แผนการสอนฐานสมรรถนะ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์เพ่ือพฒั นาทักษะชีวติ รหัสวชิ า 2000-1301 ระดบั ช้ัน ปวช. โดย นางสําเริง พลเวยี ง แผนกวชิ าสามัญ วทิ ยาลัยเทคนิคสัตหีบ สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา จังหวดั ชลบุรี
ก คํานํา แผนการสอนฐานสมรรถนะวชิ าชีพ รายวชิ า วิทยาศาสตร์เพื่อพฒั นาทกั ษะชีวติ รหสั 2000-1301 สาํ หรับนกั เรียนระดบั ช้นั ประกาศนียบตั รวชิ าชีพเลม่ น้ี เป็นแผนการเรียนรู้ที่ผสู้ อนเรียบเรียงข้ึนโดยมี จุดประสงคเ์ พื่อเป็นแนวทางในการจดั กิจกรรมการเรียนการสอนใหส้ อดคลอ้ งกบั พระราชบญั ญตั ิการศึกษา แห่งชาติ พ.ศ.2546 ท่ีเนน้ ผเู้ รียนเป็นสาํ คญั มีการจดั การเรียนการสอนโดยยดึ หลกั ผเู้ รียนทกุ คนมีความสามารถ เรียนรู้และพฒั นาตนเองได้ และถือวา่ ผเู้ รียนมีความสาํ คญั ท่ีสุด โดยจดั กิจกรรมใหผ้ ูเ้ รียนไดเ้ รียนรู้จาก ประสบการณ์จริง ฝึกปฏิบตั ิ ใหค้ ิดได้ คดิ เป็น ทาํ เป็น รักการอ่านและเกิดการใฝ่รู้อยา่ งต่อเนื่อง โดยครูเป็น ผสู้ นบั สนุนและส่งเสริมใหผ้ ูเ้ รียนสามารถพฒั นาตามธรรมชาติและเตม็ ตามศกั ยภาพ อนั จะทาํ ใหน้ กั เรียนเป็น บคุ คลที่มีความรู้ ความเขา้ ใจ มีเจตคติ คา่ นิยมที่ดี ต่อวิทยาศาสตร์ มีสมรรถนะในการประกอบอาชีพอยา่ งมีความ สมารถ มีคุณธรรม จริยธรรม และดาํ รงชีวิตอยา่ งมีความสุขสืบไป ผสู้ อนหวงั เป็นอยา่ งยงิ่ วา่ แผนการสอนฐานสมรรถนะวชิ าชีพ รายวชิ า วิทยาศาสตร์เพอื่ พฒั นาทกั ษะ ชีวิต รหสั 2000-1301 ฉบบั น้ี คงเป็นประโยชนแ์ ก่ครูผสู้ อนและผสู้ นใจ ในการนาํ ไปปรับปรุงในการจดั ทาํ แผนการจดั การเรียนรู้ เพื่อใชเ้ ป็นแนวทางในการจดั กิจกรรมการเรียนการสอน ในการพฒั นาตนเองตอ่ ไป นางสาํ เริง พลเวียง ผจู้ ดั ทาํ
หลกั สูตร : ประกาศนียบตั รวิชาชีพ คาํ อธิบาย � รายวชิ า �� รหสั วชิ า : 2000-1301 � ��� ชื่อวิชา :วิทยาศาสตร์เพ่ือพฒั นาทกั ษะชีวติ 2(3) แผน่ ที่ : ระดบั การศึกษา ปวช. ปวส. อ่ืนๆ ………………………………………………………………. จาํ นวน 3 ชวั่ โมงต่อสปั ดาห์ จาํ นวน : 18 สัปดาห์ต่อภาคเรียน สอนในภาคเรียนที่ …1…. จดุ ประสงค์รายวิชา 1. มีความรู้ความเขา้ ใจเกี่ยวกบั หน่วยและการวดั แรงและการเคลื่อนที่ ไฟฟ้า อะตอมและธาตุ สารและปฏิกิริยา เคมี การรักษาดุลยภาพของส่ิงมีชีวิตและระบบนิเวศ 2. มีทกั ษะเก่ียวกบั การใชเ้ ครื่องมือวดั ปริมาณทางฟิ สิกส์ การทดลองแหล่งกาํ เนิดไฟฟ้า วงจรไฟฟ้า การคาํ นวณ คา่ ไฟฟ้า การทดลองปฏิกิริยาเคมีในชีวติ ประจาํ วนั และงานอาชีพ3. มีเจตคติที่ดีตอ่ วิชาวิทยาศาสตร์ และกิจนิสยั ที่ ดีในการทาํ งาน สมรรถนะรายวิชา 1. แสดงความรู้และปฏิบตั ิเก่ียวกบั ปริมาณทางฟิ สิกส์ แรงและการเคลื่อนที่ 2. แสดงความรู้และปฏิบตั ิเกี่ยวกบั ไฟฟ้าในชีวติ ประจาํ วนั 3. แสดงความรู้และปฏิบตั ิเก่ียวกบั สารเคมีและการเปล่ียนแปลงทางเคมี 4. แสดงความรู้และปฏิบตั ิเกี่ยวกบั สิ่งมีชีวิตและระบบนิเวศ 5. แสดงความรู้เบ้ืองตน้ เกี่ยวกบั นาโนเทคโนโลยี คาํ อธบิ ายรายวิชา ศึกษาและปฏิบตั ิเก่ียวกับ ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ หน่วยและการวดั แรงและการ เคลื่อนท่ี ไฟฟ้าในชีวิตประจาํ วนั นาโนเทคโนโลยี โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ พนั ธะเคมี สารและการ เปล่ียนแปลงปฏิกิริยาเคมีในชีวติ ประจาํ วนั การรักษาดุลยภาพของส่ิงมีชีวิตและระบบนิเวศ
หัวข้อหลกั สูตร : ใบรายการหัวข้อเรื่อง หวั ข้อ : (Topic/Job Listing Sheet) วิทยาศาสตร์เพอื่ พฒั นาทกั ษะชีวติ __________________________________________________________ ระดบั ปวช. ลาํ ดับ หัวข้อเร่ือง แหล่งข้อมูล ABCDE 1 กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 2 หน่วยและการวดั / // 3 แรงและการเคล่ือนท่ี 4 ไฟฟ้าในชีวิตประจาํ วนั / // 5 โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ / // 6 พนั ธะเคมี / // 7 สารและการเปลี่ยนแปลง / // 8 ปฏิกิริยาในชีวติ ประจาํ วนั / // 9 ระบบนิเวศและการรักษาดุลยภาพของส่ิงมีชีวติ / // 10 นาโนเทคโนโลยี / // / // / // แหล่งข้อมูล : คาํ อธิบายรายวิชา A : ผเู้ ช่ียวชาญ B : ผชู้ าํ นาญงาน C : ประสบการณ์ของผูว้ เิ คราะห์ D : เอกสาร ตาํ ราอ่ืนๆ E
หลกั สูตร : ประกาศนียบตั รวิชาชีพ โครงการสอน หนา้ ท่ี รหสั วชิ า : 2000-1301 ตอ่ ภาคเรียน ช่ือวชิ า : วิทยาศาสตร์เพ่ือพฒั นาทกั ษะชีวติ แผน่ ท่ี : ระดบั การศึกษา ปี 1. ปี 2. ปี 3. ปี 4. ปี 5. ปี 6. จาํ นวน 3 ชวั่ โมงตอ่ สปั ดาห์ จาํ นวน : 18 สัปดาหต์ ่อภาคเรียน สอนในภาคเรียนท่ี 2 ส.ป. หวั ขอ้ Teaching Point กิจกรรม สื่อ วดั ผล 1-3 กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ - วิธีการทางวทิ ยาศาสตร์ -บรรยาย -หนงั สือ -ใบงาน - จิตวทิ ยาศาสตร์ -ppt -แบบ - ทกั ษะกระบวนการทาง -ใบ ฝึกหดั วิทยาศาสตร์ ความรู้ -แบบ - โครงงานวทิ ยาศาสตร์ ทดสอบ 4 หน่วยและการวดั - ระบบของหน่วยวดั -บรรยาย -หนงั สือ -ใบงาน - การวดั -ppt -แบบ -ใบ ฝึกหดั ความรู้ -แบบ ทดสอบ 5-6 แรงและการเคลื่อนท่ี - ความหมายของแรง -บรรยาย -หนงั สือ -ใบงาน - ชนิดของแรง -ppt -แบบ - แรงในธรรมชาติ -ใบ ฝึกหดั - แรงชนิดอื่นและการใช้ ความรู้ -แบบ ประโยชน์ ทดสอบ - การเคล่ือนที่ของวตั ถุ 7 ไฟฟ้าในชีวิตประจาํ วนั - ประวตั ิการคน้ พบ -บรรยาย -หนงั สือ -ใบงาน - การผลิตกระแสไฟฟ้า -ppt -แบบ - การส่งกาํ ลงั ไฟฟ้า -ใบ ฝึกหดั - การต่อวงจรไฟฟ้า ความรู้ -แบบ - การคาํ นวณคา่ ไฟฟ้า ทดสอบ
8-9 โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ - แบบจาํ ลองอะตอม -บรรยาย -หนงั สือ -ใบงาน -ppt -แบบ - อนุภาคมูลฐานของ -ใบ ฝึกหดั ความรู้ -แบบ อะตอม ทดสอบ - สญั ลกั ษณ์นิวเคลียร์ -หนงั สือ -ใบงาน - ไอโซโทป ไอโซบาร์ และ -ppt -แบบ -ใบ ฝึกหดั ไอโซโทน ความรู้ -แบบ 10-11 พนั ธะเคมี -การจดั เรียงอิเลก็ ตรอนใน -บรรยาย ทดสอบ 12-13 สารและการเปล่ียนแปลง อะตอม -บรรยาย - ธาตุและสญั ลกั ษณ์ของ -หนงั สือ -ใบงาน ธาตุ -ppt -แบบ - ตารางธาตุ -ใบ ฝึกหดั ความรู้ -แบบ - ความหมายและการเกิด พนั ธะเคมี ทดสอบ - พนั ธะไอออนิกและ -หนงั สือ -ใบงาน สารประกอบไอออนิก -ppt -แบบ - พนั ธะโคเวเลนตแ์ ละ -ใบ ฝึกหดั สารประกอบโคเวเลนต์ ความรู้ -แบบ - พนั ธะโลหะ ทดสอบ - สาร - สมบตั ิของสาร - การจาํ แนกสาร - การเปลี่ยนแปลงของสาร 14 ปฏิกิริยาในชีวิตประจาํ วนั - การเกิดปฏิกริยาเคมี -บรรยาย - พลงั งานกบั การ เกิดปฏิกิริยาเคมี - ปัจจยั ท่ีมีผลต่อการ เกิดปฏิกิริยาเคมี - ปฏิกริยาเคมีใน ชีวิตประจาํ วนั
15-16 ระบบนิเวศและการรักษาดุลยภาพ - ความหมายของระบบ -บรรยาย -หนงั สือ -ใบงาน -ppt -แบบ ของส่ิงมีชีวติ นิเวศ -ใบ ฝึกหดั ความรู้ -แบบ - ความสมั พนั ธ์ของ ทดสอบ สิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ - การถ่ายทอดพลงั งานใน -หนงั สือ -ใบงาน -ppt -แบบ ระบบนิเวศ -ใบ ฝึกหดั ความรู้ -แบบ - การรักษาดุลยภาพของน้าํ - การรักษาดุลยภาพของ ทดสอบ กรดเบสในร่างกาย - การรักษาดุลยภาพของ อณุ หภูมิ 17 นาโนเทคโนโลยี - ความหมายของนาโน -บรรยาย เทคโนโลยี -รายงาน - ความเก่ียวขอ้ งของนาโน เทคโนโลยกี บั อุตสาหกรรม - สาขายอ่ ยของนาโน เทคโนโลยี - นาโนเทคโนโลยใี น ธรรมชาติ - ผลิตภณั ฑน์ าโน 18 สอบปลายภาค
สาขาวชิ า : วทิ ยาศาสตร์ รหัสวิชา : 2000-1301 ช่ือวชิ า : วทิ ยาศาสตร์เพื่อพฒั นาทักษะชีวติ หวั ข้อ : กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ วธิ ีการทางวิทยาศาสตร์ ทกั ษะกระบวนการทาง จิตวทิ ยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ กระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ โครงงานวทิ ยาศาสตร์
สาขาวชิ า : วิทยาศาสตร์ ตารางวิเคราะห์หวั ข้อ หน้าท ชื่อวิชา : วิทยาศาสตร์เพ่ือพฒั นาทักษะชีวติ รหสั วิชา : 2000-1301 แผ่นท่ี : หวั ข้อ : กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ความรู้ ระดับ (IS) Knowledge RAT 1.1 วิธีการทางวิทยาศาสตร์ P 1.2 จิตวทิ ยาศาสตร์ P 1.3 ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ P 1.4 โครงงานวิทยาศาสตร์ P ระดบั (IS)ทางสตปิ ัญญา R : ฟ้ื นคนื ความรู้ A : ประยกุ ตค์ วามรู้ T : ส่งถ่ายความรู้
สาขาวชิ า : วทิ ยาศาสตร์ ชื่อวิชา : วิทยาศาสตร์เพื่อพฒั นาทักษะชีวิต รหัสวิชา : 2000-1301 หวั ข้อ : กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ หวั ข้อหลกั หวั ข้อย่อย กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 1. วิธีการทางวิทยาศาสตร์ 2. จิตวทิ ยาศาสตร์ 3. ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 4. โครงงานวทิ ยาศาสตร์
สาขาวชิ า : วิทยาศาสตร์ ช่ือวิชา : วิทยาศาสตร์เพื่อพฒั นาทกั ษะชีวติ รหสั วิชา : 2000-1301 หวั ขอ้ : กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ หลงั จากจบบทเรียนน้ีแลว้ นกั ศึกษาสามารถที่จะ…. 1. ระบขุ ้นั ตอนของวิธีการทางวิทยาศาสตร์ 2. ระบขุ อ้ มูลที่เป็นผลมาจากการสงั เกต 3. เลือกเครื่องมือวดั ไดเ้ หมาะสมกบั ปริมาณที่ตอ้ งการวดั 4. หาคา่ เฉลี่ยจากขอ้ มูลท่ีกาํ หนดให้ 5. กาํ หนดเกณฑใ์ นการแยกประเภทส่ิงของ 6. ลงความเห็นจากขอ้ มลู ที่กาํ หนดให้ 7. พยากรณ์ผลท่ีเกิดจากขอ้ มลู ที่กาํ หนดให้ 8. ต้งั สมมติฐานจากสถานการณ์ปัญหาท่ีกาํ หนดให้ 9. กาํ หนดนิยามเชิงปฏิบตั ิการ 10. ระบตุ วั แปรตน้ ตวั แปรตาม และตวั แปรท่ีตอ้ งควบคุม 11.วิเคราะห์ขอ้ มูล แปลความหมายขอ้ มูล และลงขอ้ สรุป 12. อธิบายความหมายของโครงงานวิทยาศาสตร์ 13. บอกจุดมุ่งหมายของการทาํ โครงงานวทิ ยาศาสตร์ 14. ระบปุ ระเภทของโครงงานวิทยาศาสตร์จากขอ้ มูล ที่กาํ หนดให้ 15. อธิบายข้นั ตอนในการทาํ โครงงานวทิ ยาศาสตร์ 16. จดั ทาํ โครงงานวิทยาศาสตร์และแสดงผลงานท่ีศึกษา
ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ 13 ทกั ษะ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ (science process skill) หมายถึง ความสามารถ และความชาํ นาญในการคิด เพอื่ คน้ หาความรู้ และการแกไ้ ขปัญหา โดยใชก้ ระบวนการทางวิทยาศาสตร์ อาทิ การสังเกต การวดั การคาํ นวณ การจาํ แนก การหาความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งสเปสกบั เวลา การจดั กระทาํ และสื่อความหมายขอ้ มูล การลงความ คดิ เห็น การพยากรณ์ การต้งั สมมติฐาน การกาํ หนดนิยาม การกาํ หนดตวั แปร การทดลอง การวิเคราะห์ และแปร ผลขอ้ มูล การสรุปผลขอ้ มูลไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว ถกู ตอ้ ง และแม่นยาํ ความสําคัญของทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์เป็นทกั ษะสาํ คญั ที่แสดงถึงการมีกระบวนการคิด อยา่ งมีเหตุ มีผลตาม กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ ทาํ ใหผ้ เู้ รียน และผปู้ ฏิบตั ิเกิดความเขา้ ใจในเน้ือหาทางวทิ ยาศาสตร์ สามารถ เรียนรู้ และพฒั นาตนเองไปสู่กระบวนการคิดท่ีซบั ซอ้ นมากข้นึ ประเภททักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ เป็นทกั ษะแสวงหาความรู้ และแนวทางสาํ หรับการแกไ้ ขปัญหา เป็น แนวทางท่ีพฒั นาข้นึ ตามหลกั สูตร science a process approach (SAPA) ของสมาคมอเมริกนั เพ่ือความกา้ วหนา้ ทางวทิ ยาศาสตร์ (The American association for the advancement of science) ประกอบดว้ ยทกั ษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ 13 ทกั ษะ แบ่งเป็น 2 ระดบั คอื 1. ระดบั ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ข้นั พ้ืนฐาน 8 ทกั ษะ 2. ระดบั ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ข้นั บูรณาการ 5 ทกั ษะ 1. ระดบั ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ข้ันพื้นฐาน 8 ทักษะ เป็นทกั ษะเพ่อื การแสวงหาความรู้ทว่ั ไป ประกอบดว้ ย ทกั ษะที่ 1 การสังเกต (Observing) หมายถึง การใชป้ ระสาทสมั ผสั ของร่างกายอยา่ งใดอยา่ งหน่ึงหรือหลายอยา่ ง ไดแ้ ก่ หู ตา จมูก ลิ้น กายสมั ผสั เขา้ สมั ผสั กบั วตั ถหุ รือเหตุการณ์เพื่อใหท้ ราบ และรับรู้ขอ้ มลู รายละเอียดของสิ่ง เหลา่ น้นั โดยปราศจากความคดิ เห็นส่วนตน ขอ้ มลู เหลา่ น้ีจะประกอบดว้ ย ขอ้ มูลเชิงคุณภาพ เชิงปริมาณ และ รายละเอียดการเปล่ียนแปลงที่เกิดข้นึ จากการสังเกต ความสามารถที่แสดงการเกิดทกั ษะ – สามารถแสดงหรือบรรยายคณุ ลกั ษณะของวตั ถุได้ จากการใชป้ ระสาทสมั ผสั อยา่ งใดอยา่ งหน่ึงหรือหลายอยา่ ง – สามารถบรรยายคุณสมบตั ิเชิงประมาณ และคุณภาพของวตั ถุได้ – สามารถบรรยายพฤติการณ์การเปลี่ยนแปลงของวตั ถุได้
ทกั ษะท่ี 2 การวดั (Measuring) หมายถึง การใชเ้ ครื่องมือสาํ หรับการวดั ขอ้ มูลในเชิงปริมาณของส่ิงตา่ งๆ เพอื่ ให้ ไดข้ อ้ มูลเป็นตวั เลขในหน่วยการวดั ที่ถกู ตอ้ ง แม่นยาํ ได้ ท้งั น้ี การใชเ้ คร่ืองมือจาํ เป็นตอ้ งเลือกใชใ้ หเ้ หมาะสม กบั สิ่งท่ีตอ้ งการวดั รวมถึงเขา้ ใจวิธีการวดั และแสดงข้นั ตอนการวดั ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง ความสามารถท่ีแสดงการเกิดทกั ษะ – สามารถเลือกใชเ้ ครื่องมือไดเ้ หมาะสมกบั ส่ิงที่วดั ได้ – สามารถบอกเหตุผลในการเลือกเคร่ืองมือวดั ได้ – สามารถบอกวิธีการ ข้นั ตอน และวธิ ีใชเ้ ครื่องมือไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง – สามารถทาํ การวดั รวมถึงระบุหน่วยของตวั เลขไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง ทักษะ ที่ 3 การคํานวณ (Using numbers) หมายถึง การนบั จาํ นวนของวตั ถุ และการนาํ ตวั เลขที่ไดจ้ ากนบั และ ตวั เลขจากการวดั มาคาํ นวณดว้ ยสูตรคณิตศาสตร์ เช่น การบวก การลบ การคูณ การหาร เป็นตน้ โดยการเกิด ทกั ษะการคาํ นวณจะแสดงออกจากการนบั ที่ถกู ตอ้ ง ส่วนการคาํ นวณจะแสดงออกจากการเลือกสูตรคณิตศาสตร์ การแสดงวธิ ีคาํ นวณ และการคาํ นวณท่ีถกู ตอ้ ง แมน่ ยาํ ความสามารถท่ีแสดงการเกิดทกั ษะ – สามารถนบั จาํ นวนของวตั ถุไดถ้ ูกตอ้ ง – สามารถบอกวธิ ีคาํ นวณ แสดงวธิ ีคาํ นวณ และคิดคาํ นวณไดถ้ ูกตอ้ ง ทกั ษะที่ 4 การจําแนกประเภท (Classifying) หมายถึง การเรียงลาํ ดบั และการแบ่งกลมุ่ วตั ถุหรือรายละเอียด ขอ้ มลู ดว้ ยเกณฑค์ วามแตกตา่ งหรือความสัมพนั ธใ์ ดๆอยา่ งใดอยา่ งหน่ึง ความสามารถท่ีแสดงการเกิดทกั ษะ – สามารถเรียงลาํ ดบั และแบ่งกล่มุ ของวตั ถุ โดยใชเ้ กณฑใ์ ดไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง – สามารถอธิบายเกณฑใ์ นเรียงลาํ ดบั หรือแบง่ กลมุ่ ได้ ทักษะที่ 5 การหาความสัมพนั ธ์ระหว่างสเปสกบั สเปส และสเปสกบั เวลา (Using space/Time relationships) สเปสของวตั ถุ หมายถึง ท่ีวา่ งท่ีวตั ถนุ ้นั ครองอยู่ ซ่ึงอาจมีรูปร่างเหมือนกนั หรือแตกต่างกบั วตั ถุน้นั โดยทว่ั ไป แบ่งเป็น 3 มิติ คือ ความกวา้ ง ความยาว และความสูง ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งสเปสกบั สเปสของวตั ถุ ไดแ้ ก่ ความสัมพนั ธ์ระหวา่ ง 3 มิติ กบั 2 มิติ ความสมั พนั ธร์ ะหว่างตาํ แหน่งที่อยขู่ องวตั ถหุ น่ึงกบั วตั ถหุ น่ึง ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งสเปสของวตั ถุกบั เวลา ไดแ้ ก่ ความสัมพนั ธข์ องการเปล่ียนแปลงตาํ แหน่งของวตั ถุกบั ช่วงเวลา หรือความสมั พนั ธ์ของสเปสของวตั ถุท่ีเปล่ียนไปกบั ช่วงเวลา
ความสามารถท่ีแสดงการเกิดทกั ษะ – สามารถอธิบายลกั ษณะของวตั ถุ 2 มิติ และวตั ถุ 3 มิติ ได้ – สามารถวาดรูป 2 มิติ จากวตั ถุหรือรูป 3 มิติ ที่กาํ หนดใหไ้ ด้ – สามารถอธิบายรูปทรงทางเราขาคณิตของวตั ถุได้ – สามารถอธิบายความสมั พนั ธ์ระหวา่ งวตั ถุ 2 มิติ กบั 3 มิติได้ เช่น ตาํ แหน่งหรือทิศของวตั ถุ และตาํ แหน่งหรือ ทิศของวตั ถตุ ่ออีกวตั ถุ – สามารถบอกความสัมพนั ธข์ องการเปลี่ยนแปลงตาํ แหน่งของวตั ถกุ บั เวลาได้ – สามารถบอกความสมั พนั ธ์ของการเปล่ียนแปลงขนาด ปริมาณของวตั ถกุ บั เวลาได้ ทักษะที่ 6 การจดั กระทาํ และสื่อความหมายขอ้ มูล (Communication) หมายถึง การนาํ ขอ้ มลู ท่ีไดจ้ ากการสังเกต และการวดั มาจดั กระทาํ ใหม้ ีความหมาย โดยการหาความถี่ การเรียงลาํ ดบั การจดั กล่มุ การคาํ นวณคา่ เพอื่ ให้ ผอู้ ื่นเขา้ ใจความหมายไดด้ ีข้ึน ผา่ นการเสนอในรูปแบบของตาราง แผนภูมิ วงจร เขยี นหรือบรรยาย เป็นตน้ ความสามารถท่ีแสดงการเกิดทกั ษะ – สามารถเลือกรูปแบบ และอธิบายการเลือกรูปแบบในการเสนอขอ้ มลู ท่ีเหมาะสมได้ – สามารถออกแบบ และประยกุ ตก์ ารเสนอขอ้ มูลใหอ้ ยใู่ นรูปใหม่ท่ีเขา้ ใจไดง้ ่าย – สามารถเปลี่ยนแปลง ปรับปรุงขอ้ มลู ให้อยใู่ นรูปแบบท่ีเขา้ ใจไดง้ ่าย – สามารถบรรยายลกั ษณะของวตั ถุดว้ ยขอ้ ความที่เหมาะสม กะทดั รัด และสื่อความหมายใหผ้ อู้ ่ืนเขา้ ใจไดง้ า่ ย ทักษะท่ี 7 การลงความเห็นจากขอ้ มลู (Inferring) หมายถึง การเพม่ิ ความคดิ เห็นของตนต่อขอ้ มลู ที่ไดจ้ ากการ สงั เกตอยา่ งมีเหตผุ ลจากพ้นื ฐานความรู้หรือประสบการณ์ที่มี ความสามารถที่แสดงการเกิดทกั ษะ คือ สามารถอธิบายหรือสรุปจากประเดน็ ของการเพ่ิมความคดิ เห็นของตน ต่อขอ้ มลู ที่ไดม้ า ทักษะท่ี 8 การพยากรณ์ (Predicting) หมายถึง การทาํ นายหรือการคาดคะเนคาํ ตอบ โดยอาศยั ขอ้ มูลที่ไดจ้ ากการ สังเกตหรือการทาํ ซ้าํ ผา่ นกระบวนการแปรความหายของขอ้ มลู จากสมั พนั ธภ์ ายใตค้ วามรู้ทางวทิ ยาศาสตร์ ความสามารถที่แสดงการเกิดทกั ษะ คือ สามารถทาํ นายผลที่อาจจะเกิดข้นึ จากขอ้ มูลบนพ้นื ฐานหลกั การ กฎ หรือทฤษฎีที่มีอยู่ ท้งั ภายในขอบเขตของขอ้ มลู และภายนอกขอบเขตของขอ้ มูลในเชิงปริมาณได้ 2. ระดับทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ข้ันบูรณาการ 5 ทักษะ เป็นทกั ษะกระบวนการข้นั สูงที่มีความ ซบั ซอ้ นมากข้ึน เพอ่ื แสวงหาความรู้ โดยใชท้ กั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ข้นั พ้ืนฐาน เป็นพ้ืนฐานในการ พฒั นา ประกอบดว้ ย
ทกั ษะท่ี 9 การต้งั สมมติฐาน (Formulating hypotheses) หมายถึง การต้งั คาํ ถามหรือคดิ คาํ ตอบล่วงหนา้ ก่อนการ ทดลองเพอื่ อธิบายหาความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งตวั แปรต่าง ๆ วา่ มีความสัมพนั ธอ์ ยา่ งไรโดยสมมติฐานสร้างข้นึ จะ อาศยั การสงั เกต ความรู้ และประสบการณ์ภายใตห้ ลกั การ กฎ หรือทฤษฎีท่ีสามารถอธิบายคาํ ตอบได้ ความสามารถท่ีแสดงการเกิดทกั ษะ – สามารถต้งั คาํ ถามหรือคิดหาคาํ ตอบลว่ งหนา้ ก่อนการทดลองได้ – สามารถต้งั คาํ ถามหรือคดิ หาคาํ ตอบล่วงหนา้ จากความสัมพนั ธ์ระหวา่ งตวั แปรต่างๆได้ ทักษะท่ี 10 การกาํ หนดนิยามเชิงปฏิบตั ิการ (Defining operationally) หมายถึง การกาํ หนด และอธิบาย ความหมาย และขอบเขตของคาํ ตา่ ง ๆ ที่เกี่ยวขอ้ งกบั การศึกษาหรือการทดลองเพื่อใหเ้ กิดความเขา้ ใจตรงกนั ระหวา่ งบคุ คล ความสามารถที่แสดงการเกิดทกั ษะ คอื สามารถอธิบายความหมาย และขอบเขตของคาํ หรือตวั แปรตา่ ง ๆท่ี เกี่ยวขอ้ งกบั การศึกษา และการทดลองได้ ทักษะท่ี 11 การกาํ หนด และควบคุมตวั แปร (Identifying and controlling variables) หมายถึง การบ่งช้ี และ กาํ หนดลกั ษณะตวั แปรใดๆใหเ้ ป็นเป็นตวั แปรอิสระหรือตวั แปรตน้ และตวั แปรใดๆใหเ้ ป็นตวั แปรตาม และตวั แปรใดๆใหเ้ ป็นตวั แปรควบคุม ตวั แปรตน้ คือ ส่ิงที่เป็นสาเหตุที่ทาํ ใหเ้ กิดผลหรือส่ิงที่ตอ้ งการทดลองเพ่ือใหท้ ราบวา่ เป็นสาเหตุของผลที่เกิดข้ึน หรือไม่ ตวั แปรตาม คือ ผลที่เกิดจากการกระทาํ ของตวั แปรตน้ ในการทดลอง ตวั แปรควบคมุ คือ ปัจจยั อื่น ๆ นอกเหนือจากตวั แปรตน้ ที่อาจมีผลมีต่อการทดลองที่ตอ้ งควบคมุ ใหเ้ หมือนกนั หรือคงท่ีขณะการทดลอง ความสามารถท่ีแสดงการเกิดทกั ษะ คอื สามารถกาํ หนด และอธิบายตวั แปรตน้ ตวั แปรตาม และตวั แปรควบคมุ ในการทดลองได้ ทักษะท่ี 12 การทดลอง (Experimenting) หมายถึง กระบวนการปฏิบตั ิ และทาํ ซ้าํ ในข้นั ตอนเพ่อื หาคาํ ตอบจาก สมมติฐาน แบง่ เป็น 3 ข้นั ตอน คือ 1. การออกแบบการทดลอง หมายถึง การวางแผนการทดลองก่อนการทดลองจริงๆ เพื่อกาํ หนดวิธีการ และ ข้นั ตอนการทดลองท่ีสามารถดาํ เนินการไดจ้ ริง รวมถึงวิธีการแกไ้ ขปัญหาอุปสรรคท่ีอาจเกิดข้นึ ขณะทาํ การ ทดลองเพือ่ ใหก้ ารทดลองสามารถดาํ เนินการใหส้ าํ เร็จลลุ ่วงดว้ ยดี
2. การปฏิบตั ิการทดลอง หมายถึง การปฏิบตั ิการทดลองจริง 3. การบนั ทึกผลการทดลอง หมายถึง การจดบนั ทึกขอ้ มูลท่ีไดจ้ ากการทดลองซ่ึงอาจเป็นผลจากการสงั เกต การ วดั และอ่ืน ๆ ความสามารถท่ีแสดงการเกิดทกั ษะ – สามารถออกแบบการทดลอง และกาํ หนดวธิ ี ข้นั ตอนการทดลองไดถ้ กู ตอ้ ง และเหมาะสมได้ – สามารถระบุ และเลือกใชอ้ ุปกรณ์ในการทดลองอยา่ งเหมาะสม – สามารถปฏิบตั ิการทดลองตามข้นั ตอนไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง – สามารถบนั ทึกผลการทดลองไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง ทักษะท่ี 13 การตีความหมายขอ้ มูล และการลงขอ้ มลู (Interpreting data and conclusion) หมายถึง การแปร ความหมายหรือการบรรยายลกั ษณะและสมบตั ิของขอ้ มลู ท่ีมีอยู่ การตีความหมายขอ้ มูลในบางคร้ังอาจตอ้ งใช้ ทกั ษะอ่ืน ๆ เช่น ทกั ษะการสังเกต ทกั ษะการคาํ นวณ การลงขอ้ มลู หมายถึง การวเิ คราะห์ และการสรุปผลความสมั พนั ธข์ องขอ้ มลู สรุปประเด็นสาํ คญั ของขอ้ มลู ที่ได้ จากการทดลองหรือศึกษา ความสามารถที่แสดงการเกิดทกั ษะ คอื – สามารถในการวิเคราะห์ และสรุปประเดน็ สาํ คญั รวมถึงการแปลความหมายหรือบรรยายลกั ษณะของขอ้ มูล – สามารถบอกความสมั พนั ธข์ องขอ้ มูลได้
สาขาวิชา : วิทยาศาสตร์ ช่ือวชิ า : วิทยาศาสตร์เพ่ือพฒั นาทักษะชีวิต รหัสวชิ า : 2000-1301 หัวข้อ : กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ แบบทดสอบ ตอนที่ 1 จงเลือคาํ ตอบที่ถกู ท่ีถกู ที่สุดเพยี งคาํ ตอบเดียว 1. ขอ้ ใดไม่ใช่ข้นั ตอนของวิธีการทางวิทยาศาสตร์ ก. การพยากรณ์ ข. การระบุปัญหา ค. การสรุปผลการทดลอง ง. การทดลอง 2. ขอ้ ใดเป็นขอ้ มูลจากการสงั เกตแท่งลิปสติก ก. ลิปสติกสีสวย ราคาแพง ข. ลิปสติกเป็นแทง่ ยาวประมาณ 5 cm ค. ลิปสติกน้ีทาํ ในเมืองไทย ง. ลิปสติกน้ีควรเกบ็ ไวใ้ นท่ีเยน็ จะไดไ้ มเ่ ละ 3. เครื่องมือชุดใดเหมาะสาํ หรับการวดั ความยาวรอบของใบไม้ ก. ไมบ้ รรทดั ลวด เทปใส ข. เชือก ไมบ้ รรทดั เทปใส ค. ไมบ้ รรทดั ดินสอ กรรไกร ง. ไมบ้ รรทดั ดินสอ แผน่ กระดาษ 4. การสอบวดั ผลวชิ าวิทยาศาสตร์พ้นื ฐานของนกั เรียน 10 คน มีนกั เรียนทาํ ขอ้ สอบไดด้ งั น้ี คะแนนท่ีได้ จาํ นวนนกั เรียน(คน) 12 2 14 4 16 3 18 1 คะแนนเฉล่ียของการสอบวิชาทยาศาสตร์พ้นื ฐาน มีค่าเทา่ ไร ก. 13.8 ข. 14.6 ค. 15.2 ง. 15.8
5. จากภาพกระดุมท่ีกาํ หนดใหด้ งั รูป 1 2 3 45 6 789 ถา้ แบง่ กระดุมออกเป็น 2 พวก คอื พวกที่ 1 มีกระดุมหมายเลข 1, 3, 4, 8 พวกท่ี 2 มีกระดุมหมายเลข 2, 5, 6, 7, 9 การแบ่งดงั กล่าวใชอ้ ะไรเป็นเกณฑ์ ก. จาํ นวนรูของกระดุม ข. ขนาดของกระดุม ค. รูปร่างของกระดุม ง. หมายเลขของกระดุม 6. ตดั กระดาษแขง็ พบั เป็นรูปลูกเต๋าดงั รูป เม่ือพบั แลว้ จะไดล้ ูกเต๋าเหมือนขอ้ ใด ข. ก. ค. ง. 7. เมื่อจุดเทียนไขในครอบแกว้ ท่ีมีฝาปิ ดดงั รูป ขอ้ ใดเป็นการลงความเห็นจากขอ้ มลู ฝาปิด ก. มีแก๊สออกซิเจนอยภู่ ายในแกว้ ข. มีน้าํ ตาเทียนติดท่ีตวั เทียนไข แก้ว ค. มีหยดน้าํ เลก็ ๆ ติดท่ีฝาปิ ด เทยี นไข ง. เทียนไขส้ันลงเรื่อย ๆ
8. จากกราฟแสดงความสัมพนั ธ์ระหวา่ งความสูงของบานชื่นกบั ระยะเวลาที่ทาํ การปลูก ในสปั ดาห์ท่ี 12 ตน้ บานชื่นจะมีความสูงเท่าไร ข. 29.5 cm ง. 33.5 cm ก. 28.5 cm ค. 32.5 cm 9. ในการทดลองเพาะเห็ดฟาง 2 แปลง ในพ้ืนที่เดียวกนั เวลาเดียวกนั อาหารเสริมและปริมาณน้าํ ท่ีใช้เหมือนกนั และใชเ้ วลาในการเพาะเท่ากนั ดงั น้ี แปลงที่ 1 วสั ดุที่ใชเ้ พาะเห็ดฟาง ไดแ้ ก่ ฟางขา้ ว แปลงที่ 2 วสั ดุท่ีใชเ้ พาะเห็ดฟาง ไดแ้ ก่ ตน้ ถวั่ ผสมเปลือกฝักถวั่ การทดลองน้ีมีสมมติฐานวา่ อยา่ งไร ก. แสงมีผลต่อการเจริญเติบโตของเห็ดฟาง ข. อาหารเสริมมีผลต่อการเจริญเติบโตของเห็ดฟาง ค. ความช้ืนมีผลตอ่ การเจริญเติบโตของเห็ดฟาง ง. วสั ดุท่ีใชเ้ พาะเห็ดตา่ งกนั การเจริญเติบโตของเห็ดฟางจะต่างกนั 10. การทดสอบสมมติฐานที่วา่ “เลนส์ช่วยใหม้ องเห็นวตั ถุไดอ้ ยา่ งชดั เจน” ขอ้ ใดเป็นการกาํ หนดนิยาม เ ชิ ง ปฏิบตั ิการของคาํ วา่ การมองเหน็ อย่างชัดเจน ไดถ้ กู ตอ้ งที่สุด ก. การมองเห็นวตั ถุในระยะที่กาํ หนด ข. การมองเห็นวตั ถใุ นระยะที่กาํ หนดและสามารถบรรยายรายละเอียดไดถ้ ูกตอ้ ง ค. การมองเห็นสิ่งต่าง ๆ ที่อยรู่ อบตวั ไดอ้ ยา่ งชดั เจนในเวลาอนั ส้นั ง. การมองเห็นสิ่งที่กาํ หนดแลว้ บอกไดว้ า่ ส่ิงน้นั คอื อะไร 11. นกั เรียนต้งั สมมติฐานวา่ “ถา้ อตั ราการทาํ งานของเอนไซมข์ ้นึ อยกู่ บั อุณหภมู ิ ดงั น้นั ถา้ อุณหภูมิตา่ งกนั ก า ร ทาํ งานของเอนไซมจ์ ะแตกต่างกนั ” ตวั แปรตน้ ในสมมติฐานดงั กล่าวคือขอ้ ใด ก. ความแตกตา่ งของอณุ หภมู ิ ข. ความเขม้ ขน้ ของเอนไซม์ ค. การทาํ งานของเอนไซม์ ง. ชนิดของเอนไซม์
12. จากการทดลองเมื่อเอาสาร A ที่บดกบั ไมบ่ ด ไปละลายน้าํ ผลการทดลองปรากฏดงั ตารางต่อไปน้ี สาร ปริมาณสาร (g) ปริมาตรนา้ํ (cm3) อุณหภมู ขิ องน้าํ ปริมาณสารทลี่ ะลาย (g) 2 40 (°C) 2.5 A 2 40 35 4.5 (ไมบ่ ด) 35 A (ละเอียด) นกั เรียนจะตีความหมายขอ้ มูลและลงขอ้ สรุปอยา่ งไร ก. ปริมาณของสาร A ที่ละลายในน้าํ จะมากหรือนอ้ ยไมข่ ้นึ กบั อณุ หภมู ิของน้าํ ข. สาร A ท่ีบดละเอียดจะละลายน้าํ ไดม้ ากกวา่ สาร A ที่ไม่ไดบ้ ด ค. น้าํ ที่มีอุณหภูมิสูงกวา่ จะละลายสาร A ท่ีบดละเอียดไดม้ ากกวา่ ง. น้าํ ที่มีอณุ หภูมิสูงกวา่ จะละลายสาร A ที่ไมบ่ ดไดม้ ากกวา่ 13. ขอ้ ใดหมายถึงโครงงานวทิ ยาศาสตร์ ก. กิจกรรมท่ีนกั ศึกษาคน้ ควา้ ดว้ ยตนเองอยา่ งเป็นระบบโดยใชว้ ธิ ีการทางวทิ ยาศาสตร์ ข. กิจกรรมที่นกั ศึกษารวมกลุ่มกนั ผลิตสินคา้ เก่ียวกบั วิทยาศาสตร์เพอื่ จาํ หน่าย ค. กิจกรรมท่ีครูมอบหมายใหน้ กั ศึกษาไปคน้ ควา้ ดว้ ยตนเอง ง. เอกสารรายงานเกี่ยวกบั การทดลองทางวทิ ยาศาสตร์ท่ีนกั เรียนทาํ ส่งครู 14. ขอ้ ใดไม่ใช่จุดมุง่ หมายของการทาํ โครงงานวิทยาศาสตร์ ก. เพอื่ ใหน้ กั เรียนใชค้ วามรู้และประสบการณ์เลือกทาํ โครงงานตามความสนใจ ข. เพ่อื ใหน้ กั เรียนไดศ้ ึกษาคน้ ควา้ หาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ ดว้ ยตนเอง ค. เพ่ือใหน้ กั เรียนไดแ้ สดงออกซ่ึงความคดิ ริเริ่มสร้างสรรคแ์ ละมีจิตวทิ ยาศาสตร์ ง. เพอื่ ใหน้ กั เรียนมีความมนั่ ใจในตวั เอง 15. ขอ้ ใดไม่ใช่โครงงานวทิ ยาศาสตร์ประเภทส่ิงประดิษฐ์ ก. เครื่องใหอ้ าหารสุนขั ข. ตูไ้ ปรษณียเ์ สียงเพลง ค. เคร่ืองวดั ความหวานของสับปะรด ง. กระเบ้ืองโมเสกจากเปลือกไข่ 16. ในการทาํ โครงงานวทิ ยาศาสตร์ ข้นั ตอนแรกคือข้นั ตอนใด ก. การคดิ และเลือกหวั ขอ้ โครงงาน ข. การศึกษาเอกสารท่ีเก่ียวขอ้ งกบั เร่ืองท่ีทาํ โครงงาน ค. การเขยี นเคา้ โครงยอ่ ในการทาํ โครงงาน ง. การเตรียมวสั ดุอปุ กรณ์
17. ถา้ นกั เรียนตอ้ งการศึกษาวา่ อาหารปลาสวยงาม 2 สูตร สามารถเร่งความเขม้ ของสีตวั ปลาไดห้ รือไม่ นกั เรียนจะ ออกแบบการทดลองอยา่ งไร ก. นาํ ปลาชนิดเดียวกนั ขนาดอายุเท่ากนั เพศเดียวกนั มาแบ่งเป็น 2 กลุ่ม กลุม่ ท่ี1 ใหก้ ินอาหารสูตร 1 ส่วนอีกกลุ่ม หน่ึงใหก้ ินอาหารสูตร 2 จดั สภาพแวดลอ้ มอื่น ๆ ใหเ้ หมือน กนั ข. นาํ ปลาชนิดเดียวกนั มาแบง่ เป็น 2 กลมุ่ กลมุ่ ท่ี1 ใหก้ ินอาหารสูตร 1 ส่วนอีกกล่มุ หน่ึงใหก้ ินอาหาร สูตร 2 แตจ่ ดั สภาพแวดลอ้ มอื่นๆใหต้ ่างกนั ค. นาํ ปลาตา่ งชนิดกนั มา 2 กลุ่ม กลุม่ ท่ี 1 ใหก้ ินอาหารสูตร 1 กลุ่มท่ี 2 ใหก้ ินอาหารสูตร 2 จดั สภาพแวดลอ้ มอื่น ๆ ใหเ้ หมือนกนั ง. นาํ ปลาต่างชนิดกนั มา 2 กลุ่ม กลุ่มที่ 1 ให้กินอาหารสูตรที่ 1 กลุ่มที่ 2 ให้กินอาหารสูตร 2 จดั สภาพแวดลอ้ มอื่น ๆ ใหเ้ หมือนกนั 18. ถา้ ตอ้ งการศึกษาผลของโปรตีนตอ่ การออกไข่ของนกกระทา จะตอ้ งทาํ การทดลองตามขอ้ ใด ก. เล้ียงนกกระทา 2 กลุ่ม ดว้ ยอาหารท่ีมีเปอร์เซ็นตข์ องโปรตีนเหมือนกนั ข. เล้ียงนกกระทา 3 กล่มุ ดว้ ยอาหารท่ีมีเปอร์เซ็นตข์ องโปรตีนเหมือนกนั ค. เล้ียงนกกระทา 1 กลมุ่ ดว้ ยอาหารท่ีมีเปอร์เซ็นตข์ องโปรตีนต่างกนั ง. เล้ียงนกกระทา 2 กลุ่ม ดว้ ยอาหารท่ีมีเปอร์เซ็นตข์ องโปรตีนต่างกนั 19. การทาํ โครงงานวิทยาศาสตร์ ขอ้ ใดท่ีทาํ ใหผ้ ทู้ าํ โครงงานมองเห็นแนวทางในการทาํ โครงงาน ต้ ังแต่ เริ่ ม ต้น จนเสร็จสิ้นโครงงาน ก. บทนาํ ข. เอกสารที่เก่ียวขอ้ ง ค. เคา้ โครงยอ่ โครงงาน ง. ผลการทดลอง 20. ในการนาํ เสนอแผงแสดงโครงงานวิทยาศาสตร์ ขอ้ ใดไมจ่ าํ เป็นตอ้ งนาํ เสนอ ก. บทคดั ยอ่ ข. เอกสารท่ีเกี่ยวขอ้ ง ค. จุดมุ่งหมาย ง. วธิ ีดาํ เนินการทดลอง
สาขาวิชา : วทิ ยาศาสตร์ ใบเฉลยใบทดสอบ หน้าท่ี ช่ือวชิ า : วิทยาศาสตร์เพ่ือพฒั นาทกั ษะชีวิต รหัสวิชา : 2000-1301 แผ่นท่ี : หัวข้อ : กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ตอนที่ 1 เฉลยใบทดสอบ 1. ก 2. ข 3. ข 4. ข 5. ค 6. ง 7. ก 8. ก 9. ง 10. ข 11. ก 12. ข 13. ก 14. ง 15. ง 16. ก 17. ก 18. ง 19. ค 20. ข
Search
Read the Text Version
- 1 - 22
Pages: