Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Basic-internetโม-2แก้ไข ot

Basic-internetโม-2แก้ไข ot

Published by wanpen saelao, 2019-02-15 00:35:59

Description: Basic-internetโม-2แก้ไข ot

Search

Read the Text Version

1

2 หนงั สือเลม นีถ้ กู เรียบเรยี งขึ้นเพอื่ นาํ มาใชกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ตามตัวช้ีวัดและสาระการเรียนรูแกนกลางของกลุม สาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 4-6 ซึ่งมีเน้ือหา ครอบคลุมและตรงตามหลักสูตรของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ โดยในเลมไดไดใหเน้ือหาเก่ียวกับอินเทอรเน็ตเบ้ืองตน ออกแบบใหมีความเพียงพอและเหมาะสมกับผูเร่ิมตน ซึ่งครอบคลุมทั้งดานความรู เชิงวิชาการ และการปฏิบัติเพ่ือนําไปสูการใชงานไดจริง รวมถึงคุณธรรมและ จริยธรรมในการใชอินเทอรเน็ต ดวยภาษาที่สื่อสารมาแลวเขาใจงาย มี ภาพประกอบชดั เจน สามารถปฏิบตั ิตามไดทนั ที

3 สารบัญ บท หนา หนว ยท่ี 1อนิ เทอรเน็ตเบ้ืองตน 4-16 หนว ยที่ 2พระราชบัญญัติวา ดว ยการกระทาํ ผิดเกี่ยวกบั คอมพิวเตอร 17-31 หนวยที่ 3จริยธรรมและความปลอดภัย 32-49 หนว ยท่ี 4การปอ งกันและกําจัดไวรสั คอมพิวเตอร 50-58

4 บทที่ 1 อนิ เทอรเน็ตเบอื้ งตน ความหมายของคอมพิวเตอร คอมพิวเตอรมาจากภาษาละตินวา Computare ซ่ึงหมายถึง การนับ หรือ การคํานวณ ดังนั้นถากลาวอยางกวาง ๆ เคร่ืองคํานวณที่มีสวนประกอบเปนเคร่ือง กลไกหรือเคร่ืองไฟฟา ตางก็จัดเปนคอมพิวเตอรไดทั้งสิ้น ลูกคิดที่เคยใชกันใน รานคา ไมบรรทัด คํานวณ (slide rule) ซึ่งถือเปนเคร่ืองมือประจําตัววิศวกรในยุค ยสี่ บิ ปก อน หรอื เครื่องคดิ เลข ลว นเปนคอมพวิ เตอรไดท งั้ หมด ในปจ จุบันความหมายของคอมพิวเตอรจะระบุเฉพาะเจาะจง หมายถึงเคร่ือง คาํ นวณอเิ ลก็ ทรอนิกสท สี่ ามารถทํางานคํานวณผลและเปรียบเทียบคาตามชุดคําส่ัง ดวยความเร็วสูงอยางตอเน่ืองและอัตโนมัติ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ไดใหคําจํากัดความของคอมพิวเตอรไวคอนขางกะทัดรัดวาเครื่อง อิเล็กทรอนิกสแบบอัตโนมัติ ทาํ หนา ทเี่ สมือนสมองกล ใชส าํ หรบั แกป ญหาตางๆ ท้ัง ทงี่ ายและซบั ซอน โดยวิธที างคณิตศาสตร

5 คอมพิวเตอรจึงเปนเคร่ืองจักรอิเล็กทรอนิกสท่ีถูกสรางขึ้นเพื่อใชทํางาน แทนมนุษย ในดานการคิด คํานวณและสามารถจําขอมูล ทั้งตัวเลข และ ตัวอักษร ไดเพ่ือการเรียกใชงานในครั้งตอไป นอกจากนียังสามารถจัดการกับสัญลักษณได ดวยความเร็วสูง โดยปฏิบัติตามข้ันตอนของโปรแกรม คอมพิวเตอรยังมี ความสามารถในดานตา งๆ อกี มาก อาทเิ ชน การเปรียบเทียบทางตรรกศาสตร การ รับสงขอมูล การจัดเก็บขอมูลในตัวเคร่ืองและสามารถประมวลผลจากขอมูลตางๆ ได ลกั ษณะบริการของคอมพวิ เตอร 1. จดหมายอิเลคทรอนิกส (Electronic Mail) จดหมายอเิ ลคทรอนกิ สห รอื ทเ่ี รียกกันวา E-mailเปนการสอื่ สารทน่ี ยิ มใชกนั มาก เนือ่ งจากผใู ชส ามารถติดตอสอ่ื สารกับบคุ คลท่ีตองการไดร วดเรว็ ภายในระยะเวลา อันสั้น ไมวา จะอยูในทท่ี ํางานเดียวกันหรืออยหู า งกนั คนละมุมโลกกต็ ามนอกจากนี้

6 ยงั ส้นิ เปลืองคา ใชจ า ยนอ ยมาก องคป ระกอบของ e-mail address ประกอบดวย 1. ช่ือผูใช (User name) 2. ชอื่ โดเมน Username@domain_name การใชงานอีเมล สามารถแบงไดดังน้ี คือ 1. Corporate e-mail คือ อีเมล ทหี่ นวยงานตางๆสรางขน้ึ ใหก บั พนักงานหรอื บคุ ลากรในองคกรนัน้ เชน [email protected] คอื e-mail ของนักศกึ ษาของสถาบนั ราชภัฏสวนดุสิต เปนตน 2. Free e-mail คอื อีเมล ทส่ี ามารถสมคั รไดฟรตี าม web mail ตา งๆ เชน Hotmail, Yahoo Mail, Thai Mail และ Chaiyo Mail

7 2. การสบื คน ขอ มูลแบบเครือขา ยใยแมงมุม (Wold Wide Web : WWW) เปนการสือ่ สารทีเ่ ตบิ โตเรว็ ที่สุดในอินเตอรเน็ต ดวยเหตุผลทีส่ ําคญั คอื งายตอการใชง านและสามารถนําเสนอขอมลู กราฟก ได การใช World Wide Web เปรยี บเสมือนการเขา ไปอา นหนังสอื ในหองสมดุ โดยหนังสอื ท่มี ใี หอ านจะ สมบูรณมากกวา หนังสือทั่วไป เพราะสามารถฟงเสียงและดภู าพเคล่อื นไหว ประกอบได นอกจากน้ยี งั สามารถโตต อบกับผูอ านไดดวย ลกั ษณะเดนอกี ประการ หนึง่ คือขอ มูลตา ง ๆ จะมกี ารเช่ือมโยงถงึ กันไดด ว ยคุณสมบตั ิ ของ HyperText Link WWW คืออะไร การใชงานอนิ เตอรเ นต็ แบบ WWW (World Wide Web) เปน เคร่ืองมอื ในการ ใหบ รกิ ารขอ มูลขาวสารบนอนิ เตอรเน็ตท่ใี ชไ ดง าย สามารถชมไดทง้ั ภาพนง่ิ เสียง VDO แมแตส ง Pager หรือจะสงั่ Pizza กไ็ ด ในปจจบุ นั มีโปรแกรมในลกั ษณะของ WWW อยหู ลายตัวและหลาย เวอรช ่ันมากมาย แตล ะตัว จะเหมาะกับเครื่องคอมพิวเตอรห ลากหลายชนดิ โปรแกรมที่จะพาผใู ชเ ขา ถึงบรกิ าร ในลักษณะของ WWW เรยี กวา “บราวเซอร” (Browser) ตามลกั ษณะของการใช

8 บรกิ ารดังกลาวทีด่ ูเสมอื นการเปด หนงั สือดู ไปทีละหนา เหมือนการใช Online Help นน่ั เอง 3. การโอนยายขอมูล (File Transfer Protocol : FTP) การโอนยายขอมูล หรือที่นิยมเรียกกันวา FTP เปนการส่ือสารอีก รูปแบบหนึง่ ทีใ่ ชกันมากพอสมควรในอินเตอรเ นต็ โดยอาจใชเพื่อการถายโอนขอมูล รวมถึงโปรแกรมตาง ๆ ท้ังที่เปน freeware sharewareจากแหลง ขอมูลท้ังหลาย มายังเครื่องคอมพิวเตอรสวนบุคคลที่ใชงานอยู ปจจุบันมีหนวยงานหลายแหงที่ กําหนดให Serverของตนทําหนาที่เปน FTP site เก็บรวบรวมขอมูลและโปรแกรม ตา ง ๆ สําหรับใหบรกิ าร FTP ท่นี ิยมใชก ันมากไดแกWS_FTP, CuteFTP การโอนยา ยไฟลส ามารถแบงไดด งั นี้ คอื 1. การดาวนโ หลดไฟล (Download File ) การดาวนโหลดไฟล คอื การรับขอ มลู เขามายงั เครอ่ื ง คอมพวิ เตอรของผูใช ในปจจุบนั มีหลายเวบ็ ไซตท ี่จดั ใหม ีการดาวนโหลดโปรแกรม ไดฟ รี เชนhttp://www.download.com 2. การอัพโหลดไฟล (Upload File) การอัพโหลดไฟลค อื การนํา ไฟลข อมูลจากเครื่องของผูใ ชไปเก็บไวในเครอ่ื งทีใ่ หบรกิ าร (Server) ผานระบบ อินเทอรเน็ต เชน กรณที ่ที าํ การสรางเวบ็ ไซต จะมกี ารอพั โหลดไฟลไปเก็บไวใ น

9 เคร่ืองบรกิ ารเว็บไซต (Web server ) ท่ีเราขอใชบรกิ ารพนื้ ที่ (web server) โปรแกรมท่ชี วยในการอัพโหลดไฟลเ ชน FTP Commander 4. การแลกเปล่ยี นขา วสาร (USENET) การสือ่ สารประเภทน้ีมาท่มี าจากกระดานประกาศขาว หรือ Bulletin Board กลา วคือ ผทู ม่ี ีความสนใจในเรื่องเดยี วกนั จะรวมกลมุ กนั ตง้ั เปน กลมุ ขาวของแตละประเภท เม่อื มขี อ มลู ใหมที่จะเปน ประโยชนต อ สมาชิกผอู น่ื หรือมปี ญ หาหรอื คาํ ถามทีต่ องการความชวยเหลือหรือ คาํ ตอบ ผูนน้ั ก็จะสงขอมลู ของตน เขา ไปติดประกาศไวในอนิ เตอรเ น็ต โดยเคร่ืองทที่ ําหนา ทต่ี ิดประกาศ คือ News Server เมอ่ื สมาชิกอื่นอานพบ ถามีขอ มลู เพิ่มเตมิ หรอื มีบางอยา งไมถกู ตอ ง หรอื มี คาํ ตอบที่จะชวยแกปญหาใหได สมาชกิ เหลาน้ันก็จะสงขอมลู ตอบกลับไปติดประกาศไวเชน กนั

10 5. การเขาใชเคร่ืองระยะไกล (Telnet) Telnet เปน การขอเขาไปใชเคร่อื งคอมพวิ เตอรเครื่องอนื่ ท่ีเชอ่ื มตอ กับอนิ เตอรเน็ตจากระยะไกล โดยผใู ชไ มจ ําเปนตองไปนง่ั อยูห นาเครอื่ ง เคร่ือง คอมพวิ เตอรดังกลา วนอ้ี าจอยภู ายในสถานทีเ่ ดยี วกบั ผใู ช หรอื อยูห างกันคนละทวีป ก็ได แตท ง้ั นี้ผูใ ชต องมี account และรหสั ผา นจงึ จะสามารถเขาใชเคร่อื งดงั กลาวได สวนคําส่งั ในการ ทาํ งานนน้ั ขนึ้ อยูกับระบบปฏบิ ัตกิ ารของเคร่ืองทเ่ี ขาไปขอใช 6. การสนทนาผา นเครือขา ย (Talk หรอื Chat) เปนการตดิ ตอ สอื่ สารแบบ 2 ทาง คอื สามารถส่อื สารโตต อบกนั ได ทันทเี หมือนการใชโ ทรศัพท ในการสนทนาผา นเครือขายนีส้ ามารถทาํ ไดทัง้ แบบ Text-based และ Voice-based โดยในระยะแรกจะจาํ กดั เฉพาะ Text-based คอื ใชว ธิ กี ารพิมพเปน ขอ ความในการส่อื สารโตต อบระหวางกัน

11 โปรแกรมท่ีนิยมใชค ือ Talk และ IRC (Internet Relay Chat) ตอมาเมอ่ื มกี าร พัฒนามากขน้ึ ทงั้ ดา น Hardware และ Softwareทําใหปจ จุบัน เราสามารถสทาอ สารกนั ทาง Voice-based ไดดว ย โปรแกรมทใี่ ชใ นการส่อื สารประเภทน้ี เชน NetMeeting ของไมโครซอฟต หรือ Inter Phone ของ Vocaltec ฯลฯ การใชงานอนิ เตอรเ นตในดา นตา ง ๆ 1. เวิลดไวดเว็บ (WWW) เวิลดไวดเว็บ หรือเครือขายใยแมงมุม เหตุที่ เรียกช่ือน้ีเพราะวาเปนลักษณะของการเช่ือมโยงขอมูล จากที่หนึ่งไปยังอีกท่ีหนึ่ง เรื่อยๆ เวิลดไวดเว็บ เปนบริการที่ไดรับความนิยมมากที่สุด ในการเรียกดูเว็บไซต ตองอาศัยโปรแกรมเว็บเบราวเซอร (web browser) ในการดูขอมูล เว็บ เบราวเซอรที่ไดรับความนิยมใชในปจจุบัน เชน โปรแกรม Internet Explorer (IE) , Netscape Navigator

12 2. จดหมายอิเล็กทรอนิกส (Electronic Mail) การติดตอสื่อสารโดยใช อีเมลสามารถท าไดโดยสะดวก และประหยัดเวลา หลักการท างานของอีเมลก็ คลายกับการสงจดหมายธรรมดา นั้นคือ จะตองมีท่ีอยูท่ีระบุชัดเจน ก็คือ อีเมล แอดเดรส (E-mail address) องคประกอบของ E-MAIL ADDRESS ประกอบดว ย 1. ช่อื ผใู ช (User name) 2. ชื่อโดเมน Username@domain_name การใชงานอีเมล สามารถแบงไดด ังนี้ คอื 1. Corporate e-mail คือ อีเมล ท่ีหนวยงานตางๆสรางข้ึนใหกับพนักงานหรือ บุคลากรในองคกรนั้น เชน[email protected] คือ e-mail ของนักศึกษา ของสถาบันราชภฏั สวนดุสิต เปนตน

13 2. Free e-mail คือ อีเมล ที่สามารถสมัครไดฟรีตาม web mail ตางๆ เชน Hotmail, Yahoo Mail, Thai Mail และ Chaiyo Mail 3. บริการโอนยายไฟล (File Transfer Protocol) เปนบริการที่เกี่ยวของกับการ โอนยา ยไฟลผา นระบบอินเทอรเ น็ต การโอนยายไฟลสามารถแบงไดด งั นี้ คือ 1. การดาวนโหลดไฟล (Download File ) การดาวนโหลดไฟล คือ การรับขอมูล เขามายังเครื่องคอมพิวเตอรของผูใช ในปจจุบันมีหลายเว็บไซตที่จัดใหมีการดาวน โหลดโปรแกรมไดฟรเี ชน http://www.download.com 2. การอัพโหลดไฟล (Upload File) การอัพโหลดไฟลคือการน าไฟลขอมูลจาก เคร่ืองของผูใชไปเก็บไวในเคร่ืองท่ีใหบริการ (Server) ผานระบบอินเทอรเน็ต เชน กรณีท่ีทําการสรางเว็บไซต จะมีการอัพโหลดไฟลไปเก็บไวในเครื่องบริการเว็บไซต (Web server ) ท่ีเราขอใชบริการพ้ืนที่ (web server) โปรแกรมที่ชวยในการอัพ โหลดไฟลเชน FTP Commander

14 4. บริการสนทนาบนอินเทอรเน็ต (Instant Message) สนทนาบน อินเทอรเน็ตคือ การ สงขอความถึงกันโดยทันทีทันใด นอกจากนี้ยังสามารถสง สัญลักษณตางๆ อาทิ รูปภาพ ไฟลขอมูลไดดวย การสนทนาบนอินเทอรเน็ตเปน โปรแกรมที่กําลังไดรับความนิยมในปจจุบัน โปรแกรมประเภทนี้ เชน โปรแกรม ICQ (I seek you) MSN Messenger, Yahoo Messenger เปน ตน 5. บริการคน หาขอ มูลบนอินเทอรเ น็ต

15 1. Web directory คือ การคนหาโดยการเลือก Directory ท่ีจัดเตรียมและแยก หมวดหมูไวใหเรียบรอยแลว website ท่ีใหบริการ web directory เชน http://www.yahoo.com, http://www.sanook.com 2. Search Engine คือ การคนหาขอมูลโดยใชโปรแกรม Search โดย การเอาคําที่เราตองการคนหาไปเทียบกับเว็บไซตตางๆ วามีเว็บไซตใดบางที่มีคําที่ เราตองการคนหา website ที่ใหบริการ search engine เชน http://www.yahoo.com,http://www.sanook.com, http://www.goog le.co.th, http://www.sansarn.com 3. Metasearch คือ การคนหาขอมูลแบบ Search engine แตจะทําการสงคําท่ี ตองการไปคนหาในเว็บไซตท่ใี หบริการสืบคนขอมลู อ่นื ๆ อกี ถาขอ มูลท่ไี ดมีซ้ํากัน ก็ จะแสดงเพียงรายการเดียว เว็บไซตที่ใหบริการ Metasearch เชน

16 http://www.search.com, http://www.thaifind.com 6. บริการกระดานขาวหรือ เวบบอรด (Web board) เว็บบอรด เปน ศูนยกลางในการแสดงความคิดเห็น มีการต้ังกระทู ถาม-ตอบ ในหัวขอที่สนใจ เว็บ บอรด ของไทยที่เปน ทีน่ ยิ มและมีคนเขา ไปแสดงความคิดเหน็ มากมาย คือ เว็บบอรด ของพันธทิพย (www.pantip.com)

17 7. หอ งสนทนา (Chat Room) หอ งสนทนา คอื การสนทนาออนไลนอ กี ประเภทหนงึ่ ที่มกี ารสงขอความส้ันๆ ถึงกัน การเขาไปสนทนาจาํ เปน ตองเขา ไปใน เว็บไซตท ่ใี หบริการหองสนทนา เชน http://www.sanook.com http://www.pantip.com การเขาถึงบรกิ ารบนอนิ เตอรเนต การเขาถึงอินเทอรเน็ต ผูใชที่เปนคนทํางาน นักเรียน หรือนักศึกษา มักจะ เขาถึงอินเทอรเน็ตผานเครือขายของหนวยงาน โรงเรียนหรือมหาวิทยาลัย ซ้ึง เช่ือมตอเขากับอินเทอรเนตความเร็วสูง ขณะที่ผูใชทั่วไปอาจใชวิธีการเช่ือมตอ อินเทอรเน็ตโดยใชโ มเดม็ ผา นสายโทรศัพทซ่ึงเปนอินเทอรเนต็ ความเร็วตํ่า หรืออาจ เช่ือมตอผานบรอดแบนดอินเทอรเน็ต (broadband Internet connection) เชน เอดีเอสแอล (Asymmetric Digital Subscriber Line: ADSL) เคเบิลโมเด็มที่ เชื่อมตอกับเครือขายเคเบิลทีวี หรือเชื่อมตออินเทอรเน็ตแบบไรสาย เชน ไวไฟ หรืออินเทอรเื น็ตผา นดาวเทียม

18 สถานท่ีสาธารณะหลายแหง เชน โรงเรียน มหาวิทยาลัย สนามบิน หางสรรพสินคา โรงแรม มักจะมีบริการอินเทอรืเน็ตทั้งแบบมีสายและไรสาย เพื่อใหผ ใู ชอ ุปกรณแบบพกพาสามารถเขาถึงอนิ เทอรเ นต็ ไดโดยสะดวก ดังรูป ผูใหบริการอินเทอรเน็ต หรือไอเอสพี (Internet Service Provider: ISP) ใหบรกิ ารการเชือ่ มตอเขาสูอินเทอรเน็ตสําหรับผูใช โดยอาจคิดคาบริการเปน รายเดือน บริษัทที่ใหบริการอินเทอรเน็ตในประเทศไทย เชน ทีโอที ซีเอส ล็อกซ อินโฟ กสท ฆทรคมนาคม ทีทีแอนดที และสามารถเทลคอม นอกจากนี้ไอเอสพี ยังใหบริการเสริมอ่ืนๆ เชน อีเมล เว็บเพจ พ้ืนท่ีจัดเก็บขอมูลหรือโทรศัพทระหวาง ประเทศ ตวั อยางการเขาสบู ริการอนิ เทอรเ น็ตโดยผา นผใู หบรกิ าร

19 วธิ กี ารเชอ่ื มตอ อนิ เตอรเ นต็ การเช่ือมตอระบบอินเตอรเน็ตน้ัน ขึ้นอยูกับความตองการในการใชงานเปน สําคัญ เชน ใชอินเตอรเน็ตเพ่ือคน หาขอมูลทบี่ า น ใชในเชิงธุรกิจ ใชเพื่อความบันเทิง หรือใชภายในองคกรขนาดใหญ ดังน้ันการเชื่อมตอระบบอินเตอรเน็ตจึงมีความ แตกตางกันซ่ึงข้ึนอยูกับปจจัยดานความตองการ รวมทั้งเงินทุนท่ีจะใชในการติดตั้ง ระบบดวย ปจจุบันการเช่ือมตออินเตอรเน็ตท่ีนิยมใชมี 5 ลักษณะ คือ

20 1. การเชอ่ื มตอแบบ Dial Up 2. 3. 4. 5. 6. เปน การเชอ่ื มตออนิ เตอรเ นต็ ท่ีเคยไดรับความนยิ มในยคุ แรก ๆ โดยใชเคร่ือง คอมพิวเตอรบุคคล กับสายโทรศัพทบานที่เปนสายตรงตอเชื่อมเขากับโมเด็ม (Modem) ก็สามารถใชงานอินเตอรเน็ตไดแลว ผูใชบริการอินเตอรเน็ตตองทําการ ติดตอกับผูใหบริการเช่ือมตออินเตอรเน็ตผานหมายเลขโทรศัพทบาน โดยผู ใ ห บ ริ ก า ร เ ชื่ อ ม ต อ อิ น เ ต อ ร เ น็ ต จ ะ กํ า ห น ด ชื่ อ ผู ใ ช ( Username) แ ล ะ รหสั ผาน (Password) มาใหเ พื่อเขา ใชบรกิ ารอินเตอรเ น็ต ขอดี ของการเชื่อมตอแบบ Dial Up คือ อุปกรณมีราคาถูก การติดตั้งงาย การ เคลอ่ื นยา ยอปุ กรณทาํ ไดง าย ขอเสยี คืออตั ราการรบั สง ขอมูลคอ นขางตา่ํ เพยี งไมเกิน 56 kbit (กโิ ลบติ ) ตอ วินาที

21 2. ก า ร เ ชื่ อ ม ต อ แ บ บ ISDN(Internet Services Digital Network) เปนการเช่ือมตอท่ี คลายกับแบบ Dial Up เพราะตองใชโทรศัพท และโมเด็มในการ เช่ือมตอ ตางกันตรงท่ีระบบ โทรศัพทเปนระบบความเร็วสูงที่ใชเทคโนโลยีระบบดิจิตอล (Digital) และตองใช โมเด็มแบบISDN Modem ในการเชื่อมตอ ดังน้ันการเชื่อมตออินเตอรเน็ต แบบ ISDNจะตอ งคาํ นึงถึงสิ่งเหลานี้ คือ 1. ตองตดิ ตอ ผใู หบ รกิ ารอนิ เตอรเ นต็ (ISP) ทใี่ หบ รกิ ารการเช่ือมตอแบบ ISDN 2. การเชือ่ มตอตองใช ISDN Modem ในการเช่อื มตอ 3. ตองตรวจสอบวาสถานท่ีท่ีจะใชบริการน้ี อยูในอาณาเขต ท่ีใช บริการ ISDN ไดห รือไม ขอดี คือไมมีสัญญาณรบกวน มีความเร็วสูง และยังคงสามารถใชโทรศัพทเพ่ือ พูดคุยไปไดพ รอม ๆ กับการเลนอนิ เตอรเ นต็ ขอ เสีย คอื มีคา ใชจ ายสูงกวาระบบ Dial-Up

22 3. การเชื่อมตอแบบ DSL(Digital Subscriber Line) เปนเทคโนโลยีการ เชื่อมตออินเทอรเน็ตความเร็วสูงโดยใชสายโทรศัพทธรรมดา ท่ีสามารถใช อินเตอรเน็ตและพูดผานสายโทรศัพทปกติไดในเวลาเดียวกัน สิ่งท่ีตองคํานึงถึงใน การติดตัง้ ระบบอนิ เตอรเ น็ตแบบDSL ก็คอื 1. ตอ งตรวจสอบวาสถานท่ีท่ีติดตั้งอยูใน เ ข ต พ้ื น ท่ี ใ ห บ ริ ก า ร ร ะ บ บ โ ท ร ศั พ ท แบบ DSL หรือไม 2. บัญชีผูใชอินเตอรเน็ตจากผูใหบริการ อินเตอรเน็ตในแบบ DSL 3. การเช่อื มตอ ตองใช DSL Modem ในการเช่อื มตอ 4. ตองติดตั้ง Ethernet Adapter Card หรือ Lan Card ไวท่ีเคร่ือง คอมพวิ เตอรทใ่ี ชใ นการเช่ือมตอ อนิ เตอรเ น็ตดวย ขอดี คือมคี วามเรว็ สูงกวาแบบ Dial-Up และ ISDN ขอเสีย คอื ไมสามารถระบคุ วามเรว็ ทแ่ี นน อนได

23 4. การเชื่อมตอ แบบ Cable เปน การเชื่อมตออินเทอรเน็ตโดยผานสายสื่อสาร เดียวกับCable TV จึงทําใหเราสามารถ เช่ือมตออินเทอรเน็ตไปพรอม ๆ กับการดู ทีวีได โดยตองจดั หาอปุ กรณเ พิม่ เตมิ คือ 1. ใช Cable Modem เพือ่ เช่ือมตอ 2. ตองติดตั้ง Ethernet Adapter Card หรอื Lan Card ไวท ีเ่ ครอื่ งคอมพิวเตอรทีใ่ ชใ นการเช่ือมตออนิ เตอรเ น็ตดว ย ขอดี คือถามีสายเคเบิลทีวีอยูแลว สามารถเชื่อมตออินเทอรเน็ตไดโดยเพ่ิม อุปกรณ Cable Modem กส็ ามารถเชือ่ มตอได ขอ เสยี คอื ถามผี ูใชเ คเบลิ ในบริเวณใกลเ คียงมาก อาจทาํ ใหก ารรบั สงขอ มูลชา ลง 5. การเชื่อมตอ แบบดาวเทียม (Satellites) เปนการเช่ือมตอ อินเทอรเ นต็ ทม่ี ี คา ใชจา ยคอ นขางสูง ระบบท่ีใชก ันอยใู นปจจบุ ัน เรยี กวา Direct Broadcast Satellites หรอื DBS โดยผูใชตองจดั หาอปุ กรณเ พิม่ เติม คอื

24 1. จานดาวเทียมขนาด 18-21 น้ิว เพื่อทําหนาท่ีเปนตัวรับสัญญาณจาก ดาวเทียม 2. ใช Modem เพือ่ เชื่อมตอ ระบบอินเตอรเ น็ต ขอ เสีย ของการเชื่อมตอ แบบดาวเทยี ม (Satellites) ไดแก 1. ตองสง ผานสายโทรศัพทเ หมือนแบบอ่ืน ๆ 2. ความเร็วในการรบั สง ขอมลู ตํา่ มากเมือ่ เทียบกบั แบบอ่นื ๆ 3. คา ใชจา ยสูง

25 หนวยที่ 2 พระราชบญั ญตั วิ า ดวยการกระทาํ ผิดเกี่ยวกบั คอมพวิ เตอร พระราชบัญญัติวา ดวยการกระทาํ ผิดเก่ียวกับคอมพิวเตอร พ.ศ. 2550 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรด เกลาฯ ใหประกาศวา โดยทีเ่ ปนการสมควรมกี ฎหมายวาดว ยการกระทําความผดิ เก่ียวกบั คอมพิวเตอร จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหตราพระราชบัญญัติข้ึนไว โดยคําแนะนําและ ยนิ ยอมของสภานิตบิ ัญญัติแหงชาติ ดงั ตอไปนี้ มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้ เรียกวา “พระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับ คอมพิวเตอร พ.ศ. ๒๕๕๐” มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ ใหใชบังคับเม่ือพนกําหนดสามสิบวันนับแตวันประกาศในราช กิจจานเุ บกษาเปน ตนไป[1]

26 มาตรา ๓ ในพระราชบญั ญตั ินี้ “ระบบคอมพิวเตอร” หมายความวา อุปกรณหรือชุดอุปกรณของ คอมพิวเตอรท ีเ่ ช่อื มการทํางานเขาดวยกัน โดยไดมีการกําหนดคําส่ัง ชุดคําสั่ง หรือ ส่ิงอ่ืนใด และแนวทางปฏิบัติงานใหอุปกรณหรือชุดอุปกรณทําหนาท่ีประมวลผล ขอมลู โดยอัตโนมัติ “ขอ มลู คอมพิวเตอร” หมายความวา ขอ มลู ขอความ คําสง่ั ชุดคําสั่ง หรือส่ิง อ่ืนใด บรรดาท่ีอยูในระบบคอมพิวเตอร ในสภาพท่ีระบบคอมพิวเตอรอาจ ประมวลผลได และใหห มายความรวมถึง ขอ มูลอเิ ล็กทรอนิกส ตามกฎหมายวาดวย ธรุ กรรมทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส ดวย “ขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอร” หมายความวา ขอมูลเกี่ยวกับการ ติดตอสื่อสารของระบบคอมพิวเตอร ซึ่งแสดงถึงแหลงกําเนิด ตนทาง ปลายทาง เสนทาง เวลา วันท่ี ปริมาณ ระยะเวลา ชนิดของบริการ หรืออ่ืน ๆ ที่เกี่ยวของกับ การตดิ ตอ ส่อื สารของระบบคอมพิวเตอรน ้นั

27 “ผูใ หบ รกิ าร” หมายความวา (๑) ผูใหบริการแกบุคคลอื่นในการเขาสูอินเทอรเน็ต หรือใหสามารถติดตอถึงกัน โดยประการอ่ืนโดยผานทางระบบคอมพิวเตอร ท้ังน้ี ไมวาจะเปนการใหบริการใน นามของตนเอง หรอื ในนามหรือเพือ่ ประโยชนข องบุคคลอนื่ (๒) ผใู หบรกิ ารเกบ็ รักษาขอมูลคอมพวิ เตอร เพือ่ ประโยชนของบคุ คลอน่ื “ผูใชบริการ” หมายความวา ผูใชบริการของผูใหบริการ ไมวาตองเสียคาใชบริการ หรอื ไมกต็ าม “พนักงานเจาหนาที่” หมายความวา ผูซึ่งรัฐมนตรีแตงต้ังใหปฏิบัติการตาม พระราชบญั ญตั ินี้ “รฐั มนตรี” หมายความวา รฐั มนตรผี ูร กั ษาการตามพระราชบญั ญตั นิ ี้ มาตรา ๔ ใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารรักษาการตาม พระราชบัญญัติน้ี และใหมีอํานาจออกกฎกระทรวงเพ่ือปฏิบัติการตาม พระราชบัญญตั นิ ี้ กฎกระทรวงนนั้ เมือ่ ไดป ระกาศในราชกจิ จานุเบกษาแลว ใหใ ชบ ังคบั ได

28 หมวด ๑ ความผิดเกย่ี วกับคอมพวิ เตอร มาตรา ๕ ผูใดเขาถึงโดยมิชอบซงึ่ ระบบคอมพิวเตอรท่ีมีมาตรการปองกันการเขาถึงโดยเฉพาะ และมาตรการน้ันมิไดมีไวสําหรับตน ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหกเดือน หรือปรับ ไมเกนิ หนงึ่ หมืน่ บาท หรอื ทง้ั จําทง้ั ปรับ มาตรา ๖ ผูใดลวงรูมาตรการปองกันการเขาถึงระบบคอมพิวเตอรท่ีผูอ่ืนจัดทําขึ้นเปนการ เฉพาะ ถานํามาตรการดังกลาวไปเปดเผยโดยมิชอบ ในประการท่ีนาจะเกิดความ เสียหายแกผูอ่ืน ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหนึ่งป หรือปรับไมเกินสองหม่ืนบาท หรอื ทง้ั จําท้งั ปรับ มาตรา ๗ ผูใดเขาถงึ โดยมิชอบซึ่งขอ มูลคอมพิวเตอรท ม่ี ีมาตรการปองกันการเขาถึงโดยเฉพาะ และมาตรการน้ันมิไดมีไวสําหรับตน ตองระวางโทษจําคุกไมเกินสองป หรือปรับไม เกินส่หี มืน่ บาท หรือท้งั จาํ ทั้งปรบั

29 มาตรา ๘ ผูใดกระทําดวยประการใดโดยมิชอบดวยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส เพ่ือดักรับไวซึ่ง ขอมูลคอมพิวเตอรของผูอื่นที่อยูระหวางการสงในระบบคอมพิวเตอร และ ขอมูลคอมพิวเตอรน้ันมิไดมีไวเพ่ือประโยชนสาธารณะ หรือเพื่อใหบุคคลท่ัวไปใช ประโยชนได ตองระวางโทษจําคุกไมเกินสามป หรือปรับไมเกินหกหม่ืนบาท หรือ ทั้งจําท้งั ปรับ มาตรา ๙ ผูใดทําใหเสียหาย ทําลาย แกไข เปล่ียนแปลง หรือเพิ่มเติม ไมวาทั้งหมดหรือ บางสวน ซ่ึงขอ มลู คอมพิวเตอรข องผอู ื่น โดยมชิ อบ ตอ งระวางโทษจาํ คุกไมเกินหาป หรอื ปรบั ไมเกินหนึง่ แสนบาท หรือทงั้ จาํ ทั้งปรบั มาตรา ๑๐ ผูใดกระทําดวยประการใดโดยมิชอบ เพ่ือใหการทํางานของระบบคอมพิวเตอรของ ผูอ่ืนถูกระงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวน จนไมสามารถทํางานตามปกติได ตอง ระวางโทษจาํ คกุ ไมเกนิ หาป หรือปรบั ไมเ กนิ หน่ึงแสนบาท หรือท้ังจําทัง้ ปรับ

30 มาตรา ๑๑ ผูใดสงขอมูลคอมพิวเตอรหรือจดหมายอิเล็กทรอนิกสแกบุคคลอื่น โดยปกปดหรือ ปลอมแปลงแหลงท่ีมาของการสงขอมูลดังกลาว อันเปนการรบกวนการใชระบบ คอมพิวเตอรข องบคุ คลอ่นื โดยปกติสุข ตอ งระวางโทษปรบั ไมเกินหน่ึงแสนบาท มาตรา ๑๒ ถา การกระทําความผดิ ตามมาตรา ๙ หรือมาตรา ๑๐ (๑) กอ ใหเกิดความเสียหายแกป ระชาชน ไมวาความเสียหายน้ันจะเกิดขึ้นในทันที หรือในภายหลงั และไมว า จะเกดิ ขน้ึ พรอ มกนั หรือไม ตองระวางโทษจําคุกไมเกินสิบ ป และปรับไมเ กินสองแสนบาท (๒) เปนการกระทําโดยประการท่ีนาจะเกิดความเสียหายตอขอมูลคอมพิวเตอร หรือระบบคอมพิวเตอร ที่เกี่ยวกับการรักษาความม่ันคงปลอดภัยของประเทศ ความปลอดภยั สาธารณะ ความม่ันคงในทางเศรษฐกิจของประเทศ หรือการบริการ สาธารณะ หรือเปนการกระทําตอขอมูลคอมพิวเตอรหรือระบบคอมพิวเตอรท่ีมีไว เพ่ือประโยชนส าธารณะ ตอ งระวางโทษจาํ คุกตงั้ แตสามปถ ึงสิบหาป และปรับต้ังแต หกหม่ืนบาทถงึ สามแสนบาท

31 ถาการกระทําความผิดตาม (๒) เปนเหตุใหผูอ่ืนถึงแกความตาย ตองระวางโทษ จาํ คกุ ตัง้ แตสิบปถ ึงยสี่ ิบป มาตรา ๑๓ ผใู ดจาํ หนา ยหรอื เผยแพรชดุ คําสง่ั ทีจ่ ดั ทําขึน้ โดยเฉพาะเพ่ือนาํ ไปใชเปนเครื่องมือใน การกระทําความผิดตามมาตรา ๕ มาตรา ๖ มาตรา ๗ มาตรา ๘ มาตรา ๙ มาตรา ๑๐ หรือมาตรา ๑๑ ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหน่ึงป หรือปรับไมเกินสองหม่ืน บาท หรือทง้ั จาํ ทั้งปรับ มาตรา ๑๔ ผใู ดกระทาํ ความผิดที่ระบไุ วดงั ตอ ไปน้ี ตอ งระวางโทษจําคกุ ไมเกินหาป หรือปรับไม เกินหนึ่งแสนบาท หรือทัง้ จาํ ทัง้ ปรบั (๑) นําเขาสูระบบคอมพิวเตอร ซึ่งขอมูลคอมพิวเตอรปลอม ไมวาทั้งหมดหรือ บางสวน หรือขอมูลคอมพิวเตอรอันเปนเท็จ โดยประการที่นาจะเกิดความเสียหาย แกผอู ื่นหรอื ประชาชน (๒) นําเขาสูระบบคอมพิวเตอร ซึ่งขอมูลคอมพิวเตอรอันเปนเท็จ โดยประการท่ี นาจะเกดิ ความเสยี หายตอ ความม่นั คงของประเทศ หรอื กอ ใหเกิดความต่ืนตระหนก แกป ระชาชน

32 (๓) นําเขาสูระบบคอมพิวเตอร ซ่ึงขอมูลคอมพิวเตอรใด ๆ อันเปนความผิด เกี่ยวกับความม่ันคงแหงราชอาณาจักร หรือความผิดเกี่ยวกับการกอการราย ตาม ประมวลกฎหมายอาญา (๔) นําเขาสูระบบคอมพิวเตอร ซ่ึงขอมูลคอมพิวเตอรใด ๆ ท่ีมีลักษณะอันลามก และขอ มูลคอมพวิ เตอรน ัน้ ประชาชนทว่ั ไปอาจเขา ถงึ ได (๕) เผยแพร หรือสงตอ ซ่ึงขอมูลคอมพิวเตอร โดยรูอยูแลววาเปน ขอ มูลคอมพวิ เตอรต าม (๑) (๒) (๓) หรอื (๔) มาตรา ๑๕ ผูใหบริการผูใดจงใจสนับสนุนหรือยินยอมใหมีการกระทําความผิดตามมาตรา ๑๔ ในระบบคอมพิวเตอรที่อยูในความควบคุมของตน ตองระวางโทษเชนเดียวกับ ผกู ระทาํ ความผิดตามมาตรา ๑๔ มาตรา ๑๖ ผู ใ ด นํ า เ ข า สู ร ะ บ บ ค อ ม พิ ว เ ต อ ร ที่ ป ร ะ ช า ช น ท่ั ว ไ ป อ า จ เ ข า ถึ ง ไ ด ซ่ึ ง ขอมูลคอมพิวเตอรที่ปรากฏเปนภาพของผูอ่ืน และภาพนั้นเปนภาพท่ีเกิดจากการ สรางข้ึน ตัดตอ เติม หรือดัดแปลงดวยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส หรือวิธีการอื่นใด ท้ังน้ี โดยประการท่ีนาจะทําใหผูอื่นน้ันเสียชื่อเสียง ถูกดูหม่ิน ถูกเกลียดชัง หรือ

33 ไดรับความอับอาย ตองระวางโทษจําคุกไมเกินสามป หรือปรับไมเกินหกหมื่นบาท หรอื ท้งั จาํ ทัง้ ปรับ ถา การกระทําตามวรรคหน่งึ เปนการนาํ เขาขอ มลู คอมพิวเตอรโดยสุจริต ผูกระทําไม มีความผดิ ความผดิ ตามวรรคหนง่ึ เปน ความผิดอนั ยอมความได ถาผูเสียหายในความผิดตามวรรคหนึง่ ตายเสียกอนรองทุกข ใหบิดา มารดา คูสมรส หรือบตุ รของผเู สยี หายรอ งทกุ ขไ ด และใหถ ือวาเปนผูเสยี หาย มาตรา ๑๗ ผใู ดกระทาํ ความผิดตามพระราชบญั ญัตนิ ้นี อกราชอาณาจักร และ (๑) ผูก ระทาํ ความผิดนนั้ เปนคนไทย และรัฐบาลแหงประเทศท่ีความผิดไดเกิดข้ึน หรอื ผเู สยี หายไดร องขอใหลงโทษ หรอื (๒) ผูกระทําความผิดน้ันเปนคนตางดาว และรัฐบาลไทยหรือคนไทยเปน ผเู สยี หายและผูเสยี หายไดรอ งขอใหล งโทษ จ ะ ต อ ง รั บ โ ท ษ ภ า ย ใ น ราชอาณาจักร พนักงานเจาหนา ท่ี

34 มาตรา ๑๘ ภายใตบังคับมาตรา ๑๙ เพื่อประโยชนในการสืบสวนและสอบสวน ในกรณีท่ีมีเหตุ อันควรเช่ือไดวา มีการกระทําความผิดตามพระราชบัญญัติน้ี ใหพนักงานเจาหนาที่ มีอํานาจอยางหนึ่งอยางใดดังตอไปน้ี เฉพาะที่จําเปน เพื่อประโยชนในการใชเปน หลักฐานเก่ียวกับการกระทําความผิด และหาตัวผกู ระทาํ ความผดิ (๑) มีหนังสือสอบถามหรือเรียกบุคคลท่ีเก่ียวของกับการกระทําความผิดตาม พระราชบัญญัติน้ีมาเพ่ือใหถอยคํา สงคําชี้แจงเปนหนังสือ หรือสงเอกสาร ขอมูล หรือหลักฐานอื่นใดท่ีอยูใ นรูปแบบทส่ี ามารถเขา ใจได (๒) เรียกขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอร จากผูใหบริการเกี่ยวกับการติดตอสื่อสาร ผานระบบคอมพิวเตอร หรือจากบุคคลอน่ื ท่เี กยี่ วของ (๓) สั่งใหผูใหบริการสงมอบขอมูลเกี่ยวกับผูใชบริการท่ีตองเก็บตามมาตรา ๒๖ หรอื ทอ่ี ยใู นความครอบครองหรอื ควบคุมของผใู หบ รกิ าร ใหแกพนักงานเจาหนา ที่ (๔) ทําสําเนาขอมูลคอมพิวเตอร ขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอร จากระบบ คอมพวิ เตอรทม่ี ีเหตอุ นั ควรเชอื่ ไดวามีการกระทําความผิดตามพระราชบัญญัติน้ี ใน กรณที รี่ ะบบคอมพิวเตอรนน้ั ยังมไิ ดอยูใ นความครอบครองของพนักงานเจา หนาท่ี

35 (๕) ส่ังใหบุคคลซ่ึงครอบครองหรือควบคุมขอมูลคอมพิวเตอร หรืออุปกรณท่ีใช เก็บขอมูลคอมพิวเตอร สงมอบขอมูลคอมพิวเตอรหรืออุปกรณดังกลาวใหแก พนกั งานเจาหนาที่ (๖) ตรวจสอบหรือเขา ถงึ ระบบคอมพวิ เตอร ขอมูลคอมพิวเตอร ขอมูลจราจรทาง คอมพวิ เตอร หรอื อุปกรณที่ใชเ กบ็ ขอ มลู คอมพิวเตอรของบคุ คลใด อันเปนหลักฐาน หรืออาจใชเปนหลักฐานเกี่ยวกับการกระทําความผิด หรือเพื่อสืบสวนหาตัว ผูกระทําความผิด และสั่งใหบุคคลนั้นสงขอมูลคอมพิวเตอร ขอมูลจราจรทาง คอมพวิ เตอร ทเี่ กยี่ วของ เทา ท่จี ําเปน ใหด วยก็ได (๗) ถอดรหัสลับของขอมูลคอมพิวเตอรของบุคคลใด หรือส่ังใหบุคคลที่เกี่ยวของ กับการเขารหัสลับของขอมูลคอมพิวเตอร ทําการถอดรหัสลับ หรือใหความรวมมือ กบั พนกั งานเจาหนาท่ใี นการถอดรหสั ลับดงั กลาว (๘) ยึดหรอื อายดั ระบบคอมพวิ เตอรเทา ทจี่ ําเปนเฉพาะเพ่อื ประโยชนในการทราบ รายละเอยี ดแหง ความผิดและผกู ระทําความผิดตามพระราชบัญญตั นิ ้ี มาตรา ๑๙ การใชอํานาจของพนักงานเจาหนาที่ตามมาตรา ๑๘ (๔) (๕) (๖) (๗) และ (๘) ให พนักงานเจาหนาท่ีย่ืนคํารองตอศาลที่มีเขตอํานาจเพื่อมีคําสั่งอนุญาตใหพนักงาน เจาหนาที่ดําเนินการตามคํารอง ทั้งนี้ คํารองตองระบุเหตุอันควรเชื่อไดวาบุคคลใด

36 ก ร ะ ทํ า ห รื อ กํ า ลั ง จ ะ ก ร ะ ทํ า ก า ร อ ย า ง ห นึ่ ง อ ย า ง ใ ด อั น เ ป น ค ว า ม ผิ ด ต า ม พระราชบัญญัติน้ี เหตุที่ตองใชอํานาจ ลักษณะของการกระทําความผิด รายละเอียดเกี่ยวกับอุปกรณที่ใชในการกระทําความผิด และผูกระทําความผิด เทาที่สามารถจะระบุได ประกอบคํารองดวย ในการพิจารณาคํารอง ใหศาล พจิ ารณาคํารองดังกลาวโดยเร็ว เม่ือศาลมีคําสั่งอนุญาตแลว กอนดําเนินการตามคําสั่งของศาล ใหพนักงาน เจาหนาท่ีสงสําเนาบันทึกเหตุอันควรเชื่อที่ทําใหตองใชอํานาจตามมาตรา ๑๘ (๔) (๕) (๖) (๗) และ (๘) มอบใหเจาของหรือผูครอบครองระบบคอมพิวเตอรนั้นไวเปน หลักฐาน แตถาไมมีเจาของหรือผูครอบครองเครื่องคอมพิวเตอรอยู ณ ที่นั้น ให พนักงานเจาหนาที่สงมอบสําเนาบันทึกน้ันใหแกเจาของหรือผูครอบครองดังกลาว ในทนั ทที ก่ี ระทําได ใหพนักงานเจาหนาที่ผูเปนหัวหนาในการดําเนินการตามมาตรา ๑๘ (๔) (๕) (๖) (๗) และ (๘) สงสําเนาบันทึกรายละเอียดการดําเนินการ และเหตุผลแหงการ ดําเนนิ การ ใหศาลทม่ี ีเขตอํานาจภายในสส่ี บิ แปดช่วั โมงนับแตเวลาลงมือดาํ เนินการ เพื่อเปน หลกั ฐาน

37 การทําสําเนาขอมูลคอมพิวเตอรตามมาตรา ๑๘ (๔) ใหกระทําไดเฉพาะเมื่อมีเหตุ อันควรเชื่อไดวา มีการกระทํา ความผิดตามพระราชบัญญัติน้ี และตองไมเปนอุปสรรคในการ ดําเนินกิจการของเจาของหรือ ผู ค ร อ บ ค ร อ ง ข อ มู ล ค อ ม พิ ว เ ต อ ร นั้ น เ กิ น ความจําเปน การยึดหรืออายัดตามมาตรา ๑๘ (๘) นอกจากจะตองสงมอบสําเนาหนังสือแสดงการยึดหรืออายัดมอบให เจาของหรือผูครอบครองระบบคอมพิวเตอรน้ันไวเปนหลักฐานแลว พนักงาน เจา หนา ทจี่ ะสั่งยึดหรอื อายดั ไวเ กินสามสิบวนั มไิ ด ในกรณจี ําเปนที่ตองยดึ หรอื อายัด ไวนานกวา นัน้ ใหย น่ื คํารอ งตอศาลท่ีมีเขตอํานาจ เพื่อขอขยายเวลายึดหรืออายัดได แตศ าลจะอนุญาตใหข ยายเวลาครง้ั เดียวหรือหลายครง้ั รวมกนั ไดอกี ไมเกินหกสิบวัน เม่ือหมดความจําเปนท่ีจะยึดหรืออายัด หรือครบกําหนดเวลาดังกลาวแลว พนกั งานเจา หนาที่ตองสง คนื ระบบคอมพิวเตอรท ี่ยึด หรอื ถอนการอายัดโดยพลนั หนังสือแสดงการยดึ หรอื อายดั ตามวรรคหา ใหเ ปน ไปตามทกี่ ําหนดในกฎกระทรวง มาตรา ๒๐

38 ในกรณีที่การกระทําความผิดตามพระราชบัญญัติน้ี เปนการทําใหแพรหลายซ่ึง ขอมลู คอมพวิ เตอร ท่ีอาจกระทบกระเทือนตอความมัน่ คงแหงราชอาณาจักร ตามท่ี กําหนดไวในภาคสอง ลักษณะ ๑ หรือลักษณะ ๑/๑ แหงประมวลกฎหมายอาญา หรอื ที่มีลกั ษณะขดั ตอ ความสงบเรียบรอ ยหรอื ศลี ธรรมอนั ดีของประชาชน พนักงาน เจาหนาที่ โดยไดรับความเห็นชอบจากรัฐมนตรี อาจย่ืนคํารอง พรอมแสดง พยานหลักฐาน ตอศาลที่มีเขตอํานาจ ขอใหมีคําส่ังระงับการทําใหแพรหลายซึ่ง ขอมูลคอมพวิ เตอรน ้ันได ในกรณีท่ีศาลมีคําส่ังใหระงับการทําใหแพรหลายซึ่งขอมูลคอมพิวเตอรตามวรรค หนึ่ง ใหพนักงานเจาหนาที่ทําการระงับการทําใหแพรหลายน้ันเอง หรือส่ังใหผูให บรกิ ารระงบั การทําใหแ พรหลายซึง่ ขอ มลู คอมพิวเตอรน้นั ก็ได มาตรา ๒๑ ในกรณีท่ีพนักงานเจาหนาที่พบวา ขอมูลคอมพิวเตอรใดมีชุดคําส่ังไมพึงประสงค รวมอยูดวย พนักงานเจาหนาท่ีอาจยื่นคํารองตอศาลท่ีมีเขตอํานาจ เพื่อขอใหมี คําสั่งหามจําหนายหรือเผยแพร หรือสั่งใหเจาของหรือผูครอบครอง ขอ มลู คอมพวิ เตอรน ้นั ระงบั การใช ทําลาย หรือแกไขขอมูลคอมพิวเตอรน้ันได หรือ จะกําหนดเงื่อนไขในการใช มีไวในครอบครอง หรือเผยแพรชุดคําส่ังไมพึงประสงค ดงั กลา วกไ็ ด

39 ชุดคําสั่งไมพึงประสงคตามวรรคหนึ่ง หมายถึง ชุดคําสั่งที่มีผลทําให ขอมูลคอมพิวเตอร หรือระบบคอมพิวเตอร หรือชุดคําสั่งอ่ืนเกิดความเสียหาย ถูก ทาํ ลาย ถูกแกไ ขเปลยี่ นแปลง หรอื เพม่ิ เติม ขัดของ หรือปฏิบัติงานไมตรงตามคําส่ัง ที่กําหนดไว หรือโดยประการอื่นตามที่กําหนดในกฎกระทรวง ทั้งน้ี เวนแตเปน ชุดคําสั่งที่มุงหมายในการปองกันหรือแกไขชุดคําสั่งดังกลาวขางตน ตามท่ีรัฐมนตรี ประกาศในราชกิจจานเุ บกษา มาตรา ๒๒ หามมิใหพนักงานเจาหนาที่เปดเผยหรือสงมอบขอมูลคอมพิวเตอร ขอมูลจราจร ทางคอมพิวเตอร หรือขอมลู ของผูใชบริการ ท่ีไดม าตามมาตรา ๑๘ ใหแ กบุคคลใด ความในวรรคหนึ่ง มิใหใชบังคับกับการกระทําเพื่อประโยชนในการดําเนินคดีกับ ผูกระทําความผิดตามพระราชบัญญัติน้ี หรือเพ่ือประโยชนในการดําเนินคดีกับ พนักงานเจาหนาที่เก่ียวกับการใชอํานาจหนาท่ีโดยมิชอบ หรือเปนการกระทําตาม คาํ ส่ังหรอื ทไี่ ดรับอนญุ าตจากศาล พนกั งานเจาหนาที่ผูใดฝาฝนวรรคหนึ่ง ตองระวางโทษจําคุกไมเกินสามป หรือปรับ ไมเกนิ หกหมื่นบาท หรือทัง้ จาํ ท้ังปรบั

40 มาตรา ๒๓ พนกั งานเจา หนา ทผ่ี ูใดกระทาํ โดยประมาท เปนเหตุใหผูอื่นลวงรูขอมูลคอมพิวเตอร ขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอร หรือขอมูลของผูใชบริการ ท่ีไดมาตามมาตรา ๑๘ ตองระวางโทษจําคุกไมเกนิ หนึ่งป หรอื ปรับไมเกินสองหม่ืนบาท หรือท้ังจําท้ังปรบั มาตรา ๒๔ ผูใดลวงรูขอมูลคอมพิวเตอร ขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอร หรือขอมูลของ ผูใชบริการ ท่ีพนักงานเจาหนาที่ไดมาตามมาตรา ๑๘ และเปดเผยขอมูลนั้นตอผู หน่งึ ผูใด ตองระวางโทษจําคุกไมเกนิ สองป หรือปรับไมเกนิ สห่ี มืน่ บาท หรอื ทั้งจําท้ัง ปรบั มาตรา ๒๕ ขอมูล ขอมูลคอมพิวเตอร หรือขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอร ที่พนักงานเจาหนาที่ ไดมาตามพระราชบัญญตั นิ ี้ ใหอา งและรับฟงเปนพยานหลักฐานตามบทบัญญัติแหง ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา หรือกฎหมายอื่นอันวาดวยการสืบพยาน ได แตต องเปนชนดิ ทมี่ ไิ ดเ กิดขึน้ จากการจูงใจ มคี าํ มน่ั สญั ญา ขเู ขญ็ หลอกลวง หรอื โดยมิชอบประการอ่ืน

41 มาตรา ๒๖ ผูใหบริการตองเก็บรักษาขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอรไวไมนอยกวาเกาสิบวันนับ แตวันท่ีขอมูลนั้นเขาสูระบบคอมพิวเตอร แตในกรณีจําเปน พนักงานเจาหนาท่ีจะ ส่ังใหผูใหบริการผูใดเก็บรักษาขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอรไวเกินเกาสิบวัน แตไม เกนิ หนงึ่ ป เปนกรณีพเิ ศษ เฉพาะราย และเฉพาะคราว ก็ได ผูใหบริการจะตองเก็บรักษาขอมูลของผูใชบริการเทาที่จําเปน เพื่อใหสามารถระบุ ตัวผูใชบริการ นับต้ังแตเริ่มใชบริการ และตองเก็บรักษาไวเปนเวลาไมนอยกวาเกา สิบวัน นบั ตั้งแตการใชบรกิ ารสนิ้ สุดลง ความในวรรคหนึ่งจะใชกับผูใหบริการประเภทใด อยางไร และเม่ือใด ใหเปนไป ตามทรี่ ัฐมนตรปี ระกาศในราชกิจจานุเบกษา ผใู หบ รกิ ารผูใ ดไมป ฏบิ ัตติ ามมาตรานี้ ตองระวางโทษปรับไมเกินหา แสนบาท มาตรา ๒๗ ผูใดไมปฏิบัติตามคําสั่งของศาล หรือพนักงานเจาหนาที่ ที่ส่ังตามมาตรา ๑๘ หรือ มาตรา ๒๐ หรือไมปฏิบัติตามคําส่ังของศาลตามมาตรา ๒๑ ตองระวางโทษปรับไม เกินสองแสนบาท และปรับเปนรายวันอีกไมเกินวันละหาพันบาทจนกวาจะปฏิบัติ ใหถ ูกตอ ง

42 มาตรา ๒๘ การแตงต้ังพนักงานเจาหนาที่ตามพระราชบัญญัตินี้ ใหรัฐมนตรีแตงต้ังจากผูมี ความรูและความชํานาญเกี่ยวกับระบบคอมพิวเตอรและมีคุณสมบัติตามที่รัฐมนตรี กําหนด มาตรา ๒๙ ในการปฏิบัติหนาที่ตามพระราชบัญญัติน้ี ใหพนักงานเจาหนาท่ีเปนพนักงานฝาย ปกครองหรือตํารวจช้ันผูใหญ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มี อํานาจรับคํารองทุกขหรือรับคํากลาวโทษ และมีอํานาจในการสืบสวนสอบสวน เฉพาะความผดิ ตามพระราชบญั ญัตนิ ้ี ในการจบั ควบคมุ คน การทาํ สาํ นวนสอบสวน และดาํ เนนิ คดีผูกระทําความผิดตาม พระราชบัญญัตินี้ บรรดาที่เปนอํานาจของพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจชั้น ผูใหญ หรือพนักงานสอบสวน ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ให พนักงานเจาหนาที่ประสานงานกับพนักงานสอบสวนผูรับผิดชอบ เพื่อดําเนินการ ตามอํานาจหนา ทีต่ อ ไป ใหนายกรัฐมนตรี ในฐานะผูกํากับดูแลสํานักงานตํารวจแหงชาติ และรัฐมนตรี มี อาํ นาจรว มกนั กําหนดระเบียบเกี่ยวกับแนวทางและวิธีปฏิบัติในการดําเนินการตาม วรรคสอง

43 มาตรา ๓๐ ในการปฏิบัติหนาท่ี พนักงานเจาหนาท่ีตองแสดงบัตรประจําตัวตอบุคคลซึ่ง เกยี่ วของ บัตรประจําตัวของพนักงานเจาหนาที่ ใหเปนไปตามแบบท่ีรัฐมนตรีประกาศในราช กิจจานุเบกษา ผูรับสนองพระบรมราชโองการ พลเอก สรุ ยทุ ธ จลุ านนท นายกรัฐมนตรี หมายเหตุ เหตุผลในการประกาศใชพระราชบัญญัติฉบับน้ี คือ เนื่องจากในปจจุบัน ระบบ คอมพิวเตอรไ ดเปน สว นสําคัญของการประกอบกิจการและการดํารงชีวิตของมนุษย หากมีผูกระทําดวยประการใด ๆ ใหระบบคอมพิวเตอรไมสามารถทํางานตามคําสั่ง ทีก่ ําหนดไว หรือทาํ ใหการทํางานผดิ พลาดไปจากคาํ สัง่ ที่กาํ หนดไว หรือใชวิธีการใด ๆ เขา ลวงรูขอมลู แกไ ข หรือทําลายขอมลู ของบคุ คลอน่ื ในระบบคอมพวิ เตอร โดยมิ ชอบ หรือใชระบบคอมพิวเตอรเพื่อเผยแพรขอมูลคอมพิวเตอรอันเปนเท็จ หรือมี ลักษณะอันลามกอนาจาร ยอมกอใหเกิดความเสียหายกระทบกระเทือนตอ เศรษฐกิจ สังคม และความม่ันคงของรัฐ รวมท้ังความสงบสุขและศีลธรรมอันดีของ

44 ประชาชน สมควรกําหนดมาตรการเพื่อปองกันและปราบปรามการกระทําดังกลาว จงึ จําเปน ตอ งตราพระราชบญั ญตั นิ ้ี HACKER / CRACKER Hacker หมายถึง มายถึงผูเช่ียวชาญในสาขาคอมพิวเตอร บางคร้ังยังใชหมายถึง ผูเช่ียวชาญในสาขาอื่นนอกจากคอมพิวเตอรดวย โดยเฉพาะผูที่มีความรูใน รายละเอียด หรือ ผูท่ีมีความเฉลียวในการแกปญหาจากขอจํากัด ความหมายที่ใช ในบริบทของคอมพิวเตอรน้ันไดเปล่ียนแปลงไปจากความหมายดั้งเดิม โดยผูใชคํา ในชวงหลังน้ันไดใชในความหมายที่กวางออกไป รวมทั้งในบางครั้งยังใชใน ความหมายที่ขดั แยงกัน Cracker มีความหมายเดียวกันกับ Hacker แตตางกันตรงที่วัตถุประสงคในการ กระทํา จุดมุงหมายของ Cracker คือ บุกรุกระบบคอมพิวเตอรคนอ่ืนโดยผิด กฎหมายเพอื่ ทาํ ลายหรอื เอาขอมูลไปใชสว นตวั แตโ ดยทว่ั ไปแลว มกั เขา ใจกันวาเปน พวกเดียวกันนนั้ เอง คอื มองวา มเี จตนาไมดีทั้งคู ท้งั ท่ีจริง ๆ แลว ไมใช วิธกี ารที่ HACKER และ CRACKER ใชเขาไปกอ กวนในระบบอินเตอรเ นต็

45 1.Password Sniffers เปนโปรแกรมเล็กๆท่ซี อ นอยใู นเครือขา ย และถกู ส่ังให บันทึกการ Log on และรหสั ผาน (Password) แลว นําไปเก็บในแฟม ขอมลู ลับ 2. Spooling เปนเทคนคิ การเขา สูคอมพวิ เตอรท ่อี ยูระยะทางไกล โดยการปลอม แปลงทีอ่ ยูอนิ เนอรเ นต็ (Internet Address) ของเคร่อื งทีเ่ ขา ไดง ายหรือเคร่อื งท่ี เปนมติ ร เพ่ือคนหาจุดที่ใชในระบบรกั ษาความปลอดภัย ภายใน วธิ กี ารคือ การได มาถงึ สถานภาพทเ่ี ปน แกน หรอื ราก (Root) ซง่ึ เปน การเขาสูระบบขนั้ สงู สาํ หรับ ผูบ ริหารระบบ เม่ือไดรากแลวจะสรา ง Sniffers หรือโปรแกรมอ่ืนท่เี ปน Back Door ซ่ึงเปน ทางกลับลบั ๆใสไวในเครื่อง 3. The Hole in the Web เปน ขอบกพรอ งใน World -Wide-Web (WWW ) ซ่งึ เปน สวนหนง่ึ ท่อี ยใู นอินเทอรเ น็ต เน่อื งจากโปรแกรมทใ่ี ชในการปฏิบตั กิ ารของ Website จะมหี ลมุ หรือชองวางทผ่ี ูบุกรกุ สามารถทําทกุ อยา งท่เี จาของ Site สามารถทาํ ได GIG Computer | service contract computer maintenance gigcomputer.net

46 ภัยจากอนิ เตอรเ น็ต การนั่งอยูหนาคอมพิวเตอรภายในหอง หรือในบานของตัวเอง ไมนาจะมีอะไร ตองกังวลหรือเปนหวง แตใครจะคาดคิดวาอันตรายหรือภัยท่ีมาจากอินเทอรเน็ต นั้น รายแรงและเปนอันตรายมากกวาย่ิงกวาภัย อนั ตรายอน่ื ๆ ทีอ่ าจจะเกิดนอกบา นดวยซํา้ การศึกษาวิจัยพบวา เม่ือเปรียบเทียบกับการถูก ขมขูแบบเกาๆ ท่ีมีทั้งการทํารายรางกาย การ เรียกช่ือหยาบๆ แลว การขมขูในโลกไซเบอรทําให รูสึกเปนทุกขหนักหนาสาหัสกวาสําหรับผูตกเปน เหยื่อ การศึกษาวิจัยกอนหนาน้ีมีรายงานวา การขมขูคุกคามซึ่งหนาทั้งการใชกําลัง หรือใชเสียงขูอาจสงผลเสียตอการเรียนของเด็กๆ ทําใหเหย่ือที่ถูกคุกคามมีผลการ เรียนท่ตี กต่ํา

47 ดังนัน้ การขม ขูจ ึงมคี วามเช่ือมโยงกับระดบั ผลการเรียนทต่ี ่ําลง สภาพความ เปน อยู การพัฒนาทางสงั คม และแมแตป ญหาทางจติ ใจซงึ่ อาจยงั ใจไปจนเปน ผใู หญ “มันไมเหมอื นกับการขมขแู บบเกาๆ ที่มกั จะเปน การเผชิญหนากันตัวตอตวั เหย่อื ทถี่ ูกขมขูท างเน็ตอาจจะไมเ หน็ หรือไมร ูวา คนที่รังควานเขาอยเู ปน ใคร” โรนลั ด เจ เอยี นนอตติ หวั หนาทีมศึกษาวิจัยกลา ว อยางไรก็ตาม เขายงั กลา วตอ ไป วา เหย่ือทถ่ี กู ขม ขูทางเนต็ จะรูส กึ โดดเดยี่ ว ไมม คี วามเปนมนุษย หรอื จนตรอก มากกวา เหยื่อท่ีถกู ขมขคู ุกคามในโลกไซเบอร ไมว า จะเปน การย่ัวยุดวยเสียง, การ ขับออกจากสงั คม หรือการรุกรานทางเน็ต จะทาํ ใหเกดิ ความทุกขใ จมากกวา การ ขม ขูคุกคามทัว่ ไป เอียนนอตติเสรมิ วา คนท่ถี ูกขม ขูจะรสู กึ โดดเดี่ยวมากกวา เมื่อถูกขมขูคุกคามทาง โทรศัพทห รอื อินเตอรเ น็ต การขมขคู ุกคามทางอินเตอรเ น็ตไมอ าจบอกสถานทท่ี ่ี แนนอนได และอาจมาจากมุมไหนในโลกน้ีกไ็ ด “เมือ่ ถูกขมขทู างเนต็ คุณไม สามารถหนีไปจากมันได วิธีทีจ่ ะหนีคือคณุ ตอ งเลกิ ใชอินเตอรเนต็ หรอื เลิกใช โทรศพั ทม อื ถอื ” ฮีเธอร แอปเปลเกท ผใู หคําแนะนําการบริการตรวจวนิ จิ ฉยั และ ปอ งกนั ของโรงเรียน Loudoun County กลา ว ในขณะท่ีมรี ายงานวาเด็กผชู าย มกั จะเปน ผขู ม ขูคกุ คามในโลกไซเบอรม ากกวา เด็กผูหญิงจงึ มีความเสยี่ งมากกวาท่ี จะเปน เหยือ่ ถูกขมขู แตความเส่ียงทจ่ี ะถกู กดดนั หรือเปน ทกุ ขจากเร่ืองนม้ี ี เหมอื นกันทั้งสองเพศ ความเสี่ยงบนโลกไซเบอร

48 ถึงแมอินเทอรเน็ตจะมีประโยชนมหาศาล แตในทางกลับกัน ก็มีความเสี่ยง ทุกครั้งเม่ือลูกหลานของทานออนไลน เราควรรูถึงความเส่ียงเหลานี้แตเนิ่นๆ เพื่อ ปองกันลกู หลานจากภัยอินเทอรเน็ตท่ีอาจจะเกดิ ขนึ้ ได ความเสีย่ งเหลา นไ้ี ดแก เปดรับส่ิงที่ไมเหมาะสม เมื่อเขาไปในบางเว็บไซต มีความเปนไปไดท่ีจะเด็กจะเจอ กับสิ่งท่ีไมเหมาะสมโดยไมไดต้ังใจ เชน โฆษณาชวนเช่ือ ขอความรุนแรงในเว็บ บอรด เร่ืองเก่ียวกับเซ็กซภาพอนาจาร ลิงคไปยังเว็บไซตลามก รวมไปถึงกิจกรรม มอมเมาเยาวชน และสง่ิ ผดิ กฎหมายท้ังหลายการละเมดิ สิทธิสว นบุคคล และการทํา รายรางกาย เมื่อเกิดการพูดคุย หรือการแชท (Chat) เกิดขึ้น เด็กอาจจะถูก ลอหลอกใหบอกขอมูลสวนตัวท้ังของตนเอง และของครอบครัว ซ่ึงมิจฉาชีพจะ นําไปหาผลประโยชน และอาจกอความเสียหายรายแรงได หรืออีกในกรณี เด็ก อาจจะถกู ชักชวนใหไปนดั พบกบั เพื่อนในอินเทอรเ นต็ อาจเกิดการลอลวงไปทํามิดีมิ รายได และเกิดอาชญากรรมตามมาถอยคํารุนแรง มักจะเกิดข้ึนเม่ือเด็กเขาไปแชท กับคนแปลกหนา หรือเม่ือเด็กเขาไปอานขอความและแสดงความคิดเห็นในเว บบอรด เวบบอรดสวนใหญจะมีระบบกรองคําหยาบอยูแลว แตก็มีเวบบอรดอีกไม นอยเชนกัน ท่ีสามารถพิมพคําหยาบลงไปได สวนใหญเว็บบอรดที่ไมเหมาะสม เหลานี้จะแฝงตัวอยูในพวกเว็บไซตใตดิน หรือเว็บไซตที่มีเน้ือหาเกี่ยวของกับความ รุนแรง และอนาจารโดยเฉพาะ ซ่ึงเด็กอาจจะพลัดหลงเขาไปในเว็บไซตประเภทนี้ ไดสิ่งผิดกฎหมาย และการเงิน มีความเปนไปไดท่ีเด็กอาจจะถูกเกล้ียกลอมใหบอก หมายเลขบัตรเครดิตของผปู กครอง ดว ยความรเู ทาไมถ งึ การณได หรือแมกระทั่งถูก

49 ชักจงู ใหเ ขาขบวนการมิจฉาชีพ ทําส่ิงผิดกฎหมาย โดยใชอินเทอรเน็ตเปนเครื่องมือ ยาเสพติด ความสามารถในการหาขอมูลเกือบทุกอยางไดจากอินเทอรเน็ต มันงาย จนหลายคนคิดไมถึงเลยทีเดียว เชน เด็กสามารถคนหาขอมูลเก่ียวกับเรื่องที่ตน สนใจไดโดยงาย หรือหาอาวุธตางๆ ได บางเว็บไซตจะมีเน้ือหาสนับสนุนเร่ืองยา เสพติด บุหร่ี และเครื่องดื่มแอลกอฮอลซ่ึงชักชวนเด็กใหคลอยตามไดงาย การพนัน เวบ็ ไซตเกี่ยวกบั การพนนั มมี ากมาย ทง้ั ที่เลน เพอื่ ความสนุก และเลนพนัน ดวยเงินจริง เว็บไซตสวนใหญจะชักชวนใหผูเลนใชบัตรเครดิต หรือเช็ค ซ่ึงเปนอีก ช อ ง ท า ง ห น่ึ ง ที่ ทํ า ใ ห เ กิ ด ก า ร โ จ ร ก ร ร ม ห ม า ย เ ล ข บั ต ร เ ค ร ดิ ต ไ ด ความเส่ียงทั้งหลายที่ตองเผชิญโดยไมไดตองการ เราสามารถปองกันได เพียงดูแล ใหคําแนะนําในการเลนอินเทอรเน็ตอยางถูกวิธีใหแกบุตรหลาน แตไมควรหามเด็ก ไมใหใชอินเทอรเน็ตเลย เพราะอินเทอรเน็ตเปนแหลงการเรียนรูสําหรับเด็ก ถาเรา สอนใหพวกเคารูจักใชอยางถูกวิธีท้ังรวมไปถึงการฝกฝนใหเด็ก ๆ รูจัดจัดสรรเวลา ในดานตาง ใหเปนประโยชนมองเห็นคุณคาของเวลาที่หมดไปโดยสูญเปลาวา เวลา เหลา น้สี ามารถนาํ ไปพฒั นาตนเองใหเ กง ไดเ พือ่ สรางอนาคตทด่ี ีใหก บั ตนเอง

50 หนวยที่ 3จริยธรรมและความปลอดภยั จรยิ ธรรมของคอมพิวเตอร ความหมายจรยิ ธรรมคอมพิวเตอร เปนหลักเกณฑที่ประชาชนตกลงรวมกันเพื่อใชเปนแนวทางในการปฏิบัติ รวมกัน สาํ หรบั ตัวอยางของการกระทําทย่ี อมรับกันโดยทั่วไปวา เปนการกระทําท่ีผิด จริยธรรม เชน 1. การใชค อมพิวเตอรท ํารายผูอ นื่ ใหเ กดิ ความเสียหายหรือกอ ความราํ คาญ 2. การใชคอมพวิ เตอรใ นการขโมยขอ มูล 3. การเขาถงึ ขอมลู หรือคอมพิวเตอรของบุคคลอืน่ โดยไมไดร บั อนญุ าต


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook