Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 13.การเก็บเกี่ยว

13.การเก็บเกี่ยว

Published by ดวงรัตน์ กวดกิจการ, 2022-08-04 02:30:40

Description: 13.การเก็บเกี่ยว

Keywords: การเก็บดอกเห็ดนางฟ้า

Search

Read the Text Version

คำนำ การจัดการเรียนการสอนในปจั จุบัน เปน็ การจัดการเรียนการสอน ที่มุ่งให้นักเรยี นเกิดการเรียนรู้ มีความรู้ ความเขา้ ใจ และเกิดองคค์ วามรู้ท่ยี ่ังยืน ซึ่งต้องคำนึงถงึ ความแตกต่างระหว่างบุคคล มกี ารพัฒนา นักเรียนให้มีความเจริญงอกงามทั้งร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ และสังคม โดยนำนวัตกรรม เทคโนโลยี ทางการสอนที่มีศักยภาพ มาใช้ในการส่งเสริมให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตามผล การเรยี นรู้ทก่ี ำหนดไว้ ชุดฝึกปฏบิ ัติ ชุดน้ีจัดทำข้ึน เพื่อเป็นสอ่ื การเรียนรู้ ในกลุ่มสาระการงานอาชีพ วิชาการเพาะเห็ด ด้วยวัสดุผสม (ง30218) เรื่องการเพาะเห็ดนางฟ้า ชุดฝึกปฏิบัติชุดนี้ ใช้เป็นสื่อการเรียนรู้ด้วยตนเองเป็น รายบุคคล โดยสรุปเน้ือหา และจัดลำดับความรู้จากง่ายไปหายาก และตามขั้นตอนการปฏิบัติ เพื่อให้ นักเรียนสามารถเรียนรู้ และฝึกปฏิบัติตามขั้นตอนด้วยตนเองจนเกิดทักษะ สามารถนำทักษะการ ปฏบิ ตั ิงาน ไปใช้ประกอบอาชพี ตอ่ ไปในอนาคตได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ ดวงรัตน์ กวดกิจการ

สารบัญ หน้า 1 เร่อื ง 2 คำชี้แจงสำหรับครผู ้สู อน 3 คำชีแ้ จงสำหรบั นักเรยี น 4 สาระสำคญั และจุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 6 ประเมนิ ก่อนเรียน 8 ใบความรู้ท่ี 1 เรือ่ ง ระยะเวลาการเก็บเกย่ี วเหด็ นางฟ้า 10 ใบความรู้ที่ 2 เรอ่ื ง การเก็บรักษาดอกเห็ดนางฟ้า 11 กจิ กรรมฝึกทกั ษะปฏิบัติ เร่ืองการดอกเหด็ นางฟ้า 12 บนั ทกึ ผลการปฏบิ ัติกจิ กรรม 13 ประเมินคุณภาพผลงาน 15 ประเมนิ หลงั เรยี น 16 คำเฉลยและเกณฑก์ ารให้คะแนน เอกสารอา้ งองิ

1 คำชแ้ี จงสำหรับครผู ู้สอน ชุดฝึกปฏิบัติ เล่มนี้ ใช้ประกอบการเรียนรู้ในรายวิชาการเพาะเห็ดด้วยวัสดุผสม เร่อื งการเพาะเหด็ นางฟา้ ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 5 มีขน้ั ตอนการใช้ชดุ ฝึกปฏิบตั ิดังนี้ 1. ครูผู้สอนตรวจสอบชุดฝึกปฏิบัติ เล่มที่13 เร่อื งการเกบ็ ดอกเห็ดและการเก็บรักษา เหด็ นางฟ้า 2. ครผู ู้สอนเตรียม วัสดุอุปกรณ์ท่ใี ชร้ ว่ มกัน ได้แก่ 2.1 เขง่ หรือตะกรา้ สำหรับใส่ดอกเห็ดนางฟ้า 2.2 มีด 2.3 ถุงพลาสติกใสขนาด 10X15 น้ิว 2.4 เครื่องช่ัง 3. ครูผู้สอนชี้แจงการใช้ชุดฝึกปฏิบัติ ให้นักเรียนทุกคนเข้าใจก่อนท่ีนักเรียนจะใช้ ชดุ ฝึกปฏบิ ตั เิ ลม่ น้ี 4. ครูผู้สอนศึกษาว่า กิจกรรมใดท่ีครูตอ้ งเป็นผใู้ ห้คำแนะนำ หรอื ให้คำปรึกษา 5. ครูผู้สอนต้องศึกษาคู่มือการใช้ชุดฝึกปฏิบัติ ควบคู่กับแผนการจัดการเรียนรู้ ทกุ คร้งั

2 คำช้แี จงสำหรบั นักเรียน ชุดฝึกปฏิบัติ เล่มท่ี 13 เร่ืองการเกบ็ ดอกเห็ดและการเก็บรักษาเห็ดนางฟ้า มี 5 ตอน ดงั น้ี ตอนที่ 1 การประเมินกอ่ นเรยี น ใชเ้ วลา 10 นาที ให้นักเรยี นทำแบบประเมินก่อนเรียนด้วยตนเอง ด้วยความซ่ือสตั ย์ ไมถ่ ามเพ่ือน และ ไมด่ ูคำเฉลยทา้ ยบท ถา้ นักเรยี นสงสัยให้สอบถามครูผสู้ อนไดต้ ลอดเวลา ตอนท่ี 2 ศกึ ษาการเกบ็ ดอกเห็ดและการเกบ็ รกั ษาเห็ดนางฟ้า (ศึกษาทบ่ี า้ น) 1. นักเรียนแตล่ ะคนศึกษาชดุ ฝึกปฏิบัติ เร่ือง การเกบ็ ดอกเห็ดและการเก็บรักษาเห็ด นางฟา้ ตามลำดบั ขน้ั ตอนอยา่ งตั้งใจ ให้เข้าใจ 2. นักเรียนคนไหนมีขอ้ สงสยั หรอื มีปญั หาใด ๆ ให้สอบถามครูผู้สอน ตอนท่ี 3 กิจกรรมฝึกปฏิบัติการเก็บดอกเหด็ (ปฏบิ ัติกิจกรรมท่โี รงเรียน) 1. นักเรียนแต่ละกล่มุ ปฏิบตั กิ ารเก็บดอกเห็ดนางฟา้ ตามลำดับขน้ั ตอน 2. เมือ่ ปฏบิ ัติงานเสรจ็ แลว้ ใหน้ ักเรยี นเขียนช่ือ-นามสกุล ติดไวท้ ผ่ี ลงานของนกั เรยี น 3. นกั เรียนบนั ทึกผลการปฏิบัตงิ านทกุ คน 4. นักเรียนประเมินคุณภาพผลงานของตนเอง ให้เพ่ือน 1 คนประเมิน และครูร่วม ประเมิน แลว้ สรปุ หาค่าเฉลี่ย 5. นกั เรียนคนใดมีข้อสงสัยหรือมปี ญั หาใด ๆ ให้สอบถามครผู ู้สอนไดต้ ลอดเวลา ตอนท่ี 4 การประเมนิ หลังเรยี น ใชเ้ วลา 10 นาที นักเรยี นทำแบบประเมนิ หลังเรียนดว้ ยตนเอง ดว้ ยความซื่อสัตย์ ไม่ถามเพื่อน และไม่ ดูคำเฉลยท้ายบท ตอนที่ 5 ตรวจคำตอบจากคำเฉลย ใช้เวลา 10 นาที เม่ือนักเรียนทำแบบประเมินหลังเรียนเสร็จแล้ว ให้นักเรียนตรวจคำตอบจากคำเฉลย และรวมคะแนน พรอ้ มดูเกณฑ์การประเมิน ถ้านักเรยี นไม่ผ่านเกณฑ์การประเมินให้นักเรียน นำชุดฝึกปฏิบตั ินี้ ไปศึกษาใหมต่ ามลำดับข้นั ตอนของการใช้ชดุ ฝึกปฏบิ ัติ และถา้ หากนกั เรียน ผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ ใหน้ ักเรียนศกึ ษาเร่ืองตอ่ ไป

3 สาระสำคญั และจดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ สาระสำคัญ การเก็บดอกเห็ดนางฟ้า หลังจากทำการเปิดถุงก้อนเชื้อเห็ด และดูแลรักษาอย่างถูกต้องจะ เกดิ ดอกเหด็ ขึ้นมา พรอ้ มที่จะเกบ็ ดอกไปจำหนา่ ย หรือบรโิ ภคต่อไปนน้ั จะต้องรู้ลักษณะของดอกเห็ด ที่เหมาะแก่การเก็บเกี่ยว และวิธีการเก็บดอกเห็ดท่ีถูกต้อง จึงทำให้ดอกเห็ดมีคุณภาพและมีรสชาติ อร่อย จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1. บอกระยะเวลาท่ีเหมาะสมในการเก็บดอกเหด็ นางฟ้าได้ 2. อธบิ ายลักษณะดอกเหด็ นางฟา้ ทเี่ หมาะสมแก่การเกบ็ เก่ียวได้ 3. บอกวิธกี ารเกบ็ ดอกเห็ดนางฟา้ ได้ 4. เก็บดอกเห็ดนางฟ้าได้อยา่ งถกู ตอ้ ง 5. อธิบายวธิ ีการเก็บรกั ษาดอกเห็ดนางฟา้ ได้ 6. บอกวิธีการถนอมเห็ดนางฟา้ ได้

4 ประเมินกอ่ นเรียน คำสัง่ ใหน้ กั เรียนเลือกคำตอบที่ถูกตอ้ งท่สี ุดเพยี งขอ้ เดยี ว 1. ข้อใดกล่าวถกู ต้อง ก. ถ้าอากาศเยน็ ดอกเห็ดนางฟา้ ออกดอกช้า สีซีด ข. ถ้าอากาศเยน็ ดอกเหด็ นางฟา้ ออกดอกเร็ว สีเข้ม ค. ถ้าอากาศรอ้ น ดอกเห็ดนางฟา้ ออกดอกเรว็ สีซีด ง. ถ้าอากาศรอ้ น ดอกเห็ดนางฟา้ ออกดอกช้า สีเขม้ 2. ถ้าปลอ่ ยใหด้ อกเหด็ นางฟ้าบานเต็มที่และดอกเหด็ สรา้ งสปอร์ดอกเห็ดจะมีคุณภาพอย่างไร ก. มนี ้ำหนักดี ข. คุณภาพดี รสชาตอิ รอ่ ย ค. มคี ุณค่าทางโภชนาการสูง ง. มคี ุณภาพไมด่ ี เนือ้ เหนียว รสขม 3. ระยะเวลาใดที่เหมาะสมในการเก็บดอกเห็ดนางฟา้ ก. เช้า ข. เย็น ค. บา่ ย ง. เที่ยง 4. ข้อใดเป็นลักษณะของดอกเห็ดนางฟ้าที่เหมาะแกก่ ารเก็บเกี่ยว ก. ดอกโตเต็มท่ี ข. ดอกเห็ดเรมิ่ สร้างสปอร์ ค. กา้ นดอกเห็ดหยดุ การเจรญิ เติบโต ง. ถูกทกุ ข้อ 5. ข้อใดเป็นการเกบ็ เก่ียวเห็ดนางฟ้าทถ่ี กู วิธี ก. ใช้มอื ดงึ ทีโ่ คนกา้ นดอก ข. ใช้มีดคม ๆ ตดั บรเิ วณก้านดอก ค. ใชก้ รรไกรตัดบรเิ วณโคนกา้ นดอก ง. ถกู ทุกขอ้

5 6. เพราะเหตุใดหลงั เกบ็ เกยี่ วดอกเห็ดนางฟา้ จึงตอ้ งคว่ำดอกเหด็ ลงในตะกรา้ ก. ปอ้ งกนั ไมใ่ หก้ ลีบดอกเห็ดช้ำ ข. ป้องกนั ไม่ใหก้ ้านดอกเหด็ หกั ค. ปอ้ งกันไม่ให้ดอกเห็ดคายน้ำ ง. ป้องกนั ไมใ่ หด้ อกเห็ดเจรญิ เตบิ โต 7. ดอกเห็ดนางฟา้ หลงั การเกบ็ เกย่ี วเกบ็ ไว้ในต้เู ย็นได้นานกว่ี นั ก. 3-4 วนั ข. 6-7 วนั ค. 7-14 วนั ง. 15-20 วนั 8. ขอ้ ใดเปน็ ลกั ษณะของก้อนเชื้อเหด็ ท่ีหมดอายุ ก. มีสีดำ น่ิม เหลว เละ ข. มีสีเหลอื งปนนำ้ ตาล ค. มีสีขาวปนเหลือง นิ่ม เละ ง. มีสีขาวปนสีดำ น่ิม เหลว เละ 9. การอบแห้งเห็ดนางฟา้ ควรใช้อณุ หภมู ิกี่องศาเซลเซียส ก. 15 องศาเซลเซยี ส ข. 20 องศาเซลเซียส ค. 25 องศาเซลเซียส ง. 30 องศาเซลเซียส 10. สารเคมีชนิดใดท่ีนิยมนำมาถนอมเหด็ นางฟา้ ก. เกลอื ข. สารส้ม ค. นำ้ ตาล ง. ดา่ งทบั ทมิ

6 ใบความรู้ท่ี 1 เร่ือง ระยะเวลาการเก็บดอกเหด็ นางฟ้า ระยะเวลาการเกบ็ ดอกเห็ดนางฟ้า ภาพดอกเหด็ นางฟา้ ระยะ 1-2 วนั เห็ ด น า ง ฟ้ า ไ ว ต่ อ ก า ร เป ลี่ ย น แ ป ล ง ข อ ง ภาพดอกเหด็ นางฟ้า ระยะ 2-3 วัน ภาพดอกเหด็ นางฟ้า ระยะ 3-4 วัน อากาศมาก ถ้าอากาศเย็นดอกเห็ดจะออกเร็ว มีสี เข้ม แต่ถ้าอากาศร้อนการออกดอกจะช้า และมีสี ซีด เม่ือเอาถุงก้อนเชื้อเห็ดมาเปิดรดน้ำ และมีวิธี รักษาท่ีถูกต้องเหมาะสม จะเกิดดอกเห็ดเล็ก ๆ ภายในเวลาประมาณ 2-3 สัปดาห์ โดยแบ่ง ออกเป็น 3 ระยะดงั น้ี 1. ระยะดอกเห็ดพัฒนาเป็นตุ่มเล็ก ๆ ระยะ1-2 วัน ดอกเห็ดจะพัฒนาและเจริญเติบโต โดยยดื กา้ นดอกยาวออกมา 2. ระยะดอกเห็ดพัฒนาเป็นดอกเล็ก ๆ ระยะ2-3 วัน ดอกเห็ดจะพัฒนาและเจริญเติบโต ทางกา้ นดอก และหมวกดอก 3. ระยะดอกเห็ดเจริญเติบโตเต็มท่ี เป็น ระยะเวลา3-4 วนั เปน็ ระยะทดี่ อกเห็ดเจริญเติบโต เต็มที่ และเร่ิมหยุดเจริญเติบโตทางด้านก้านดอก หมวกดอกคล่ีบาน และเร่ิมสร้างสปอร์ เป็นระยะที่ เหมาะแก่การเก็บดอก หากทิ้งไว้นานกว่าน้ี ดอก เห็ดจะสร้างสปอร์ออกมาเป็นผงสีขาวละเอียด หลุดร่วงหล่นลงมาด้านล่าง ดอกเห็ดที่สร้างสปอร์ แล้วคุณภาพจะด้อยลง คือเหนียวและรสชาติขม และช้ำง่าย เวลาท่ีเหมาะสมในการเก็บดอกเห็ด นางฟ้าคือตอนเช้ามืด

7 ลักษณะดอกเห็ดท่ีเหมาะแก่การเก็บเกี่ยว มี ภาพลกั ษณะดอกเห็ดนางฟา้ ทีเ่ หมาะแก่การเก็บเกย่ี ว ลักษณะดงั นี้ 1. ดอกทโ่ี ตเต็มท่ี ไดข้ นาดพอดี 2. หมวกดอกเริ่มคลี่ออกมาประมาณ ครึ่งหนึ่ง ขอบดอกหนาและรวบตวั เข้าหากนั 3. กา้ นของดอกเห็ดจะหยดุ การเจริญเติบโต ทางดา้ นความยาว 4. ดอกเห็ดเร่ิมสรา้ งสปอร์เล็กนอ้ ย วธิ กี ารเก็บดอกเห็ดนางฟ้า ภาพวิธกี ารเก็บดอกเหด็ นางฟ้า 1. ใช้นิ้วมือข้างหน่ึงสอดเข้าไปท่ีโคนก้าน ภาพการตดั โคนดอกเหด็ นางฟ้า ดอก และอีกมือหนึ่งดันหน้าก้อนเชื้อเห็ดไว้ บิด เลก็ น้อย ดอกเห็ดจะหลุดออกมา ไม่ควรใช้มีดตัด เพราะเศษเห็ดที่ติดอยู่กับก้อนเช้ือเห็ดจะเน่า เกิด เป็นแหลง่ สะสมเชื้อโรค และระวังอย่าใหก้ ้านดอก เห็ดขาด หรอื เชื้อปุ๋ยหมักติดออกมาด้วย เพราะจะ ทำให้ก้อนเชือ้ เห็ดเสียได้ 2. นำดอกเห็ดวางเรียงใส่ตะกร้า ท่ีมี กระดาษรองก้นตะกร้า ไม่ควรใส่ดอกเห็ดมาก เกนิ ไป จะทำให้ดอกเห็ดช้ำ เสียหายได้ 3. ใชม้ ีดตดั สว่ นโคนที่มเี ศษขเ้ี ล่อื ยติดมา 4. วางดอกเห็ดคว่ำไว้ในตะกร้าท่ีสะอาด แต่ละตะกร้าไม่ควรใส่ดอกเห็ดลงไปมากเกินไป หรือไม่ควรเกิน 5 กิโลกรัมต่อตะกร้า เพื่อไม่ให้ น้ำหนกั ของดอกเหด็ กดทบั จนเสยี หาย ภาพการวางดอกเหด็ นางฟ้าหลงั ตดั โคนดอก

8 ใบความรู้ที่ 2 เร่อื ง การเก็บรกั ษาดอกเห็ดนางฟ้า การเกบ็ รกั ษาดอกเหด็ นางฟา้ ภาพเห็ดนางฟ้าตากแห้ง ดอกเห็ดนางฟ้าเก็บรักษาได้ไม่ทนมากนัก ควรจะใช้ทำอาหารใหห้ มดภายใน 1-2 วัน หลังจาก ที่ตัดออกมา มักจะเห่ียวแม้จะแช่ตู้เย็นก็ตาม การ เก็บเห็ดถ้าเก็บในอุณหภูมิห้อง คือไม่เข้าตู้เย็น ให้ วางบนใบตองสด เรียงดอกเห็ดบาง ๆ ก็สามารถ เก็บได้ระยะหน่ึง ถ้าเก็บในตู้เย็นก็ควรเอาใส่ ถุงพลาสติกขุ่น ใช้สเปรย์น้ำให้มีหยด เล็ก ๆ ติด ภายในถุง เอาดอกเห็ดใส่ถุงรัดด้วยยาง หรือเย็บ ปากถงุ ไว้ เกบ็ ไว้นาน3-4 วัน การถนอมรกั ษาเห็ดนางฟ้า การถนอมรักษา หมายถึง การเก็บรักษา โดยกรรมวิธีต่าง ๆ ให้อยู่ในสภาพที่ใกล้เคียงกับ ของสดมากที่สุด โดยไม่สูญเสียคุณภาพและคุณค่า ทางโภชนาการ ตลอดท้ังยังคงมีคุณลักษณะทาง คุณภาพ ซึ่งเปน็ ท่ีตอ้ งการของผบู้ ริโภค วธิ กี ารเก็บรกั ษาเหด็ นางฟ้า มดี งั น้ี 1. การตากแหง้ เห็ดนางฟ้า ถา้ ต้องการใหเ้ ห็ดนางฟา้ แห้งเร็ว ควรนำมาผ่าซีกตามความยาว แบ่งไดเ้ ป็น 2 วิธี คือ 1.1 การตากแหง้ โดยใช้แสงแดด 1.2 การอบแห้งด้วยตู้อบ จะมีคุณภาพดีกว่าการตากแดด ใช้เวลา 24 ช่ัวโมง ด้วย อณุ หภมู ิ 30 องศาเซลเซยี ส เห็ดนางฟา้ สด จำนวน 10 กิโลกรัม จะไดเ้ หด็ แห้ง 1 กโิ ลกรัม

9 2. การทำแห้งโดยการแช่แข็ง เป็นการใช้ ความเย็นในการถนอมรักษาเห็ดนางฟ้า ให้ ใกล้เคียงเห็ดสดมากที่สุด แต่เสียค่าใช้จ่ายสูง มา แชแ่ ขง็ ดว้ ยอุณหภูมิ -30 องศาเซลเซียส 3. การเก็บรักษาเหด็ นางฟ้าที่อุณหภูมิต่ำ เป็นการเกบ็ รกั ษาเห็ดเพยี งระยะเวลาสั้น ๆ เพราะ อณุ หภูมิต่ำจะยับยั้งการทำงานของจุลินทรีย์ ช่วย ลดการหายใจของเนื้อเยื่อเห็ด และช่วยลด ปฏิกิริยาการย่อยสลายตัวเอง การเก็บรักษาเห็ด โดยใช้ ความเยน็ ระดับตา่ ง ๆ ดงั นี้ 3.1. การเก็บรักษาเห็ดที่อุณหภูมิต่ำกว่า ภาพการเกบ็ รกั ษาดอกเหด็ นางฟา้ ในตู้เย็น 0 องศาเซลเซียส หรือเก็บถนอมในช่องแช่แข็ง จะเก็บไว้นาน 2 สัปดาห์ แตค่ ณุ ภาพสูเ้ ห็ดสดไม่ได้ ท้ังด้านความสด ความอร่อย และเห็ดจะอ่อนน่ิม ห ลั ง จ า ก เอ า เห็ ด อ อ ก จ า ก ช่ อ ง แ ช่ แ ข็ ง ม า ไ ว้ ที่ อุณหภมู ธิ รรมดา 3.2. การเก็บรักษาเหด็ ท่ีอุณหภูมิ 4-6 องศาเซลเซยี ส หรือในตเู้ ย็นชอ่ งธรรมดา 3.3. การเก็บรักษาเห็ดที่อุณหภูมิ 10 องศาเซลเซียส จากการเปรียบเทียบระหว่างการเก็บ รักษาเห็ดโดยใช้ถุงพลาสติกกับการไม่ใช้ถุงพลาสติก พบว่าถ้าไม่บรรจุถุงพลาสติก จะเก็บรักษาเห็ดได้ 2-3 วัน แต่เห็ดจะสูญเสียความชื้นไปประมาณ คร่ึงหน่ึง แต่ถ้าบรรจุเห็ดในถุงพลาสติก ซ่ึงเจาะรู ด้านขา้ งด้วย จะชว่ ยเก็บรกั ษาเหด็ ไดน้ าน 4 วนั และเห็ดจะสูญเสยี ความช้นื ประมาณ 10 เปอรเ์ ซน็ ต์ 3.4 การเก็บรกั ษาเหด็ ทีอ่ ุณหภูมิ 20-25 องศาเซลเซียส จะเก็บได้นาน 4-6 ชัว่ โมง 4. การเก็บรักษาเห็ดโดยใช้รังสี เป็นการช่วยลดการเน่าเสียของเห็ดได้เป็นอย่างดี พบว่ารังสี แกมมา 100 k rad ชว่ ยลดการเปลี่ยนสี หยุดการเจริญเติบโตของหมวกดอก และลดการยืดตัวของเห็ด 5. การถนอมเหด็ โดยใช้สารเคมี เป็นการถนอมรกั ษาเห็ดวิธีง่าย ๆ อกี วิธีหน่ึงท่ีชาวบ้านเรียกว่า ดองเคม็ โดยการนำเห็ดมาล้างดว้ ยสารละลายผสมเกลือแกง 3 เปอรเ์ ซ็นต์ จะช่วยยับยง้ั การเจรญิ เติบโต ของจุลนิ ทรีย์

10 กิจกรรมฝึกทักษะปฏบิ ัติ เรอื่ ง การเก็บดอกเห็ดนางฟา้ จดุ ประสงค์การเรียนรู้ เพ่อื ให้นกั เรียนมีทกั ษะในการเกบ็ ดอกเหด็ นางฟ้า วัสดอุ ุปกรณ์ 1. เขง่ หรือตะกร้าสำหรบั ใสด่ อกเห็ดนางฟา้ 2. มีด 3. เครื่องชงั่ 4. ถุงพลาสติกใสขนาด 10X15 น้วิ ขน้ั ตอนการปฏิบัติงาน 1. เตรยี มอปุ กรณ์ ได้แก่ เขง่ ตะกร้าสำหรบั ใส่ดอกเห็ด 2. ใช้น้ิวมือข้างหน่ึงสอดเข้าไปท่ีโคนก้านดอกและอีกมือหน่ึงดันหน้าก้อนเช้ือเห็ดไว้ บิดเล็กน้อย ดอกเหด็ จะหลดุ ออกมา 3. นำดอกเหด็ วางเรียงใสต่ ะกร้าท่ีมกี ระดาษรองก้นตะกร้า 4. ใชม้ ีดหรอื กรรไกรตัดเอาส่วนโคนทมี่ เี ศษข้ีเลื่อยติดมา 5. วางดอกเห็ดคว่ำไวใ้ นตะกรา้ ทส่ี ะอาด 6. นำดอกเห็ดบรรจุในถุงพลาสตกิ ชั่งในปริมาณ 1.0 กโิ ลกรัม ไล่อากาศออกให้ได้มาก ทสี่ ดุ มดั ถงุ ติดฉลาก กำหนดราคา และจำหน่าย ขอ้ ควรระวัง 1. การเก็บดอกเห็ดนางฟ้า ระวังอย่าให้ก้านดอกเห็ดขาดหรือเชื้อปุ๋ยหมักติดออกมา ดว้ ย เพราะจะทำใหก้ ้อนเชอ้ื เหด็ เสียได้ 2. การวางดอกเห็ดใสต่ ะกร้า ไม่ควรใส่ดอกเห็ดมากเกินไป จะทำใหด้ อกเหด็ ชำ้ ได้ 3. การวางดอกเห็ดในตะกร้าแต่ละใบ ไม่ควรใส่ดอกเห็ดมากเกิน 5 กิโลกรัม เพื่อ ไม่ให้น้ำหนกั ของดอกเห็ดกดทบั จนเสยี หาย การวดั และประเมนิ ผล 1. ตรวจผลการปฏิบัติงาน 2. ประเมนิ ผลการปฏบิ ตั งิ าน

11 บันทึกผลการปฏิบตั ิกจิ กรรม เร่ือง การเก็บดอกเห็ดนางฟ้า วนั ท่ี ......... เดือน ......................... พ.ศ. ....................... สรุปขั้นตอนการเก็บดอกเหด็ นางฟ้า .................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................... ผลท่ีได้จากการปฏิบัติงาน .................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................... ปัญหาและขอ้ เสนอแนะ .................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................... ลงชือ่ .......................................... ผู้บนั ทึก (.............................................) วนั ท่ี ..... เดอื น .................. พ.ศ. ...........

12 ประเมนิ คุณภาพผลงาน เรอ่ื งการเกบ็ ดอกเหด็ นางฟา้ ชื่อ............................................. นามสกุล .............................................................. คำชี้แจง ให้ผปู้ ระเมิน ทำการประเมินผลงานของนักเรยี นตามเกณฑ์ท่ีกำหนด โดยเขยี น คะแนนลงในช่องว่างตามรายการต่อไปนี้ เกณฑ์การใหค้ ะแนน 1 หมายถึง ตอ้ งปรับปรุง 2 หมายถงึ พอใช้ 3 หมายถงึ ดี 4 หมายถงึ ดีมาก ลำดบั รายการ ผู้ประเมนิ คะแนน ท่ี ตนเอง เพอ่ื น ครู เฉลยี่ 1 เลือกวัสดุอปุ กรณ์ไดเ้ หมาะสม 2 เตรียมวัสดุอุปกรณ์ได้เหมาะสม 3 ใชว้ สั ดอุ ุปกรณ์ได้ถูกต้อง 4 ปฏิบตั ิงานตามข้นั ตอนถกู ตอ้ ง 5 ผลงานดีมคี ุณภาพ คะแนนรวม ลงชื่อผปู้ ระเมนิ เกณฑ์การประเมิน คะแนนรวม 17 - 20 หมายถึง ผลงานอยู่ในระดับดมี าก คะแนนรวม 13 - 16 หมายถงึ ผลงานอยใู่ นระดับดี คะแนนรวม 9 - 12 หมายถึง ผลงานอยใู่ นระดบั พอใช้ คะแนนรวม 4 - 8 หมายถงึ ผลงานอย่ใู นระดับควรปรับปรุง สรปุ ผลการประเมิน อยู่ในระดับคณุ ภาพ  ดมี าก  ดี  พอใช้  ปรับปรงุ

13 ประเมินหลังเรยี น คำสั่ง ให้นักเรยี นเลอื กคำตอบที่ถูกตอ้ งท่ีสดุ เพยี งขอ้ เดียว 1. ข้อใดกลา่ วถูกต้อง ก. ถา้ อากาศเยน็ ดอกเหด็ นางฟา้ ออกดอกช้า สีซดี ข. ถา้ อากาศเยน็ ดอกเหด็ นางฟา้ ออกดอกเรว็ สเี ข้ม ค. ถา้ อากาศร้อน ดอกเหด็ นางฟ้าออกดอกเร็ว สซี ดี ง. ถา้ อากาศร้อน ดอกเหด็ นางฟา้ ออกดอกช้า สีเขม้ 2. ถา้ ปลอ่ ยให้ดอกเหด็ นางฟ้าบานเตม็ ที่และดอกเห็ดสรา้ งสปอร์ดอกเหด็ จะมีคุณภาพอย่างไร ก. มีน้ำหนักดี ข. คุณภาพดี รสชาตอิ ร่อย ค. มีคุณค่าทางโภชนาการสงู ง. มคี ุณภาพไมด่ ี เนื้อเหนยี ว รสขม 3. ระยะเวลาใดท่ีเหมาะสมในการเก็บดอกเหด็ นางฟา้ ก. เช้า ข. เยน็ ค. บ่าย ง. เท่ียง 4. ข้อใดเป็นลักษณะของดอกเหด็ นางฟ้าทเ่ี หมาะแก่การเก็บเกีย่ ว ก. ดอกโตเต็มท่ี ข. ดอกเห็ดเริ่มสรา้ งสปอร์ ค. ก้านดอกเห็ดหยุดการเจรญิ เติบโต ง. ถูกทุกข้อ 5. ข้อใดเปน็ การเกบ็ เกยี่ วเหด็ นางฟ้าทีถ่ กู วธิ ี ก. ใชม้ อื ดงึ ทีโ่ คนก้านดอก ข. ใช้มีดคม ๆ ตดั บรเิ วณก้านดอก ค. ใชก้ รรไกรตดั บริเวณโคนกา้ นดอก ง. ถูกทุกข้อ

14 6. เพราะเหตุใดหลังเก็บเก่ียวดอกเห็ดนางฟา้ จงึ ตอ้ งคว่ำดอกเห็ดลงในตะกรา้ ก. ป้องกันไม่ให้กลบี ดอกเหด็ ช้ำ ข. ปอ้ งกันไมใ่ ห้กา้ นดอกเห็ดหกั ค. ป้องกนั ไมใ่ ห้ดอกเห็ดคายนำ้ ง. ปอ้ งกนั ไม่ใหด้ อกเหด็ เจรญิ เตบิ โต 7. ดอกเหด็ นางฟา้ หลังการเก็บเกี่ยวเก็บไว้ในตเู้ ย็นได้นานก่ีวนั ก. 3-4 วนั ข. 6-7 วัน ค. 7-14 วนั ง. 15-20 วัน 8. ขอ้ ใดเปน็ ลักษณะของก้อนเช้อื เห็ดทห่ี มดอายุ ก. มีสดี ำ นิ่ม เหลว เละ ข. มสี ีเหลืองปนน้ำตาล ค. มสี ีขาวปนเหลือง น่มิ เละ ง. มสี ีขาวปนสีดำ นมิ่ เหลว เละ 9. การอบแหง้ เหด็ นางฟา้ ควรใช้อุณหภูมิก่ีองศาเซลเซยี ส ก. 15 องศาเซลเซยี ส ข. 20 องศาเซลเซยี ส ค. 25 องศาเซลเซียส ง. 30 องศาเซลเซียส 10. สารเคมชี นดิ ใดทน่ี ิยมนำมาถนอมเห็ดนางฟ้า ก. เกลือ ข. สารส้ม ค. น้ำตาล ง. ด่างทบั ทมิ

15 คำเฉลยและเกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ข้อ 1 ข. ถ้าอากาศเยน็ ดอกเห็ดนางฟ้าออกดอกเร็ว สีเขม้ ขอ้ 2 ง. คุณภาพไมด่ ี เน้อื เหนยี ว รสขม ข้อ 3 ก. เช้า ข้อ 4 ง. ถกู ทกุ ข้อ ข้อ 5 ก. ใช้มอื ดงึ ท่โี คนก้านดอก ขอ้ 6 ก. ป้องกันไมใ่ หก้ ลบี ดอกเห็ดชำ้ ข้อ 7 ก. 3-4 วัน ข้อ 8 ก. มสี ีดำ นิ่ม เหลว เละ ข้อ 9 ง. 30 องศาเซลเซียส ข้อ 10 ก. เกลือ เกณฑ์การให้คะแนน ขอ้ 1 - 10 ถ้านกั เรียนตอบถกู ตอ้ งตรงกบั คำเฉลย ให้ขอ้ ละ 1 คะแนน และถา้ นักเรยี น ตอบไม่ตรงคำเฉลย ให้ขอ้ ละ 0 คะแนน เกณฑ์การผา่ น ถ้านกั เรยี นทำแบบประเมินได้ 8 คะแนนขึ้นไป ถือว่าผ่าน ถ้านักเรยี นทำแบบประเมนิ ไดน้ อ้ ยกวา่ 8 คะแนน ถอื วา่ ไมผ่ ่านให้นักเรยี นกลับไปศึกษา ใหม่

16 เอกสารอา้ งองิ เตมิ พงศ์ แสงปกรณ์กิจ. 2553. เห็ดนางฟ้า. พิมพ์ครัง้ ที่ 2. กรงุ เทพมหานคร :ธนธัชการพมิ พ์. บรรณ บูรณะชนบท. 2547. ค่มู ือเพาะเห็ด. พิมพค์ ร้งั ที่ 1. กรงุ เทพมหานคร :โรงพมิ พ์เทพพทิ ักษ์. . 2548. การเพาะเห็ดนางรม-นางฟ้า. กรงุ เทพมหานคร : ฐานเกษตรกรรม. บุญส่ง วงศ์เกรียงไกร. 2543. เห็ดนางฟ้า. กรุงเทพมหานคร :ชมรมเพาะเห็ดแห่งประเทศไทย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. รักษ์ พฤกษชาติ. 2551. เห็ดเศรษฐกิจคมู่ ือการเพาะเหด็ เชิงการค้าอยา่ งมอื อาชีพ. พมิ พค์ ร้งั ที่1. กรุงเทพมหานคร : นีออนบคุ๊ มเี ดยี . วทิ ยา ทวีนชุ . 2553. การเพาะเหด็ แบบเศรษฐกจิ พอเพียง. พิมพค์ รัง้ ท่ี 2. ปทมุ ธานี : สกายบุกส์. อนงค์ จนั ทร์ศรีกลุ . 2550. เหด็ ในประเทศไทย. พมิ พ์ครงั้ ที่ 2. กรุงเทพมหานคร : ราชบัณฑิตยสถาน.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook