Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore อบรม PA_สพม.กท1_ผอ.นฤภพ_ศึกษานารีวิทยา.ppt

อบรม PA_สพม.กท1_ผอ.นฤภพ_ศึกษานารีวิทยา.ppt

Published by sothorn7920, 2021-08-01 11:07:50

Description: อบรม PA_สพม.กท1_ผอ.นฤภพ_ศึกษานารีวิทยา.ppt

Keywords: เกณฑ์บันทึก PA

Search

Read the Text Version

\"โครงการพฒั นาขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา ตามหลกั เกณฑแ์ ละวธิ ีการประเมินตาแหน่งการเลื่อนวทิ ยฐานะ ขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษาตามขอ้ ตกลงในการพฒั นางาน (Performance Agreement : PA)\" สานักงานเขตพ้ นื ที่การศึกษามธั ยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1

กลวธิ ีการเขียนขอ้ ตกลงในการพัฒนางาน (Performance Agreement: PA)

คาช้แี จงการจดั ทาขอ้ ตกลงในการพฒั นางาน (PA) : ตาแหนง่ ครู “ข้อตกลงในการพัฒนางาน” (Performance Agreement : PA) หมายความวา่ ข้อตกลงท่ีข้าราชการครูได้เสนอต่อผู้อานวยการสถานศึกษา เพ่ือแสดงเจตจานงว่า ภายในรอบการประเมินจะพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ คุณลักษณะประจาวิชา คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และสมรรถนะที่สาคัญตาม หลักสูตรให้สูงขึ้น โดยสะท้อนให้เห็นถึงระดับการปฏิบัติท่ีคาดหวังของตาแหน่งและ วทิ ยฐานะท่ีดารงอยู่ และสอดคล้องกับเป้าหมายและบริบทของสถานศึกษา นโยบายของ ส่วนราชการและกระทรวงศึกษาธิการ โดยผู้อานวยการสถานศึกษาได้เห็นชอบให้เป็น ขอ้ ตกลงในการพฒั นางาน

การทาข้อตกลงในการพัฒนางาน

การทาขอ้ ตกลงในการพัฒนางาน 1. ใหข้ ้าราชการครทู ุกคนจดั ทาขอ้ ตกลง ในการพัฒนางาน (PA) ตามแบบที่กคศ.กาหนด เสนอต่อ ผอ. ทุกปงี บประมาณ 2. ครยู า้ ยระหวา่ งปีใหท้ า PA กับ ผอ.ทโี่ รงเรียนใหม่

การนาผลการประเมินการพฒั นางานตามขอ้ ตกลง (PA) ไปใช้ 1. ใชใ้ นการ 2.ใชใ้ นการประเมิน 3. ใชเ้ ป็นคุณสมบตั หิ นง่ึ พิจารณา คงวิทยฐานะ (ม.55) ในการขอมี เลื่อนเงินเดือน หรอื เลอ่ื นวิทยฐานะ

ภาพรวมของการทาขอ้ ตกลงในการพัฒนางาน

ขอ้ ตกลงในการพฒั นางาน (Performance Agreement) มี 2 ส่วน คอื 1. ขอ้ ตกลงในการพัฒนางานตาม มาตรฐานตาแหนง่ และมาตรฐาน วทิ ยฐานะ 2. ข้อตกลงในการพฒั นางานทเ่ี สนอเปน็ ประเด็นทา้ ทาย

ขอ้ ตกลงในการพฒั นางาน (Performance Agreement) • สว่ นที่ 1 ข้อตกลงในการพฒั นางานตามมาตรฐาน ตาแหนง่ และมาตรฐานวิทยฐานะ ประกอบด้วย 1. ชว่ั โมงปฏิบตั ิงาน 2. คณุ ภาพการปฏบิ ัตงิ านตามมาตรฐานตาแหนง่ และมาตรฐานวิทยฐานะ

ข้อตกลงในการพฒั นางาน (Performance Agreement) • สว่ นที่ 2 ขอ้ ตกลงในการพัฒนางานที่เสนอเป็นประเดน็ ท้าทาย - พฒั นาผลลพั ธ์การเรยี นรู้ของผ้เู รยี น - สอดคล้องเหมาะสมกบั วทิ ยฐานะ - สอดคล้องกบั เป้าหมายและบริบทสถานศกึ ษา และนโยบาย

สาระสาคญท่ีปรับในมาตรฐานวิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญพเิ ศษ - สรา้ งการเปลยี่ นแปลง (Create an Impact) ระดับการปฏิบตั ิงานทค่ี าดหวงั ตามวิทยฐานะ ครเู ช่ียวชาญ - คิดคน้ ปรับเปล่ยี น (Invent and Transform) ครชู านาญการพิเศษ - ริเรมิ่ พฒั นา (Originate and Improve) ครชู านาญการ - แก้ไขปัญหา (Solve the problem) ครู - ปรบั ประยกุ ต์ (Apply and Adapt) ครูผชู้ ว่ ย - ปฏิบตั ิและเรียนรู้ (Execute and Learn)

คาอธิบายระดบั คุณภาพ ปฏิบตั แิ ละเรียนรู้ สามารถปฏิบตั งิ านและเรียนรูจ้ ากการปฏบิ ตั ไิ ด้ตามมาตรฐานตาแหน่ง (Execute & Learn) และปฏบิ ตั ติ นตามจรรณยาบรรณวิชาชพี ปรับประยุกต์ สามารถปรับประยกุ ตก์ ารจดั การเรียนรู้และปฏบิ ตั ิงานจนปรากฏผลลัพธ์ (Apply & Adapt) กบั ผู้เรียนได้ตามมาตรฐานตาแหนง่ และปฏิบตั ติ นตามจรรณยาบรรณวิชาชีพ แกไ้ ขปัญหา สามารถจดั การแกไ้ ขปัญหาคณุ ภาพการเรียนรู้ของผู้เรยี น และปฏิบตั ิตนตามจรรณยา (Solve the problem) บรรณวชิ าชพี รเิ ร่ิม พัฒนา (Originate สามารถรเิ รม่ิ พัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรยี นจนปรากฏผลเชงิ ประจกั ษ์ และ & Improve ปฏบิ ตั ติ นตามจรรณยาบรรณวิชาชีพ คดิ ค้น ปรบั เปลีย่ น สามารถคิดค้น พฒั นานวตั กรรม และปรับเปลย่ี นการจดั การเรียนรู้ ใหค้ ณุ ภาพการ (Invent & Transform) เรยี นรู้สงู ขนึ้ และปฏบิ ัตติ นตามจรรณยาบรรณวิชาชพี เป็นแบบอยา่ งที่ดี และให้ คาปรึกษาผู้อ่ืน สร้างการเปล่ียนแปลง สามารถคิดคน้ พฒั นานวัตกรรม เผยแพร่ และขยายผลจนนาไปสู่การ (Create an Impact) เปลีย่ นแปลงในวงวชิ าชพี และปฏิบตั ิตนตามจรรณยาบรรณวชิ าชพี เปน็ แบบอย่างทด่ี ี ใหค้ าปรึกษาผู้อ่ืน และเปน็ ผนู้ า



คาช้แี จงการจดั ทาขอ้ ตกลงในการพฒั นางาน (PA) : ตาแหน่งผู้บรหิ ารสถานศึกษา “ขอ้ ตกลงในการพัฒนางาน” (Performance Agreement : PA) หมายความว่า ข้อตกลงท่ีผู้บริหารสถานศึกษาได้เสนอต่อผู้บังคับบัญชา เพื่อแสดงเจตจานงว่าภายใน รอบการประเมินจะพัฒนาคุณภาพผู้เรียน คุณภาพครู และยกระดับคุณภาพการศึกษา ของสถานศึกษา โดยสะท้อนให้เห็นถึงระดับการปฏิบัติที่คาดหวังของตาแหน่งและวิทย ฐานะที่ดารงอยู่ และสอดคล้องกับเป้าหมายและบริบทของสถานศึกษา นโยบายของส่วน ราชการและกระทรวงศึกษาธิการ โดยผู้บังคับบัญชาได้เห็นชอบให้เป็นข้อตกลงในการ พฒั นางาน

ภาระงานของขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา ตาแหนง่ ผูบ้ รหิ ารสถานศึกษา (ทุกสังกัด) ก.ค.ศ. มีมิตกาหนดภาระงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตาแหน่ง ผู้บริหารสถานศกึ ษา (ทกุ สังกดั ) ไวด้ ังต่อไปนี้ 1. มีภาระงานด้านการบริหารวิชาการและความเป็นผู้นาทางวิชาการ ด้านการบริหารจัดการ สถานศึกษา ด้านการบริหารการเปลี่ยนแปลงเชิงกลยุทธ์นวัตกรรม ด้านการบริหารงานชุมชนและ เครอื ขา่ ย และด้านการพฒั นาตนเองและวชิ าชีพ เต็มเวลา 2. ให้มีการปฏิบัติการสอนด้วย ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของภาระงานด้านการบริหารวิชาการและความ เป็นผู้นาทางวิชาการ โดยให้ผู้ดารงตาแหน่งผู้อานวยการสถานศึกษา ปฏิบัติการสอนไม่ต่ากว่า 5 ชัว่ โมง/สัปดาห์ และรองผู้อานวยการสถานศกึ ษา ปฏบิ ตั กิ ารสอนไมต่ า่ กวา่ 10 ชวั่ โมง/สปั ดาห์

ภาระงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตาแหน่งผบู้ ริหาร สถานศึกษา (ทุกสงั กัด) ทั้งน้ี การปฏิบัติการสอน ให้หมายถึง การปฏิบัติงานเก่ียวกับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ในสถานศกึ ษาอยา่ งใดอย่างหนึ่งหรอื หลายอยา่ ง ดังน้ี 1) ปฏิบัตกิ ารสอนประจาวชิ า 2) ปฏิบตั ิการสอนร่วมกบั ครปู ระจาช้นั /ประจาวิชา 3) สังเกตการสอนและสะท้อนผลการสอนรว่ มกับครใู นกิจกรรมเปดิ ชั้นเรียน (Open Class) 4) เปน็ ผูน้ ากิจกรรมแลกเปลีย่ นเรียนรู้ในชุมชนวชิ าชีพ (PLC) ของโรงเรียน 5) นเิ ทศการสอนเพื่อเปน็ พี่เลี้ยงการจัดกิจกรรมการเรียนร้ใู ห้กับครู 6) จัดกิจกรรมเสรมิ การเรยี นร้แู ละอบรมบ่มนสิ ยั ผู้เรียน



การประเมนิ ข้อตกลง • คณะกรรมการ ประกอบด้วย 3 คน ดงั นี้ ในการพัฒนา 1. ผู้อานวยการสถานศึกษา เป็นประธานกรรมการ 2. คณะกรรมการภายนอก เปน็ กรรมการ จานวน 2 ท่าน พจิ ารณาแต่งตง้ั จาก • ศกึ ษานิเทศก์ชานาญการพิเศษข้นึ ไป • หรือครูชานาญการพิเศษโรงเรียนอื่นหรอื ผทู้ รงคณุ วฒุ ภิ ายนอก • หรือผสู้ อนในระดับอุดมศกึ ษาระดับผชู้ ่วย ศาสตราจารยข์ ึน้ ไป

การประเมนิ ข้อตกลงในการพฒั นา • คณะกรรมการประเมนิ ตามหลกั เกณฑ์ท่ี กคศ. กาหนด • ผอู้ านวยการสถานศึกษาเป็นผรู้ บั ผดิ ชอบระบบ DPA โดยนาข้อมูล ผลการประเมิน แตล่ ะรอบของครูแตล่ ะคน เข้าระบบเปน็ ประจาทกุ รอบ • แต่ละรอบครตู อ้ งมีภาระงานตามท่ี กคศ. กาหนด และมผี ลการประเมินผ่านเกณฑไ์ ม่ตา่ กว่าร้อยละ 70



















หลักสำคัญในกำรบรหิ ำรสถำนศกึ ษำที่มีประสทิ ธภิ ำพ 8 ขอ้ ซ่ึงจะใชใ้ นกำรประเมนิ ทักษะกำรวำงแผนพฒั นำสถำนศึกษำ กลยทุ ธ์ กำรใช้เครอ่ื งมือหรือนวตั กรรมทำงกำรบริหำร 1. มงุ่ ผลลัพธ์ผู้เรยี นเปน็ สำคัญ 2. มุง่ คุณภำพหลกั สูตรและคุณภำพผ้เู รยี น 3. มุง่ พฒั นำสมรรถนะของครู และผู้เรียน 4. มุ่งพัฒนำครู โดยใชร้ ะบบใหค้ ำปรึกษำ ชี้แนะ 5. มงุ่ พัฒนำระบบและกระบวนกำรทำงำน 6. มุ่งนวตั กรรมกำรทำงำนอย่ำงสรำ้ งสรรค์ 7. มงุ่ ระดมทรพั ยำกร เครือข่ำย และควำมรว่ มมอื 8. มุง่ สร้ำงภำวะผนู้ ำรว่ มของผ้มู ีสว่ นไดส้ ่วนเสีย



กำรเตรยี มตวั เพ่อื ขอยนื่ /ขอมวี ิทยฐำนะ กำรส่งผลงำนวชิ ำกำร กรณีเชี่ยวชำญ และเชย่ี วชำญพิเศษ

กำรเตรยี มตวั เพ่ือขอยนื่ /ขอมีวทิ ยฐำนะ กำรสง่ ผลงำนวิชำกำร กรณีเชี่ยวชำญและเชี่ยวชำญพิเศษ 1. คณุ สมบัตนิ บั ถึงวันที่ยื่นคำขอ 2. ผูข้ อตอ้ งผ่ำนกำรประเมนิ 3 ด้ำน 3. กำรประเมินดำ้ นท่ี 1 ดำ้ นท่ี 2 และ ดำ้ นท่ี 3 ใหม้ ีคณะกรรมกำรประเมิน จำนวน 3 คน โดยประเมนิ ผ่ำนระบบ DPA 4. เกณฑ์กำรตดั สิน

หลกั เกณฑ์ หลกั เกณฑ์และวิธกี ำรขอเลื่อนวทิ ยฐำนะเชย่ี วชำญ และเล่อื นวทิ ยฐำนะเชย่ี วชำญพิเศษ 1.คุณสมบัตินับถึงวันทย่ี นื่ คำขอ 1.1 การขอมวี ทิ ยฐานะเชย่ี วชาญ ตอ้ งดารงตาแหน่ง/วิทยฐานะ ชำนำญกำรพิเศษ 4 ปี ขอเลอ่ื นวทิ ยฐานะเช่ยี วชาญพิเศษ ต้องดารงตาแหน่ง/วิทยฐานะ เชี่ยวชำญ 4 ปี 1.2 มกี ารพฒั นางานตามขอ้ ตกลง ระยะเวลาย้อนหลงั 3 รอบกำรประเมิน และมีผลการประเมนิ ไม่ต่ำกวำ่ ร้อยละ 70 1.3 ยอ้ นหลงั 4 ปี ต้องไมเ่ คยถกู ลงโทษทำงวินัย ทหี่ นักกว่าโทษภาคทณั ฑ์ 1.4 สามารถยืน่ คาขอต่อสถานศึกษาได้ตลอดปี ภาคเรียนละ 1 ครั้ง สถานศกึ ษานาขอ้ มลู เข้าสรู่ ะบบ DPA

หลกั เกณฑแ์ ละวธิ ีกำรขอเลอื่ นวทิ ยฐำนะเชี่ยวชำญ และเล่อื นวิทยฐำนะเชย่ี วชำญพเิ ศษ หลักเกณฑ์ เงอื่ นไขกำรลดระยะเวลำ - ใหล้ ดระยะเวลา ข้อ 1.1 เหลือ 3 ปตี ิดตอ่ กนั - มกี ารพฒั นางานตามขอ้ ตกลง ขอ้ 1.2 จานวน 2 รอบการประเมนิ - ลดชว่ งระยะเวลา ข้อ 1.3 เหลอื 3 ปี ** ท้งั น้ี ให้ผู้ขอและผ้อู านวยการสถานศึกษา/ผูบ้ งั คับบัญชาเปน็ ผรู้ ับรองข้อมลู และคณุ สมบตั ิของผูข้ อ

หลักเกณฑ์และวธิ ีกำรขอเลอื่ นวทิ ยฐำนะครเู ชย่ี วชำญ และเลอ่ื นวิทยฐำนะครเู ช่ยี วชำญพิเศษ หลักเกณฑ์ 2. ผ้ขู อตอ้ งผำ่ นกำรประเมิน 3 ด้ำน ดำ้ นท่ี 1 ดำ้ นทกั ษะกำรจัดกำรเรียนรแู้ ละกำรจัดกำรชัน้ เรยี น 1) แผนการจัดการเรียนรู้ (ไฟล์ PDF) สอดคล้องกับไฟล์วดี ีทัศน์ 2) ไฟล์วดี ิทศั นจ์ านวน 2 ไฟลป์ ระกอบดว้ ย 2.1 ไฟลว์ ดี ทิ ัศน์บนั ทึกการสอนสอดคลอ้ งกบั แผนการจดั การเรียนรู้ 2.2. ไฟล์วดี ิทัศนท์ ี่แสดงใหเ้ หน็ ถึงสภาพปัญหา ท่มี า หรือแรงบันดาลใจ ดำ้ นที่ 2 ผลลัพธก์ ำรเรยี นรู้ของผเู้ รยี น ผลงานหรือผลการปฏิบตั ิของผู้เรยี นจากการจดั การเรยี นรู้ ในรปู แบบไฟลด์ ิจิทลั

หลกั เกณฑแ์ ละวธิ กี ำรขอเล่อื นวิทยฐำนะเชย่ี วชำญ และเล่อื นวทิ ยฐำนะเชยี่ วชำญพิเศษ ด้ำนที่ 3 ผลงำนวิชำกำร 1).วทิ ยฐานะครเู ชี่ยวชาญ ต้องมผี ลงานทางวิชาการ ซ่ึงเปน็ งานวจิ ัยเก่ยี วกบั การจัดการเรยี นรู้ หรือนวตั กรรม การจดั การเรียนรู้ (คิดคน้ ปรบั เปลี่ยน) จำนวน 1 รำยกำร ในรูปแบบไฟล์ PDF 2).วทิ ยฐานะครูเชยี่ วชาญพิเศษ ตอ้ งมผี ลงานทางวิชาการ ซ่งึ เป็นงานวจิ ัยเก่ยี วกบั การจัดการเรยี นรู้ และ นวตั กรรมการจดั การเรียนรู้ (สร้างการเปล่ยี นแปลง) จำนวนอยำ่ งละ 1 รำยกำร ในรูปแบบไฟล์ PDF โดยงำนวิจัย จะตอ้ งไดร้ บั กำรตีพิมพ์ เผยแพร่บทความวจิ ยั ในวารสารวชิ าการทีอ่ ยูใ่ นฐานข้อมูลของศูนย์ดชั นอี า้ งอิงวารสารไทย หรอื Thai-Journal Citation Index Centre (TCI) กลมุ่ 1 หรือ กลุม่ 2 โดยใหส้ ่งบทความวิจัยตีพิมพเ์ ผยแพรใ่ น รปู แบบไฟล์ PDF ด้วย 3. กำรประเมินด้ำนที่ 1 ด้ำนที่ 2 และ ด้ำนท่ี 3 ให้มคี ณะกรรมกำรประเมิน จำนวน 3 คน โดยประเมินผำ่ นระบบ DPA

หลักเกณฑ์และวธิ กี ำรขอเลอ่ื นวทิ ยฐำนะผอู้ ำนวยกำรชยี่ วชำญ และเลื่อนวทิ ยฐำนะผู้อำนวยกำรเชยี่ วชำญพเิ ศษ หลกั เกณฑ์ 2. ผขู้ อต้องผำ่ นกำรประเมนิ 3 ดำ้ น ดำ้ นที่ 1 ดำ้ นทกั ษะกำรวำงแผนพัฒนำสถำนศกึ ษำ กลยุทธ์ กำรใชเ้ คร่ืองมือหรือนวัตกรรมทำงกำรบริหำร 1) รายงานผลการดาเนนิ การตามแผนพัฒนาสถานศึกษา กลยทุ ธ์ การใชเ้ ครื่องมือหรอื นวัตกรรมทางการบริหาร ตามโครงการ หรอื กจิ กรรมในแผนพฒั นาสถานศึกษาในรปู แบบไฟล์ PDF 2) การนาเสนอการพฒั นาสถานศึกษา กลยทุ ธ์ การใชเ้ คร่อื งมอื หรอื นวัตกรรมทางการบรหิ าร ตามโครงการหรอื กจิ กรรมใน แผนพัฒนาสถานศึกษา ที่เสนอในขอ้ 1) โดยนาเสนอเปน็ ไลฟ์วดี ิทัศนต์ ามรปู แบบที่ ก.ค.ศ.กาหนดจานวน 1 ไฟล์ ดำ้ นท่ี 2 ด้ำนผลลพั ธใ์ นกำรพัฒนำกำรบรหิ ำรสถำนศกึ ษำ ผลงานหรอื ผลการปฏบิ ตั ขิ องครู หรอื ผลการพัฒนาคณุ ภาพสถานศกึ ษา โดยนาเสนอเป็นไลฟ์วดี ทิ ศั นต์ ามรูปแบบที่ ก.ค.ศ. กาหนดจานวน 1 ไฟล์

หลกั เกณฑแ์ ละวธิ กี ำรขอเลอื่ นวิทยฐำนะผูอ้ ำนวยกำรชยี่ วชำญ และเล่อื นวิทยฐำนะผู้อำนวยกำรเชี่ยวชำญพเิ ศษ ดำ้ นที่ 3 ผลงำนวิชำกำร 1).วทิ ยฐานะผู้อานวยการเชี่ยวชาญ ต้องมผี ลงานทางวิชาการ ซ่ึงเปน็ ผลงานวิจัยเกี่ยวกบั การพฒั นา สถานศกึ ษา หรอื นวตั กรรมการบรหิ ารสถานศกึ ษา (คิดค้น ปรับเปลยี่ น) จำนวน 1 รำยกำร ในรูปแบบไฟล์ PDF 2).วิทยฐานะผอู้ านวยการเช่ียวชาญพิเศษ ตอ้ งมีผลงานทางวชิ าการ ซงึ่ เปน็ ผลงานวิจัยเก่ยี วกับการพฒั นา สถานศกึ ษา และนวัตกรรมการบรหิ ารสถานศึกษา (สรา้ งการเปลยี่ นแปลง) จำนวนอย่ำงละ 1 รำยกำร ในรูปแบบ ไฟล์ PDF โดยงำนวิจยั จะต้องได้รับกำรตีพมิ พ์ เผยแพรบ่ ทความวจิ ัยในวารสารวิชาการทอี่ ยูใ่ นฐานข้อมลู ของศนู ย์ ดชั นอี า้ งองิ วารสารไทย หรือ Thai-Journal Citation Index Centre (TCI) กลุม่ 1 หรือ กลมุ่ 2 โดยใหส้ ง่ บทความ วจิ ยั ตีพมิ พเ์ ผยแพรใ่ นรปู แบบไฟล์ PDF ด้วย 3. กำรประเมินดำ้ นที่ 1 ด้ำนท่ี 2 และ ด้ำนท่ี 3 ใหม้ คี ณะกรรมกำรประเมิน จำนวน 3 คน โดยประเมนิ ผำ่ นระบบ DPA

หลักเกณฑ์และวิธีกำรขอเลอื่ นวิทยฐำนะเช่ยี วชำญ และเลอ่ื นวทิ ยฐำนะเช่ียวชำญพิเศษ 4.เกณฑ์กำรตดั สิน ด้ำนท่ี 1 ดำ้ นทักษะกำรจดั กำรเรียนรแู้ ละกำรจดั กำรชัน้ เรยี น/ดำ้ นทกั ษะกำรวำงแผนพัฒนำสถำนศึกษำฯ วทิ ยฐำนะเชยี่ วชำญ ไม่น้อยกวา่ รอ้ ยละ 75* วิทยฐำนะเชีย่ วชำญพเิ ศษ ไมน่ ้อยกวา่ รอ้ ยละ 80* ด้ำนที่ 2 ด้ำนผลลพั ธก์ ำรเรยี นร้ขู องผเู้ รยี น/ดำ้ นผลลัพธใ์ นกำรพฒั นำกำรบริหำรสถำนศกึ ษำ วทิ ยฐำนะเช่ยี วชำญ ไมน่ ้อยกว่าร้อยละ 75* วิทยฐำนะเชี่ยวชำญพเิ ศษ ไม่น้อยกวา่ รอ้ ยละ 80* ดำ้ นท่ี 3 ดำ้ นผลงำนวชิ ำกำร วิทยฐำนะเชย่ี วชำญ ไมน่ ้อยกวา่ รอ้ ยละ 75* วทิ ยฐำนะเช่ยี วชำญพเิ ศษ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80* ***กรรมการแตล่ ะคน

สรปุ หลักเกณฑ์และวธิ ีกำรขอเลื่อนวิทยฐำนะเชย่ี วชำญ และเลื่อนวิทยฐำนะเชี่ยวชำญพิเศษ 1.คุณสมบตั ินับถงึ วันท่ียน่ื คำขอ คศ.4 และ คศ.5 เหมอื นกนั คือ - ดารงตาแหน่งวทิ ยฐำนะก่อนหนำ้ 4 ปี - PA ยอ้ นหลงั 3 รอบการประเมนิ ผลการประเมินไม่ตา่ กว่าร้อยละ 70 - ย้อนหลัง 4 ปีไม่เคยถูกลงโทษทางวนิ ัย

สรปุ หลกั เกณฑ์และวิธกี ำรขอเลอ่ื นวทิ ยฐำนะเชย่ี วชำญ และเล่ือนวิทยฐำนะเชย่ี วชำญพเิ ศษ 2. ผูร้ ับกำรประเมินต้องผำ่ น 3 ดำ้ น โดยด้ำนที่1 และด้ำนท่ี 2 เหมอื นกัน ดำ้ นที่ 3 คือด้ำนผลงำนวิชำกำร ต่ำงกนั ดังนี้ - คศ.4 วจิ ยั หรือ นวตั กรรม จำนวน 1 รำยกำร - คศ.5 วจิ ัย และ นวัตกรรม จานวน อย่ำงละ 1 รำยกำร (รวม 2 รำยกำร) โดยงานวจิ ยั ตอ้ งไดร้ บั การเผยแพรแ่ ละตพี มิ พ์

สรปุ หลกั เกณฑแ์ ละวธิ กี ำรขอเลอ่ื นวิทยฐำนะเช่ยี วชำญ และเล่อื นวิทยฐำนะเชี่ยวชำญพเิ ศษ 3. การประเมนิ ด้านท่ี 1 ดา้ นท่ี 2 และ ดา้ นที่ 3 ใหม้ คี ณะกรรมการประเมิน จานวน 3 คน โดยประเมินผ่านระบบ DPA เหมอื นกัน 4. เกณฑก์ ำรประเมินทั้ง 3 ดำ้ น เหมือนกัน ดังนี้ - คศ 4 ต้องผ่านร้อยละ 75 - คศ 5 ต้องผ่านรอ้ ยละ 80

กำรอนุมัตผิ ลกำรประเมนิ • ตำแหน่งครู/ผบู้ รหิ ำรสถำนศกึ ษำ - วทิ ยฐำนะเชยี่ วชำญ และเชีย่ วชำญพเิ ศษ ก.ค.ศ. เป็นผู้พิจำรณำอนมุ ตั ผิ ลกำรประเมนิ - วิทยฐำนะเช่ยี วชำญพิเศษ จะต้องผำ่ นกำรพฒั นำก่อน แต่งตงั้ ตำมหลกั เกณฑ์และวธิ กี ำรท่ี ก.ค.ศ.กำหนด





ถำม - ตอบ • ประเดน็ ซกั ถำม/ ขอ้ สงสยั


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook