้นจะมีความหมายเฉพาะในการจัดทาโครงงานพิเศษเท่านั้น 2.2.1.7 ประโยชนท์ ี่คำดว่ำจะได้รบั จำกกำรศกึ ษำโครงงำนพิเศษ เป็นข้อความที่แสดงถึง ผลการศึกษาโครงงานวา่ จะนาไปใช้ประโยชน์ได้อยา่ งไร โดยจะต้องสอดคล้องกับวตั ถุประสงค์ของการศึกษา โครงงาน เช่น การนาผลลัพธ์ของโครงงานพิเศษไปใช้ในการวางแผน กาหนดนโยบาย พัฒนาระบบงาน ปรับปรุงกระบวนการทางาน ใช้เป็นข้อมูลสาหรับการแก้ไขปัญหาและการตัดสินใจทางด้านธุรกิจและ ทางดา้ นการศกึ ษา เป็นตน้
10 2.2.2 บทที่ 2 เอกสำรและงำนวจิ ยั ทเี่ กีย่ วขอ้ ง ประกอบด้วยสว่ นประกอบ ดงั นี้ 2.2.2.1 แนวคิดและทฤษฎีที่เก่ียวข้องกับโครงงำนพิเศษ เป็นส่วนท่ีผู้จัดทารายงาน โครงงานพิเศษ ได้รวบรวมทฤษฏีต่าง ๆ หลักการ แนวคิด เทคนิค วิธีการ และข้อมูลต่าง ๆ ท่ีสาคัญและ เก่ียวข้องกับช่ือเร่ืองโครงงานพิเศษในการนามาอธิบายประกอบในโครงงานพิเศษ เนื้อหาส่วนน้ีผู้จัดทา โครงการจะต้องทาการศึกษา ค้นคว้า วิเคราะห์ สังเคราะห์ และประเมินสาระสาคัญอย่างครอบคลุม กวา้ งขวางและเจาะลกึ ในประเดน็ ทีศ่ กึ ษาโครงงานพเิ ศษ 2.2.2.2 งำนวิจัยท่ีเก่ียวข้องกับโครงงำนพิเศษ เป็นการนาเสนอสาระสาคัญเก่ียวกับ วรรณกรรม งานวิจัย ผลการศึกษาต่าง ๆ ท่ีบุคคลอ่ืนหรือหน่วยงานอ่ืนได้ทาการศึกษามาแล้ว โดยมี ความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับโครงงานพิเศษท่ีผู้จัดทาโครงงานพิเศษกาลังจัดทาอยู่ และสิ่งที่สาคัญทฤษฎีที่ ศกึ ษาจะตอ้ งเป็นทฤษฎหี ลักหรือสาคัญที่เกย่ี วขอ้ งกบั ชื่อเร่ืองโครงงานพิเศษของผู้จดั ทาโครงงานพิเศษ และ การอ้างอิงวรรณกรรมหรืองานวิจัยท่ีเก่ียวข้อง ควรเลือกวรรณกรรมที่เก่ียวข้องกับช่ือเรื่องโครงงาน พิเศษ ของผู้จัดทาโครงงานพิเศษ และควรอ้างอิงวรรณกรรมหรืองานวิจัยที่ทันสมัย โดยปกติจะนับจากปีปัจจุบัน ย้อนหลังไปไม่ควรเกิน 5 ปี เช่น ปัจจุบันปี 2562 ควรอ้างอิงวรรณกรรมหรืองานวิจัยท่ีเกี่ยวข้องปี 2557 – 2561 เปน็ ตน้ 2.2.3 บทที่ 3 วธิ กี ำรดำเนนิ โครงงำนพเิ ศษ/วธิ กี ำรออกแบบโครงงำนพิเศษ เป็นส่วนสาคัญของการจัดทาโครงงานพิเศษ ต้องรายงานเก่ียวกับแผนงานและวิธีการดาเนินงาน เปน็ ลาดบั รวมถึงประชากรและกลมุ่ ตัวอย่าง เครอ่ื งมอื ท่ใี ชใ้ นการจัดทาโครงงานพิเศษ ข้ันตอนการรวบรวม ข้อมูล การวเิ คราะห์ข้อมลู เพ่ือนาไปสู่การสรุปผล อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะต่อไป โดยท่ัวไป บทที่ 3 ประกอบด้วย สว่ นตา่ ง ๆ ดงั น้ี 2.2.3.1. ประชำกรและกลุ่มตัวอย่ำง หมายถึงหน่วยข้อมูลทุกหน่วยที่ต้องการศึกษา ส่วน กลุ่มตัวอย่าง หมายถึงส่วนหนึ่งของประชากรท่ีจะนามาศึกษา จะต้องระบุขนาดของกลุ่มตัวอย่าง วิธีการ และข้ันตอนการเลือกกลุ่มตัวอย่างโดยละเอียดว่าใช้วิธีการใด คัดเลือกอย่างไร และมีจานวนกลุ่มตัวอย่าง เท่าใด 2.2.3.2. เครื่องมือที่ใช้ในกำรจัดทำโครงงำนพิเศษ ให้รายละเอียดของเคร่ืองมือท่ีใช้ใน การรวบรวมข้อมูลเป็นประเภทใด เช่น แบบสอบถาม แบบสังเกตการณ์ แบบสัมภาษณ์ เป็นต้น และมี ลักษณะอย่างไร 2.2.3.3. วิธีกำรเก็บรวบรวมข้อมูล อธิบายถึงการเก็บรวบรวบรวมข้อมูลมีข้ันตอนและ วิธีการอย่างไร
11 2.2.3.4. กำรวิเครำะห์ข้อมูลและสถิติท่ีใช้ อธิบายถึงวิธีการจัดกระทากับข้อมูลที่ได้มา เพอ่ื ใหไ้ ดค้ าตอบตามวัตถุประสงค์และสมมติฐานของโครงงานพิเศษ โดยสถติ ทิ ่ีใชจ้ ะต้องประกอบด้วย สถิติ เชิงพรรณา และสถิตอิ า้ งอิง 2.2.4 บทท่ี 4 ผลจำกโครงงำนพเิ ศษ เปน็ การรายงานผลการทดลองหรือผลการวจิ ัยตา่ ง ๆ ของโครงงานพิเศษ การอธบิ ายผลการทดลอง หรือผลการวิจัยหรือผลการวิเคราะห์ควรอธิบายจาแนกประเด็นต่าง ๆ อย่างชัดเจน เพื่อให้ผู้อ่านรายงาน โครงงานพิเศษเข้าใจได้สะดวกและรวดเร็ว นอกจากการบรรยายด้วยข้อความแล้วผู้จัดทารายงานโครงงาน พิเศษควรนาเสนอด้วยกราฟ ตาราง หรือรปู ภาพประกอบด้วย 2.2.5 บทที่ 5 สรุป อภิปรำยผลและขอ้ เสนอแนะ ประกอบดว้ ยสว่ นต่าง ๆ ดงั น้ี 2.2.5.1 สรุปสำระสำคัญ โดยสรุปให้ตรงตามวัตถุประสงค์ที่ผู้จัดทาโครงงานพิเศษได้ กาหนดไว้ในโครงงานพิเศษ โดยการสรุปตามวัตถปุ ระสงคท์ ลี ะขอ้ ตามลาดบั โดยใชภ้ าษาทง่ี ่ายต่อการเขา้ ใจ 2.2.5.2 กำรอภิปรำยผล เป็นการนาเสนอข้อค้นพบท่ีได้ใหเ้ ป็นไปตามสมมติฐานท่ีกาหนด ไว้ โดยจะต้องมีผลงานวจิ ยั อ่ืนๆ มาสนับสนนุ การอภิปรายผลนัน้ ๆดว้ ย 2.2.5.3 ข้อเสนอแนะ เป็นส่วนที่นาเสนอความคิดเห็นของผู้จัดทาโครงงานพิเศษเพ่ือให้ ผู้อ่านรายงานโครงงานพเิ ศษนาไปเปน็ แนวทางในการศึกษาโครงงานต่อไป 2.3 ส่วนอ้ำงอิงหรือส่วนท้ำย ส่วนอ้างอิงในโครงงานพิเศษแต่ละโครงงานพิเศษจะต้องมีรายการ เอกสารอา้ งองิ ประกอบด้วยส่วนต่าง ๆ ดงั นี้ 2.3.1 บรรณานุกรม แสดงรายช่ือหนังสือ ส่ิงพิมพ์ท่ีใช้ในการค้นคว้าอ้างอิงประกอบการจัดทา รายงานโครงงานพิเศษ โดยใช้หลักการเขยี นแบบ APA (American Psychological Association) 2.3.2 ภำคผนวก เป็นส่วนที่จัดทาเพิ่มเติมเพ่ือสร้างความเข้าใจในเนื้อหาสาระของโครงงานพิเศษ ให้เข้าใจย่ิงขึ้น เช่น คาศัพท์ ภาพประกอบ การคานวณ เป็นต้น หรืออ่ืนๆ ตามท่ีอาจารย์ที่ปรึกษาหลัก โครงงานพิเศษเหน็ สมควร 2.3.3 ประวัติผู้จัดทำโครงงำนพิเศษ ให้จาแนกเป็นหัวข้อ (ดูตัวอย่างในภาคผนวก ก หน้า 25) โดยมสี ่วนประกอบดงั นี้ 2.3.3.1 ประวัตกิ ำรศึกษำ 2.3.3.2 ประสบกำรณ์ 2.3.3.3 สถำนทีต่ ิดตอ่ ในปัจจุบัน
บทที่ 3 กำรพมิ พโ์ ครงงำนพิเศษ ในการพิมพ์รายงานโครงงานพิเศษจะต้องพิมพ์ให้ถูกต้องตามหลักภาษาศาสตร์ท้ังไวยากรณ์ การ สะกดคาถูกผิด และความสวยงาม ความเหมาะสมของภาษา โดยปกติจะพิมพ์ด้วยภาษาเขียนอย่างเป็น ทางการ ขอให้ผู้จัดทาโครงงานพิเศษตระหนักอยู่เสมอว่ารายงานโครงงานพิเศษท่ีเขียนนี้จะต้องนาไป เผยแพร่ต่อสาธารณชน ดังน้ัน ในกรณีที่เขียนดีก็จะเกิดประโยชน์ต่อผู้จัดทาโครงงานพิเศษ และ สถาบันการศึกษา แต่หากเขียนไม่ดีก็จะส่งผลเสียต่อผู้จัดทาโครงงานพิเศษ อาจารย์ และชื่อเสียงของ สถาบันการศึกษาได้ คู่มือนี้จะกล่าวถึงรายละเอียดบางส่วนท่ีเกี่ยวข้องในการพิมพ์รายงานโครงงานพิเศษ เพื่อให้รายงานโครงงานพิเศษแต่ละเล่มมรี ปู แบบทเ่ี ปน็ มาตรฐานเดยี วกนั รายละเอยี ดดังนี้ 3.1 กระดำษท่ใี ช้ กระดาษที่ใช้พิมพ์โครงงานพิเศษ เป็นกระดาษปอนด์ขาวพิเศษ ไม่มีเส้นบรรทัด ขนาดมาตรฐาน A4 (ขนาด 297x210 มลิ ลิเมตร) นา้ หนกั 80 กรัม ตอ่ ตารางเมตร 3.2 กำรวำงรปู หนำ้ กระดำษพมิ พ์ ใหเ้ ว้นระยะหำ่ งดงั นี้ (ดูตวั อย่างในภาคผนวก ก หน้า 26) 3.2.1 หวั กระดาษ ใหเ้ ว้น 3.81 เซนตเิ มตร (1.5 นิ้ว) ยกเวน้ หนา้ ที่ขน้ึ บทใหม่ของแต่ละบทใหม่เว้น 5.08 เซนตเิ มตร (2 นว้ิ ) 3.2.2 ขอบล่างและขอบขวามอื ใหเ้ ว้น 2.54 เซนติเมตร (1 น้ิว) 3.2.3 ขอบซ้ายมือ ใหเ้ วน้ 3.81 เซนติเมตร (1.5 นว้ิ ) 3.3 กำรพิมพ์ 3.3.1 ขนำดและแบบตัวพิมพ์ ให้ใช้เครื่องพิมพ์จากคอมพิวเตอร์ (Microsoft Word ใช้ตัวพิมพ์ เป็น TH Sarabun PSK) ตัวอักษรท่ีใช้ท้ังเล่มต้องเป็นสีดา ขนาดและลักษณะของตัวอักษรในแต่ละส่วนให้ ใช้ขนาดอักษร สรปุ ดังนี้
13 ตางรางแสดงขนาด และลักษณะของตัวอกั ษรทใ่ี ห้ใชใ้ นการเขยี นรายงานสว่ นต่างๆ รายการ ตัวอกั ษร ขนาด ลกั ษณะ ตาแหน่งจัดวาง ชื่อบท TH SarabunPSK 20 ตัวหนา กงึ่ กลางหน้ากระดาษ หัวขอ้ สาคญั TH SarabunPSK 18 ตัวหนา ชิดขอบด้านซ้ายของกระดาษ หวั ข้อย่อย TH SarabunPSK 16 ตวั หนา ตวั อยา่ งภาคผนวก ก หนา้ 27 สว่ นประกอบย่อย TH SarabunPSK 16 ตวั หนา ตวั อยา่ งภาคผนวก ก หนา้ 27 ขอ้ ความปกติ TH SarabunPSK 16 ตัวปกติ ตงั้ ชิดขอบซ้ายขวา ชอ่ื ตาราง TH SarabunPSK 16 ตวั ปกติ ชิดซ้ายจากขอบกระดาษ และอยูด่ ้านบนของตาราง ชือ่ รปู ภาพ TH SarabunPSK 16 ตัวปกติ กงึ่ กลางหน้ากระดาษ และอยู่ใต้รูปภาพ 3.3.2 กำรเว้นระยะห่ำงบรรทัด ระยะห่างระหว่างบรรทัดกาหนด 1.0 ให้เป็นแบบเดียวกันตลอด เล่ม บรรทดั ระหว่างหัวข้อสาคัญใหเ้ ว้น 1 บรรทดั 3.3.3 กำรยอ่ หน้ำ เว้นวรรค และกำรตดั คำเมอื่ ส้ินสดุ บรรทัด 3.3.3.1 กำรยอ่ หน้ำ ให้เวน้ ระยะจากกรอบพิมพ์ซา้ ยมือ 1 เซนตเิ มตร (0.39 นวิ้ ) 3.3.3.2 กำรเว้นวรรค การเว้นวรรคเล็ก ให้มีระยะห่างระหว่างวรรคเท่ากับ 1 เคาะ การ เวน้ วรรคใหญ่ ให้มีระยะห่างระหว่างวรรคเท่ากับ 2 เคาะ 3.3.3.3 กำรตัดคำเม่ือส้ินสุดบรรทัด กรณีที่พิมพ์คาสุดท้ายไม่จบในบรรทัดน้ันๆ ให้ยกคา น้ันท้ังคาไปพิมพ์ในบรรทัดต่อไป ไม่ควรตัดส่วนท้ายของคาไปพิมพ์ในบรรทัดใหม่ เช่น ผู้ประกอบการ เป็น ผปู้ ระกอบ-การ เป็นตน้ 3.4 กำรลำดับหมำยเลขหนำ้ 3.4.1 การลาดับหมายเลขหน้าของส่วนนาทั้งหมด ให้ใช้พยัญชนะในภาษาไทยเป็นตัวเรียงลาดับ หน้าตามลาดับ ยกเว้นหน้าปกด้านใน และหน้าแรกของสารบัญ ไม่ต้องใช้ตัวอักษรกากับหน้า แต่ให้นับ จานวนหน้ารวมไปด้วย นอกน้ันให้เรียงลาดับเลขหน้าตามกาหนด โดยวางตาแหน่งตรงกลางหน้าด้านล่าง ห่างจากริมกระดาษด้านล่างขึ้นมา 1.27 เซนติเมตร (0.5 น้ิว) ใช้ตัวอักษร TH Sarabun PSK รูปแบบปกติ ขนาด 16 พอยต์ โดยเร่มิ นบั จากหนา้ ปกใน แตจ่ ะไม่พมิ พล์ าดบั หน้าในหน้าปกใน ใหเ้ ร่ิมพมิ พ์ลาดับหนา้ จาก หนา้ บทคัดยอ่ เป็นตน้ ไป 3.4.2 การลาดับหน้าส่วนเนื้อความ ซ่ึงอยู่ต่อจากหน้าส่วนนาใหล้ าดับหน้าโดยใช้หมายเลข 1, 2, 3 ...... กากับหน้าเรียงตามลาดับตลอดทั้งเล่ม โดยตาแหน่งของหมายเลขหน้าให้พิมพ์ห่างจากริมกระดาษ ส่วนบน 2.54 เซนติเมตร (1 นิ้ว) ใช้ตัวอักษร TH Sarabun PSK รูปแบบปกติ ขนาด 16 พอยต์ และให้อยู่ ในแนวเดียวกับขอบขวามือ หน้าแรกของบทที่ขึ้นบทใหม่ในส่วนเนื้อความ หน้าแรกของส่วนอ้างอิง และ หน้าแรกของภาคผนวก แต่ละภาค ไมต่ ้องใชเ้ ลขกากบั แตใ่ หน้ ับจานวนลาดบั รวมไปดว้ ย
14 3.5 กำรพิมพบ์ ทที่ หวั ข้อสำคญั และหวั ขอ้ ยอ่ ย 3.5.1 บท เมื่อเรมิ่ บทใหมจ่ ะตอ้ งข้ึนหนา้ ใหมเ่ สมอ และมเี ลขประจาบท ใหใ้ ช้เลขอารบิคเทา่ นั้น ให้ พิมพ์คาว่า “บทที่” ไว้ตรงกลางตอนบนสุดของหน้ากระดาษ ส่วน “ชื่อบท” ให้พิมพ์ในบรรทัดต่อมา โดย กาหนดไว้ตรงกลางหนา้ กระดาษเช่นกัน ในกรณที ช่ี ือ่ บทท่ียาวเกนิ 1 บรรทัด ให้แบ่งเปน็ 2 – 3 บรรทัดตาม ความเหมาะสมโดยพิมพเ์ รียงลงมาในลักษณะสามเหลย่ี มหวั กลบั ใช้ตัวหนา ขนาด 20 พอยต์ และไมต่ ้องขีด เส้นใต้ 3.5.2 หัวข้อสำคัญ หัวข้อสาคัญในแต่ละบท หมายความถึง หัวข้อซ่ึงไม่ใช่เป็นเรื่องประจาบท ให้ พิมพ์ชดิ กรอบกระดาษซ้ายมือ ขนาด 16 พอยต์ ตัวหนา ไม่ต้องขีดเสน้ ใต้ ให้ใสต่ ัวเลขตามบท 3.5.3 หวั ข้อย่อย พิมพห์ ัวข้อย่อยโดยย่อหน้า เว้นระยะตรงกับตวั อักษรตวั แรกของชื่อข้อความของ หัวขอ้ สาคญั นน้ั (ตวั อย่างในภาคผนวก ก หน้า 27) ท้ังนี้ก่อนมกี ารข้นึ หัวข้อยอ่ ยในแตล่ ะระดับ ควรมีการอธิบาย หรอื เกริน่ นาเพ่ือเปน็ การเตรยี มความ พรอ้ มให้แก่ผู้อ่านพอสมควร ไม่ควรมีการขน้ึ หวั ขอ้ ใหมล่ อยๆ โดยไมก่ ล่าวถึงทมี่ ากอ่ น 3.6 กำรพมิ พ์ตำรำง ตารางประกอบดว้ ย เลขทีต่ าราง ช่อื ตาราง สว่ นข้อความและทมี่ าของตาราง โดยให้ พิมพ์อยู่หน้าเดียวกัน ให้พิมพ์คาว่าตารางอยู่ชิดซ้ายมือ ตามด้วยตัวเลขตาราง ให้พิมพ์ตัวหนา ให้พิมพ์ชื่อ ตารางต่อจากเลขที่ตาราง โดยเว้นระยะห่าง 2 เคาะ ในกรณีท่ีชื่อตารางยาวเกินกว่า 1 บรรทัด ให้พิมพ์ ตัวอักษรตัวแรกของบรรทดั ถัดไปให้ตรงกับตัวอักษรตวั แรกของชอ่ื ตาราง ตัวอยา่ งเช่น ตำรำงที่*1-1**แสดงเวลาต่าง ๆ ของการเคลื่อนไหวของวัตถุดิบแต่ละชนิด กรณีการตรวจสอบความ ถูกต้องของแบบจาลองสถานการณ์ (วนั ) (เว้น 1 บรรทัด) ชนดิ ปลา อตั ราการเขา้ (ตนั /วนั ) อัตราการใช้ (ตัน/วัน) Stock คงค้าง Skipjack 100 100 0 Yellowfin 100 100 0 Albacore 100 100 0 (เวน้ 1 บรรทดั ) ที่มา : สถาบันการประมง, 2561 (เว้น 1 บรรทัด) หมำยเหตุ ใหเ้ ว้นระยะบรรทัดบนและใต้ตารางใหเ้ หมาะสม (ให้ใช้วธิ ีการเดียวกนั ตลอดทั้งเลม่ )
15 3.7 กำรพิมพ์ภำพประกอบ ภาพประกอบจะต้องมีเลขภาพ และชื่ออธิบายใต้ภาพประกอบกลาง หน้ากระดาษ เรียงลาดับหมายเลขภาพตามบทจากบทไปจนจบบท ให้พิมพ์เลขภาพตัวหนา ในกรณีที่ชื่อ ภาพยาวเกินกว่า 1 บรรทัด ให้พิมพ์ตัวอักษรตัวแรกของบรรทัดถัดไปให้ตรงกับตัวอักษรตัวแรกของช่ือ ตาราง ตวั อย่างเช่น 6 5 4 กลมุ่ A 3 กลุ่ม B 2 กลมุ่ C 1 0 ประเภท 2 ประเภท 3 ประเภท 4 ประเภท 1 ภำพที่ 1-1 กราฟแสดงขอ้ มูลเปรียบเทียบของกลุ่ม A กลมุ่ B และกลุ่ม C ที่มา : สานกั งานสถติ แิ ห่งชาติ, 2561 หมำยเหตุ ให้เว้นระยะบรรทัดบนและใต้ตารางให้เหมาะสม (ใหใ้ ช้วิธีการเดียวกันตลอดทั้งเล่ม) 3.8 กำรเขยี นอ้ำงอิงแบบนำม-ปี ประกอบดว้ ยชื่อผู้แตง่ ปีทีพ่ มิ พข์ องเอกสาร และเลขหน้า โดยชื่อผแู้ ต่ง พมิ พด์ ้วยชอ่ื ตน้ ไม่ตอ้ งใสส่ กุล ตวั อย่างเชน่ หลักสูตรประกอบด้วย 3 สว่ น ได้แก่ จดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม กจิ กรรมการเรียนการสอน และการ ประเมินผล (Tyler, 1970 : 22) คนเป็นปัจจัยสาคัญที่สุดในการบริหาร เนื่องจากคนเป็นผู้ใช้ปัจจัยอื่น ๆ เช่น เงิน วิธีการจัดการ เปน็ ต้น (สมาน, 2523 : 1-2) 3.9 กำรพิมพ์บรรณำนุกรม ให้พิมพ์คาว่า บรรณานุกรม กลางหน้ากระดาษ ด้วยตัวอักษร 20 พอยต์หนา และให้เรียงเอกสารท่ีใช้อ้างอิง โดยเรียงลาดับตามตัวอักษรตัวแรกของรายการท่ีอ้างอิง โดยยึดหลักการ เรียงลาดับตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑติ ยสถาน (ดตู วั อยา่ งในภาคผนวก ก หน้า 29) สาหรับรปู แบบการ พิมพ์บรรณานุกรมให้ใช้แบบเอพีเอ (American Psychological Association: APA Style) ด้วยวิธีขีดเส้น ใต้
16 ภาคผนวก ก ตวั อย่างการพมิ พ์โครงงานพเิ ศษ
17 กำรพมิ พ์ข้อควำมบนปกนอกและปกใน (แบบฟอร์ม) (หวั ขอ้ โครงงานพเิ ศษ) กรณีท่หี ัวขอ้ โครงงานพเิ ศษมีหลาย บรรทดั ตอ้ งพมิ พ์เปน็ สามเหลย่ี มชลี้ ง (ไมใ่ ช่สามเหล่ยี มชข้ี นึ้ ) คานาหน้าชือ่ +ชือ่ *นามสกุล โครงงานพเิ ศษนีเ้ ป็นสว่ นหนงึ่ ของการศึกษาตามหลกั สตู ร ช่ือเตม็ ปริญญาท่ีได้รับ สาขาวิชา คณะบริหารธรุ กิจ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนอื ปีการศึกษา*(ท่ีสาเรจ็ การศึกษา) ลขิ สทิ ธขิ์ องคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนอื
18 กำรพมิ พ์ใบรบั รองวิทยำนพิ นธ์ (ขนาดตัวอกั ษร 24 พอยต์) (ขนาดตัวอักษร 18 พอยต)์ ใบรับรองโครงงำนพเิ ศษ คณะบรหิ ำรธรุ กิจ มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลำ้ พระนครเหนือ เรื่อง** โดย <เว้น 1 บรรทดั > ไดร้ บั อนุมัตใิ หน้ บั เปน็ สว่ นหน่ึงของการศึกษาตามหลักสูตร *สาขาวชิ า คณบดีคณะบริหารธรุ กิจ () คณะกรรมการสอบโครงงานพิเศษ ประธานกรรมการ กรรมการ () กรรมการ () () หมำยเหตุ พิมพ์ตาแหน่งทางวิชาการเตม็ เชน่ ศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ อาจารย์ เปน็ ต้น
19 กำรพมิ พบ์ ทคดั ย่อภำษำไทย ชอ่ื :** ชือ่ โครงงานพเิ ศษ : สาขาวชิ า : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ พระนครเหนือ อาจารยท์ ี่ปรึกษาโครงงานหลัก **:** ปกี ารศึกษา (ถา้ มีคณะกรรมการมากกวา่ 1 คน ให้พมิ พ์ชอ่ื คนละบรรทัด) (เวน้ ย่อหนา้ 1 เซนตเิ มตร) : <เว้น 1 บรรทดั > บทคัดย่อ คาสาคญั *:* (โครงงานพเิ ศษมจี านวนทั้งสน้ิ ……….หนา้ ) คาสาคญั * <เว้น 1 บรรทดั > อาจารย์ทีป่ รกึ ษาโครงงานหลัก อาจารย์ท่ปี รึกษาโครงงานรว่ ม (ถ้ามี)
20 กำรพมิ พบ์ ทคดั ยอ่ ภำษำอังกฤษ Name :** Thesis Title : Major Field : King Mongkut's University of Technology North Bangkok Thesis Advisor**:** Academic Year : (เว้นย่อหน้า 1 เซนติเมตร) <เว้น 1 บรรทัด> Abstract (Total…………pages) Keywords*:*
21 กำรพมิ พก์ ิตติกรรมประกำศ (แบบภาษาไทย) กิตติกรรมประกำศ (เว้นยอ่ หน้า 1 เซนตเิ มตร) <เว้น 1 บรรทดั > <เวน้ 2 บรรทดั > ชอ่ื ผู้จดั ทา 1*นามสกลุ (ไม่ใส่คานาหนา้ ช่อื ) ชือ่ ผู้จดั ทา 2*นามสกุล (ไม่ใส่คานาหน้าชื่อ)
กำรพมิ พ์สำรบัญ 22 (แบบฟอร์ม) หน้า สำรบญั ข ค บทคดั ย่อภาษาไทย ง บทคดั ย่อภาษาองั กฤษ (ถ้ามี) จ กิตติกรรมประกาศ ฉ สารบญั ตาราง ช สารบญั ภาพ 1 คาอธิบายสัญลกั ษณ์และคาย่อ (ถา้ ม)ี 1 บทที่*1**บทนา 5 10 1.1**หวั ขอ้ สาคัญ 15 1.2 หวั ข้อสาคัญ 15 บทท่ี 2 ช่อื บท 20 2.1 หวั ขอ้ สาคัญ 20 2.2 หวั ขอ้ สาคญั 25 บทที่ 3 ชือ่ บท 30 3.1 หวั ขอ้ สาคญั 30 3.2 หวั ข้อสาคญั 35 บทที่ 4 ชอื่ บท 40 4.1 หวั ข้อสาคัญ 50 4.2 หัวขอ้ สาคัญ 55 บทท่ี 5 สรุปผลและขอ้ เสนอแนะ 60 บรรณานุกรม ภาคผนวก ประวตั ผิ วู้ ิจัย หมำยเหตุ ถ้าไมจ่ บใน 1 หน้า หนา้ ถดั ไปให้พิมพ์คาวา่ “สำรบญั (ต่อ)” ถา หวั ขอ สาํ คญั มมี ากกวา 1 บรรทดั เลขหนาใหจ ัดไวบ รรทัดสดุ ทา ยของหัวขอนัน้ ๆ
กำรพิมพส์ ำรบัญตำรำง (แบบฟอรม์ ภาษาไทย) 23 สำรบัญตำรำง ตารางท่ี <เวน้ 1 บรรทัด> หนา้ ** 1-1** 7 9 1-2 23 2-1 24 2-2 29 3-1 30 3-2 34 4-1 38 4-2 40 ก-1 46 ก-2 49 ข-1 หมำยเหตุ ถ้าไม่จบใน 1 หน้า หนา้ ถัดไปให้พมิ พค์ าว่า “สำรบัญตำรำง (ต่อ)”
กำรพมิ พ์สำรบัญภำพ (แบบฟอร์ม) 24 สำรบัญภำพ ภาพท่ี <เวน้ 1 บรรทดั > หนา้ ** 1-1** 5 8 1-2 15 2-1 18 2-2 20 3-1 25 3-2 27 4-1 32 4-2 35 ก-1 37 ก-2 41 ข-1 หมำยเหตุ ถ้าไม่จบใน 1 หน้า หน้าถดั ไปให้พมิ พ์คาวา่ “สำรบัญภำพ (ตอ่ )”
25 กำรพิมพป์ ระวตั ิผจู้ ดั ทำ (แบบฟอร์ม) ประวตั ิผู้จดั ทำ ชื่อ :** <เว้น 1 บรรทัด> ช่ือโครงงาน **: สาขาวิชา : <เวน้ 1 บรรทัด> ประวตั ิ (เวน้ ยอ่ หน้า 1 เซนตเิ มตร)
26 กำรเวน้ ขอบกระดำษพิมพ์ 3.81 ซม. (1.5”) 3.81 ซม. 2.54 ซม. (1.5\") (1\") 2.54 ซม. (1\")
27 กำรแบ่งบทและหวั ข้อในบท (TH SarabunPSK 20) บทที่ 1 บทนำ <เว้น 1 บรรทดั > 1.1 ประเทศไทย (TH SarabunPSK 16) 1.1.1 ภาคเหนือ………………………………………………………………………………………………...…………..…..… ……………………………………………………………………………………………………………………………….……...……….…… 1.1.2 ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื ………………………………………………………………………………..……….….… ……………………………………………………………………………………………………………………………....…….……… …………………………………………………………………………………………………………………..…………………..……….…… 1.1.2.1 หนองคาย…………………………………………………….………….……………………….….…..…… ………………………………………………………………………………………………….…………………………………..….….……… 1.1.2.2 มหาสารคาม………………………………………………………….………………………………....…… ………………………………………………………………………………………………….……………………………………………....… 1.1.2.2.1 วาปปี ทุม………………………………………………….………………………….....….… ………………………………………………………………………………………………….…………………………………...……….…… 1.1.2.2.2 นาดนู ........…….……………………………………………………………..…….………… …………………………………………………………………………………………………..………………………………...………….….. ก) .................................................................................................……… …………………………………………………………………………………………………..……………………………....……………….. ข) .................................................................................................……… …………………………………………………………………………………………………..……………………………...…….………….. 1.1.3 ภาคกลาง........…………………………………………………………………………………………...….………….… ……………………………………………………………………………………………………………………………………....……….…… 1.2 ประเทศลำว 1.3 ประเทศกัมพูชำ หมำยเหตุ ระยะหา่ งระหวา่ งบรรทดั 1.0 (ใหใ้ ชว้ ธิ กี ารเดยี วกนั ตลอดทัง้ เล่ม)
28 กำรพมิ พต์ ำรำง ตำรำงที่ 1-1 แสดงเวลาต่าง ๆ ของการเคลือ่ นไหวของวตั ถุดบิ แต่ละชนดิ กรณกี ารตรวจสอบความถูกตอ้ ง ของแบบจาลองสถานการณ์ (วัน) (เว้น 1 บรรทัด) ชนิดปลา อตั ราการเขา้ (ตนั /วนั ) อตั ราการใช้ (ตนั /วนั ) Stock คงค้าง Skipjack 100 100 0 Yellowfin 100 100 0 Albacore 100 100 0 (เวน้ 1 บรรทัด) ท่ีมา : สถาบันการประมง, 2561 (เวน้ 1 บรรทัด) หมำยเหตุ ให้เว้นระยะบรรทัดบนและใตต้ ารางใหเ้ หมาะสม (ให้ใช้วิธกี ารเดยี วกันตลอดทัง้ เล่ม) กำรพิมพภ์ ำพประกอบ ปลำทูน่ำ Unloading ห้องเย็นส่วนหนำ้ Production ภำพท่ี 1-1 แสดงขั้นตอนการปฏบิ ัตงิ านจัดเก็บวัตถดุ บิ และนาวตั ถดุ บิ ไปใช้ ท่ีมา : สมาคมการขนสง่ แหง่ ประเทศไทย, 2561 หมำยเหตุ ใหเ้ ว้นระยะบรรทัดบนและใต้ตารางใหเ้ หมาะสม (ให้ใช้วิธีการเดียวกันตลอดทง้ั เล่ม)
29 กำรพิมพ์บรรณำนุกรมหรือเอกสำรอ้ำงองิ แบบเอพเี อ (American Psychological Association) หนงั สือ ช่อื ผแู้ ต่ง. (ปีทพ่ี ิมพ์). ชื่อเรื่อง. ครง้ั ท่ีพิมพ์. จานวนเลม่ . (ถ้ามี) สถานที่พมิ พ์ : โรงพมิ พ์. ช่ือเรือ่ ง ชือ่ หนังสือ ชอื่ วารสาร ชอ่ื วทิ ยานพิ นธ์ ฯลฯ ใหเ้ น้นขอ้ ความโดยเลือกพิมพด์ ้วย ตัวหนำ (Bold) หรอื ขดี เสน้ ใต้ (Under Line) หรอื ตัวเอน (Italic) ตามความเหมาะสม แต่ใหเ้ ปน็ แบบเดยี วกันตลอดทั้งเล่ม (ในคมู่ ือฉบบั นี้ ใชว้ ธิ กี ารขีดเสน้ ใต้) - ผแู้ ต่ง 1 คน มรกต ตันติเจริญ. (2544). เทคโนโลยีชียวภาพ. พมิ พค์ รัง้ ท่ี 1. จานวน 5,000 เล่ม. กรุงเทพมหานคร : หา้ ง หนุ้ สว่ นจากัดภาพพิมพ์. - ผูแ้ ตง่ 2 คน นพิ นธ์ วิสารทานนท์ และ จกั รพงษเ์ จิมศิร.ิ (2541). โรคผลไม้. กรงุ เทพฯ: สานักวจิ ัย และพฒั นาการเกษตร เขตที่ 6. - ผ้แู ต่ง 3 คน หิรัญ หิรัญประดิษฐ์, สุขวัฒน์ จันทรปรณิก และ เสริมสุข สลักเพ็ชร. (2540). เทคโนโลยีการผลิตทุเรียน. กรงุ เทพฯ: มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์. - ผแู้ ต่ง 4 คน หรือมำกกวำ่ 4 คน เมืองแมน แสงชัย และคนอื่น ๆ. (2546). หลักการซ่อมเคร่ืองยนต์เบื่องต้น. กรุงเทพมหานคร : สถาบัน เทคโนโลยรี าชมงคล. - ผ้แู ต่งท่ีเป็นนติ ิบุคคล ชื่อนติ ิบุคคล, ฐานะของหน่วยงาน. (ปที พ่ี มิ พ์). ช่อื หนงั สือ. คร้งั ท่พี ิมพ.์ สถานที่พิมพ์ : โรงพมิ พ.์ พัฒนาและส่งเสริมพลังงาน, กรม. (2542). กฎกระทรวง ออกตามความในพระราชบัญญัติการส่งเสริมการ อนรุ ักษ์พลังงาน พ.ศ. 2535. กรุงเทพมหานคร : กรมพฒั นาและสง่ เสริมพลังงาน. - ผู้แต่งคนเดียวกนั หรือคณะเดยี วกัน ในปเี ดยี วกัน อรรถกร เก่งพล. (2553 ก). การตัดสินใจเกณฑ์พหุคูณ เล่มที่ 1. กรุงเทพมหานคร : ศูนย์ผลิตตาราเรียน มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ. . (2553 ข). การตัดสินใจเกณฑ์พหุคูณ เล่มที่ 2. กรุงเทพมหานคร : ศูนย์ผลิตตาราเรียน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนอื .
30 - ส่วนคำนำหน้ำนำม เช่น นำย นำง นำงสำว ตำแหน่งทำงวิชำกำร อำชีพ หรือยศ ไม่ต้องระบุ เช่น พล.ต.ท.ธงชัย สายดา ให้เขียนเปน็ ธงชยั สายดา ยกเวน้ นามแฝง เช่น ว.วนิ จิ ฉัยกุล, ดร.โจ, หลังชื่อผู้แต่ง ให้ใส่เคร่อื งหมายมหัพภาค (.) - ไม่ปรำกฏช่ือผแู้ ตง่ มแี ต่ผู้ทำหน้ำทบ่ี รรณำธิกำร ชอ่ื บรรณาธิการ. (บรรณาธกิ าร). (ปีทพ่ี ิมพ)์ . ชื่อหนังสือ. ครั้งที่พิมพ.์ สถานที่พิมพ์ : โรงพมิ พ์. สายใจ สงิ หข์ ร และชมพูทอง พรางมาศ (บรรณาธกิ าร). (2535). ลา้ งมอื : การดแู ลรกั ษา. พิมพ์ครง้ั ท่ี 2. กรุงเทพมหานคร : ดีไซร์. - ไม่ปรำกฏชือ่ ผแู้ ต่ง ชือ่ หนงั สือ. (ปที ี่พิมพ์). ครง้ั ทพี่ มิ พ์. สถานทีพ่ ิมพ์ : โรงพิมพ์. ไฟฟา้ ง่ายนิดเดียว. (2533). กรุงเทพมหานคร : ซเี อ็ดยเู คช่ัน. - วทิ ยำนิพนธ/์ สำรนพิ นธ์/ปริญญำนิพนธใ์ นสถำบันอุดมศึกษำ ช่อื ผูแ้ ตง่ . (ปีทีพ่ ิมพ์). ชอื่ เร่ืองวิทยานิพนธ์. ระดับวทิ ยานิพนธ์ สาขาวชิ า ภาควิชา คณะ มหาวทิ ยาลยั /สถาบนั . ชอ่ เพญ็ นวลขาว. (2548). ความสมั พนั ธ์ระหว่างการเปล่ยี นแปลงระบบนเิ วศกับแบบแผนการผลติ และ วัฒนธรรมการบรโิ ภคอาหาร ศกึ ษากรณีชุมชนขนาบนากจังหวดั นครศรีธรรมราช. วทิ ยานิพนธ์ ปริญญามหาบัณฑติ , มหาวทิ ยาลัยวลยั ลกั ษณ์. - บทควำมวำรสำรเผยแพรบ่ นอนิ เทอร์เน็ต ไมม่ ีฉบับที่เป็นสงิ่ พิมพ์ ชื่อผแู้ ตง่ . (ปีทอี่ อนไลน์). [วารสารออนไลน์]. “ชอ่ื เร่อื ง.” ชือ่ วารสาร. [สืบคน้ วนั เดือน ปที ี่อา้ ง]. จาก URL กนกพร เนียมศรี. (2555). [วารสารออนไลน์]. “การใช้งานคานวณด้วย Microsoft Excel (ตอนที่ 6).” KM Lite. [สบื ค้นวันที่ 30 กรกฎาคม 2555]. จาก http://opac.tistr.or.th/ Multimedia/KM/KMLITE/2012-v5i2/2012-v5i2_09_OfficeTips.pdf - ขอ้ มูลจำก Website ของหน่วยงำนต่ำง ๆ ช่อื ผูแ้ ต่ง. (ปีทอี่ อนไลน์). [ออนไลน]์ . ชอ่ื เรือ่ ง. [สบื ค้นวัน เดือน ปที ี่อ้าง]. จาก URL การสื่อสารแหง่ ประเทศไทย. (2542). [ออนไลน์]. เศรษฐกิจพอเพยี ง. [สบื คน้ วันท่ี 18 สิงหาคม 2542]. จาก http://www.mcot.or.th/king/king_news16.html
31 ตัวอย่ำง การพมิ พ์ชือ่ หนังสอื ชอื่ วารสาร ชอื่ วิทยานพิ นธ์ ฯลฯ บรรณำนุกรม <เว้น 1 บรรทัด> ภำษำไทย มรกต ตนั ติเจริญ. (2544). เทคโนโลยชี ียวภาพ. พิมพค์ รงั้ ที่ 1. จานวน 5,000 เล่ม. กรงุ เทพมหานคร : ห้าง หุ้นสว่ นจากัดภาพพมิ พ์. นพิ นธ์ วิสารทานนท์ และ จักรพงษเ์ จิมศิร.ิ (2541). โรคผลไม้. กรงุ เทพฯ: สานกั วจิ ยั และพฒั นาการเกษตร เขตท่ี 6. หิรัญ หิรัญประดิษฐ์, สุขวัฒน์ จันทรปรณิก และ เสริมสุข สลักเพ็ชร. (2540). เทคโนโลยีการผลิตทุเรียน. กรุงเทพฯ: มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์. เมืองแมน แสงชัย และคนอื่น ๆ. (2546). หลักการซ่อมเครื่องยนต์เบื่องต้น. กรุงเทพมหานคร : สถาบัน เทคโนโลยีราชมงคล. สายใจ สงิ ห์ขร และชมพูทอง พรางมาศ (บรรณาธกิ าร). (2535). ลา้ งมอื : การดแู ลรักษา. พมิ พ์คร้ังท่ี 2. กรุงเทพมหานคร : ดีไซร์. ชอ่ เพญ็ นวลขาว. (2548). ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งการเปล่ียนแปลงระบบนเิ วศกบั แบบแผนการผลติ และ วัฒนธรรมการบริโภคอาหาร ศกึ ษากรณชี ุมชนขนาบนากจังหวัดนครศรีธรรมราช. วทิ ยานิพนธ์ ปริญญามหาบัณฑติ , มหาวิทยาลัยวลยั ลกั ษณ์. การส่ือสารแหง่ ประเทศไทย. (2542). [ออนไลน์]. เศรษฐกิจพอเพยี ง. [สืบค้นวันท่ี 18 สิงหาคม 2542]. จาก http://www.mcot.or.th/king/king_news16.html <เว้น 1 บรรทัด> ภำษำองั กฤษ McArthur, T. (Ed.). (1992). The Oxford Companion to the English Language. Oxford : Oxford University Press Satheesh, S. and Prasad, K. (2011). Medical image denoising using adaptive threshold based on controurlet transform. Advanced Computing : An International Journal (ACIJ). Cadigan, J., Schmitt, P., Shupp, R., & Swope, K. (2011, January). The holdout problem and urban sprawl: Experimental evidence. Journal of Urban Economics. 69(1), 72. Retrieved from http://journals.elsevier.com/00941190/journal-of-urban- economics/
32 ภาคผนวก ข ขน้ั ตอนในการจดั ส่งโครงงานพเิ ศษฉบบั สมบรู ณ์
33 ขั้นตอนในกำรจัดสง่ โครงงำนพเิ ศษฉบบั สมบรู ณ์ ดังนี้ ผ่านการสอบป้องกันโครงงานพิเศษ และส่งเอกสารการผา่ นการสอบป้องกันโครงงานพิเศษ (บธ.ค.09) ใหเ้ จ้าหน้าท่แี ล้ว นำสง่ เลม่ โครงงำนพิเศษฉบับสมบรู ณ์ ขั้นที่ 1 ปร้นิ เลม่ โครงงานพเิ ศษฉบับสมบูรณ์ ซ่ึงจะต้องเปน็ ไปตาม format ทีค่ ณะกาหนด โดยผำ่ นกำรตรวจสอบจำกอำจำรยท์ ี่ปรึกษำหลักแล้ว ส่งทเ่ี จ้าหน้าท่ี จานวน 1 เลม่ เพือ่ รอการตรวจสอบ ขน้ั ที่ 2 เมื่อผ่านการตรวจสอบ เจ้าหน้าทจ่ี ะเปิดระบบให้แนบ file pdf ในระบบโครงงานพเิ ศษออนไลน์ การแนบไฟล์ในระบบโครงงานพเิ ศษออนไลน์ ให้แบ่งเนื้อหาสาหรับการบันทกึ ขอ้ มลู โครงงาน พิเศษและตง้ั ช่ือไฟล์ดงั นี้ ลำดบั กำรแบง่ เนือ้ หำ กำรตั้งชอื่ ไฟล์ .pdf file สว่ นนา : ปก-สารบญั 01_cov.pdf บทที่ 1 02_ch1.pdf บทที่ 2 03_ch2.pdf บทที่ 3 04_ch3.pdf บทที่ 4 05_ch4.pdf บทท่ี 5 06_ch5.pdf ส่วนอ้างอิงและภาคผนวก : บรรณานกุ รม-ภาคผนวก 07_ref.pdf *เจา้ หนา้ ทีจ่ ะตรวจสอบไฟล์แนบกบั เล่มโครงงานฉบบั สมบูรณท์ ี่สง่ มา เม่ือผ่านการตรวจสอบแลว้ เจ้าหน้าท่จี ะให้ ใบรับรองโครงงำนพิเศษ พร้อมคืนเลม่ โครงงานนั้นกบั นักศกึ ษา เพื่อจัดทาเลม่ โครงงานพเิ ศษฉบบั สมบูรณ์ รอการเขา้ เลม่ ต่อไป นาไฟล์แนบเข้าสรู่ ะบบสบื ค้นโครงงานพิเศษออนไลน์ ** สามารถสืบคน้ ไดเ้ ฉพาะอาจารยแ์ ละนักศึกษาคณะบริหารธรุ กจิ มจพ. เท่านน้ั
ภาคผนวก ค คมู่ ือการใชง้ านระบบโครงงานพเิ ศษ
35 คู่มือกำรใชง้ ำนระบบโครงงำนพิเศษ (สำหรบั นกั ศึกษำ) ระบบโครงงานพเิ ศษ คอื ระบบท่ีใชใ้ นการดาเนินงานโครงงานพิเศษของนักศึกษา และการ ติดตามดูแลงานสาหรับอาจารย์ที่ปรึกษากับนักศึกษาให้เป็นไปตามท่ีคณะกาหนด นักศึกษาสามารถ ดาเนินการจัดทาโครงงานได้ต้ังแต่การลงทะเบียนโครงงานพิเศษ ขอสอบหัวข้อโครงงานพิเศษ ขอสอบ ความก้าวหน้าโครงงานพิเศษ และขอสอบป้องกันโครงงานพิเศษ โดยจะมีระบบอนุมัติการสอบต่างๆ จากท่ี ปรึกษาหลัก ประธานสาขา และประธานโครงงานพิเศษ ผ่านระบบโครงงานพิเศษนี้ และยังมีระบบ ขอ้ เสนอแนะจากอาจารย์ท่ปี รึกษาหลัก ประธานสาขา และประธานโครงงานพิเศษ เพอ่ื ใหน้ ักศึกษาท่ีจัดทา โครงานพิเศษปรบั แก้ไขตามขอ้ เสนอแนะน้ันๆ ระบบโครงานพิเศษมขี ้ันตอนการใช้งานดงั ต่อไปนี้ 1. เข้าเว็บไซต์ของคณะ http://www.fba.kmutnb.ac.th และเลือกไปท่ีเมนูโครงงานพิเศษที่อยู่ ทางดา้ นซ้ายมอื ระบบโครงงำนพิเศษ ภำพที่ 1 การเข้าระบบโครงานพิเศษ 2. เม่ือเข้ามาแล้วจะเจอหน้าต่างลงช่ือเข้าใช้ระบบ สามารถลงทะเบียนโครงงานโดยคลิกท่ี ปุ่ม “ลงทะเบียนโครงงานพิเศษ” การลงทะเบียนโครงงาน คือการย่ืนสอบหัวข้อโครงงานพิเศษเพราะฉะน้ัน นักศึกษาต้องพร้อมที่จะสอบหัวข้อโครงงานพิเศษก่อนลงทะเบียน และโครงงานพิเศษต้องไม่ซ้ากับโครงงาน พิเศษเดมิ สามารถตรวจสอบรายชื่อโครงงานพิเศษไดท้ ี่ http://www.fba.kmutnb.ac.th/PhpProject1/Search.php
36 ภำพที่ 2 หน้าต่างการลงช่ือเข้าใช้ระบบ 3. เมื่อเข้ามาหน้าต่างลงทะเบียนโครงงานพิเศษ นักศึกษาต้องกรอกรายละเอียดต่างๆให้ครบถ้วน รวมถึงการอัพโหลดไฟล์โครงงานพิเศษ เพ่ือให้อาจารย์ที่ปรึกษา ประธานสาขา ประธานโครงงานพิเศษ พิจารณาอนุมัติโครงงานพิเศษ และคลิกปุ่มลงทะเบียน (กรณีกรอกข้อมูลไม่ครบถ้วนหรือลงทะเบียนซ้า เจา้ หนา้ ท่โี ครงงานพเิ ศษจะลบรายการทีล่ งทะเบยี นทันที) กรอกข้อมลู ใหค้ รบถ้วน ภำพที่ 3 หนา้ ต่างการลงทะเบียนโครงงานพเิ ศษ 4. เม่ือลงทะเบียนเรียบร้อย สามารถเข้าสู่ระบบโครงงานพิเศษได้ และจะเจอหน้าต่างโปรไฟล์ โครงงานพเิ ศษ
37 ภำพท่ี 4 หน้าตา่ งโปรไฟลโ์ ครงงานพเิ ศษ 5. หนา้ ต่างโปรไฟลโ์ ครงงานพิเศษ แบ่งออกเปน็ สองส่วนคอื - รายละเอียดของโครงงานพเิ ศษ - ข้อเสนอแนะ รำยละเอียดโครงงำนพเิ ศษ ข้อเสนอแนะ ภำพท่ี 5 แบง่ สว่ นหนา้ ตา่ งโปรไฟลโ์ ครงงานพิเศษ 6. ส่วนรายละเอียดโครงงานพเิ ศษ จะมรี ายละเอียดต่างๆของโครงงานพิเศษ รวมไปถงึ สถานะของโครงงาน พิเศษ สถานะจะเปลี่ยนไปตามการพิจารณาของ อาจารย์ท่ีปรึกษาหลัก ประธานสาขา และประธาน โครงงานพิเศษ
38 ลาดับการอนมุ ัตกิ ารสอบหวั ขอ้ 1. ท่ีปรึกษาหลกั 2. เจ้าหนา้ ท่ีโครงงานพเิ ศษ 3. ประธานสาขา 4. ประธานโครงงานพเิ ศษ ภำพท่ี 6 ส่วนรายละเอยี ดโครงงานพิเศษ และลาดับการอนมุ ตั โิ ครงงานพเิ ศษ 7. เมื่ออนุมัติครบทุกลาดับ หน้าต่างโปรโฟล์จะแสดงปุ่ม “ออกในสอบ” เพ่ือทาการพิมพ์ใบสอบ หัวขอ้ โครงงานพิเศษ ออกใบสอบ กรอกรำยละเอยี ด และออกใบสอบ ภำพท่ี 7 แสดงวิธกี ารออกหนังสอื สอบหวั ข้อโครงงานพิเศษ 8. เมื่อสอบเสร็จนักศึกษาต้องนาใบสอบหัวข้อโครงงานพิเศษมาส่งเจ้าหน้าโครงงานพิเศษ ณ สานักงานคณบดคี ณะบรหิ ารธุรกจิ
39 ภำพท่ี 8 ตัวอย่างใบสอบหัวข้อโครงงานพเิ ศษ 9. เมื่อส่งใบสอบหัวข้อโครงงานพิเศษ เจ้าหน้าท่ีจะเปิดระบบให้นักศึกษาสามารถดาเนินการ ขั้นตอนตอ่ ไป โดยจะแสดงปมุ่ “ขอสอบกา้ วหนา้ โครงงานพิเศษ” ในหนา้ ต่างโปรไฟล์โครงงานพิเศษ ภำพท่ี 9 หน้าต่างโปรไฟล์โครงงานพเิ ศษ แสดงปุ่ม “ขอสอบก้าวหนา้ โครงงานพิเศษ”
40 10. เม่ือคลิกปุ่ม “ขอสอบก้าวหน้าโครงงานพิเศษ” ระบบจะแสดงหน้าต่างเพื่อให้ อัพโหลดไฟล์ ของการสอบนั้นลงไป และทาการคลิกปุ่ม “บันทึก” สถานะก็จะเปลี่ยนเป็น “รออนุมัติสอบความก้าวหน้า จากที่ปรึกษา” ลาดบั การอนมุ ัตกิ ารสอบก้าวหน้า 1. ที่ปรึกษาหลกั 2. ประธานสาขา 3. ประธานโครงงานพเิ ศษ ภำพท่ี 10 แสดงหน้าตา่ งการขอสอบกา้ วหนา้ โครงงานพิเศษ 11. เมื่ออนุมัติครบทุกลาดับ หน้าต่างโปรโฟล์จะแสดงปุ่ม “ออกในสอบ” เพื่อทาการพิมพ์ใบสอบ ความกา้ วหน้าโครงงานพเิ ศษ ออกใบสอบ กรอกรำยละเอยี ด และออกใบสอบ ภำพที่ 11 แสดงวิธกี ารออกหนงั สอื สอบความกา้ วหนา้ โครงงานพเิ ศษ
41 12. เมอ่ื สอบเสร็จนกั ศึกษาต้องนาใบสอบความก้าวหน้าโครงงานพิเศษมาสง่ เจ้าหนา้ โครงงานพิเศษ ณ สานักงานคณบดคี ณะบริหารธุรกิจ ภำพที่ 12 ตัวอย่างใบสอบความกา้ วหนา้ โครงงานพเิ ศษ 13. เม่ือส่งใบสอบก้าวหน้าโครงงานพิเศษ เจ้าหน้าท่ีจะเปิดระบบให้นักศึกษาสามารถดาเนินการ ขน้ั ตอนตอ่ ไป โดยจะแสดงปมุ่ “ขอสอบป้องกนั โครงงานพเิ ศษ” ในหนา้ ต่างโปรไฟลโ์ ครงงานพิเศษ ภำพที่ 13 หนา้ ตา่ งโปรไฟลโ์ ครงงานพิเศษ แสดงปุ่ม “ขอสอบปอ้ งกนั โครงงานพิเศษ”
42 14. เมอ่ื คลิกปุ่ม “ขอสอบป้องกันโครงงานพิเศษ” ระบบจะแสดงหนา้ ตา่ งเพื่อให้ อัพโหลดไฟล์ของ การสอบนั้นลงไป และทาการคลิกปมุ่ “บนั ทึก” สถานะก็จะเปล่ียนเป็น “รออนมุ ัตกิ ารสอบปอ้ งกนั โครงงาน พเิ ศษจากท่ีปรึกษา” ลาดับการอนมุ ัตกิ ารสอบปอ้ งกนั 1. ท่ีปรกึ ษาหลกั 2. ประธานสาขา 3. ประธานโครงงานพเิ ศษ ภำพที่ 14 แสดงหนา้ ตา่ งหลงั การขอสอบป้องกนั โครงงานพิเศษ 15. เม่ืออนุมัติครบทุกลาดับ หน้าต่างโปรโฟล์จะแสดงปุ่ม “ออกใบสอบ” เพ่ือทาการพิมพ์ใบสอบ ปอ้ งกนั โครงงานพิเศษ ออกใบสอบ กรอกรำยละเอียด และออกใบสอบ ภำพที่ 15 แสดงวิธกี ารออกหนงั สอื สอบป้องกันโครงงานพิเศษ 16. เม่ือสอบเสร็จนักศึกษาต้องนาใบสอบป้องกันโครงงานพิเศษมาส่งเจ้าหน้าโครงงานพิเศษ ณ สานกั งานคณบดีคณะบริหารธรุ กิจ
43 ภำพท่ี 16 ตวั อยา่ งใบสอบปอ้ งกันโครงงานพเิ ศษ 17. เมื่อส่งใบสอบป้องกันโครงงานพิเศษ เจ้าหน้าท่ีจะทาการเปลี่ยนสถานะโครงงานพิเศษ เป็น “ผ่านการสอบป้องกัน” พร้อมกรอกราละเอียดในการแก้ไข (กรณีผ่านโดยมีการปรับปรุงแก้ไข) ลงในระบบ เปน็ อันเสรจ็ ส้นิ กระบวนการสอบทง้ั หมด ภำพที่ 17 เจา้ หน้าท่ีเปลย่ี นสถานะโครงงานพเิ ศษ เปน็ “ผ่านการสอบป้องกนั ”
44 18. กรณมี ีการไม่อนุมัตใิ นการสอบตา่ งๆ สถานะจะเปล่ียนเป็น “ไม่ผา่ นการอนุมตั .ิ ..” หน้าตา่ งโปร ไฟล์จะแสดงปุม่ “แก้ไข” สามารถเขา้ ไปแก้ไขโครงงานพเิ ศษได้ เม่อื แก้ไขเรียบร้อยสถานะจะเปลี่ยนเป็น “รออนุมตั กิ ารสอบ...จากทป่ี รึกษา” (สถานะจะไมเ่ ปลี่ยนจนกวา่ มีการแก้ไขโครงงานพิเศษ) ภำพที่ 11 แสดงหน้าตา่ งการแกไ้ ขโครงงานกรณีที่มกี ารไม่อนมุ ตั ิ 19. ส่วนขอ้ เสนอแนะ เปน็ ส่วนที่อาจารยท์ ่ีปรึกษาหลัก ประธานสาขา ประธานโครงงานพิเศษ เขา้ มาเสนอแนะ แนะนาเรือ่ งตา่ งๆของโครงงานพเิ ศษ เพอ่ื ให้นักศกึ ษาเอาไปปรับแก้ไขโครงงานพิเศษให้ดีขึ้น ภำพท่ี 12 ส่วนแสดงข้อเสนอแนะในหน้าต่างโปรไฟล์โครงงานพิเศษ *หมายเหตุ ท้งั นก้ี ารขอสอบตา่ งๆ จะเป็นไปตามวนั เวลาทีค่ ณะกาหนด หากดาเนนิ การล่าช้ากว่าท่ีคณะกาหนด จะไม่สามารถเข้าระบบโครงงานพิเศษเพื่อขอสอบใดๆได้ โดยนักศึกษาต้องย่ืนคาร้องขอเปิดระบบโครงงาน พิเศษกบั เจา้ หนา้ ทดี่ ูแลโครงงานพเิ ศษ เพ่มิ เตมิ ระบบสง่ เล่ม โดยแนบ file pdf ฉบับสมบูรณ์ (แยก file ตามท่ีกาหนด)
45 คมู่ อื กำรใชง้ ำนระบบโครงงำนพิเศษ (สำหรบั อำจำรย์ท่ีปรกึ ษำ ประธำนสำขำ และประธำนโครงงำน) ระบบโครงงานพเิ ศษ คือระบบที่ใชใ้ นการดาเนินงานโครงงานพิเศษของนักศกึ ษา และการ ติดตามดูแลงานสาหรับอาจารย์ท่ีปรึกษากับนักศึกษาให้เป็นไปตามที่คณะกาหนด นักศึกษาสามารถ ดาเนินการจัดทาโครงงานได้ต้ังแต่การลงทะเบียนโครงงานพิเศษ ขอสอบหัวข้อโครงงานพิเศษ ขอสอบ ความก้าวหน้าโครงงานพิเศษ และขอสอบป้องกันโครงงานพิเศษ โดยจะมีระบบอนุมัติการสอบต่างๆ จากท่ี ปรึกษาหลัก ประธานสาขา และประธานโครงงานพิเศษ ผ่านระบบโครงงานพิเศษน้ี และยังมีระบบ ขอ้ เสนอแนะจากอาจารย์ทีป่ รึกษาหลัก ประธานสาขา และประธานโครงงานพิเศษ เพอ่ื ใหน้ กั ศึกษาท่ีจัดทา โครงานพเิ ศษปรบั แก้ไขตามขอ้ เสนอแนะนัน้ ๆ ซึ่งระบบโครงานพิเศษมีขน้ั ตอนการใช้งานดงั ต่อไปนี้ 1. เข้าเว็บไซต์ของคณะ http://www.fba.kmutnb.ac.th และเลือกไปท่ีเมนูโครงงานพิเศษที่อยู่ ทางด้านซา้ ยมือ ระบบโครงงำนพิเศษ ภำพท่ี 1 การเข้าระบบโครงานพิเศษ 2. เม่ือเข้ามาแล้วจะเจอหน้าต่างลงช่ือเข้าใช้ระบบ (สามารถติดต่อขอรับรหัสผ่านได้ท่ีเจ้าหน้าที่ โครงงานพิเศษของคณะ)
46 ภำพท่ี 2 หน้าต่างการลงชือ่ เข้าใชร้ ะบบ 3. เมื่อเข้าสรู่ ะบบแล้วจะเจอหนา้ ตา่ งแสดงโครงงานพเิ ศษทีล่ งทะเบยี นแลว้ - กรณเี ปน็ อาจารยป์ รึกษาหลกั จะแสดงรายชื่อโครงงานพิเศษทอี่ าจารยเ์ ป็นผดู้ ูแลทง้ั หมด - กรณีเป็นประธานสาขาและประธานโครงงานจะแสดงรายชื่อโครงงานพิเศษที่ต้อง พิจารณา อนมุ ตั ทิ ้งั หมด ภำพที่ 3 หนา้ ต่างแสดงตารางโครงงานพเิ ศษ
47 4. สามารถคลกิ ปุ่ม “พจิ ารณา” เพ่ือเขา้ ไปดรู ายละเอยี ดของโครงงานได้ ปุ่มพจิ ำรณำ ภำพท่ี 4 แสดงปุ่มพิจารณา 5. เมอื่ คลิกปุ่ม “พจิ ารณา” จะแสดงหนา้ ต่างรายละเอยี ดโครงงานข้นึ มา ภำพท่ี 5 หนา้ ตา่ งแสดงรายละเอียดของโครงงานพิเศษ 6. หน้าต่างแสดงรายละเอียดโครงงานจะแบ่งออกเป็น 2 ส่วนคือ ส่วนที่เป็นรายละเอียดของ โครงงานกบั ส่วนท่เี ป็นข้อเสนอแนะ
Search