Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Network-system-Basic-computer1.1

Network-system-Basic-computer1.1

Published by wanpen saelao, 2019-01-25 01:07:19

Description: Network-system-Basic-computer1.1

Search

Read the Text Version

หนังสือเล่มน้ีถูกเรียบเรียงขึ้นเพื่อนำมำใช้กับหลักสูตรแกนกลำงกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน พุทธศักรำช 2551 ตำมตวั ชว้ี ัดและสำระกำรเรยี นรู้แกนกลำงของกลุ่มสำระกำรเรยี นรู้กำรงำนอำชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศกึ ษำปีท่ี 4-6 ซึ่งมีเน้ือหำครอบคลุมและตรงตำมหลักสูตรของสำนักงำนคณ ะกรรมกำรกำรศึกษำข้ันพ้ืนฐำน กระทรวงศึกษำธิกำร โดยในเล่มให้เนื้อหำทำงด้ำนระบบเครือข่ำยเบ้ืองต้น ทั้งภำคทฤษฎี และภำคปฏิบัติ ซ่ึง สอดคล้องกับหลักสูตรท่ีมุ่งเน้นทักษะเพื่อให้ผู้เรียนสำมำรถปฏิบัติได้ โดยนอกจำกปูพ้ืนฐำนควำมรู้วิชำกำรในเชิง ทฤษฎแี ล้ว ยงั ปูควำมรูเ้ ชิงปฏบิ ตั เิ พอ่ื ให้ผเู้ รียนสำมำรถนำไปประยกุ ต์ใชท้ ำงอำชีพไดต้ อ่ ไปในอนำคต อธบิ ำยเน้อื หำ โดยละเอยี ด เปน็ ลำดบั ขั้นตอน พร้อมตวั อยำ่ งหลำกหลำย เข้ำใจงำ่ ย สำมำรถนำไปใช้งำนได้กบั ชวี ิตจรงิ

บท หน้ำ พ้ืนฐำนกำรส่อื สำรขอ้ มลู และเครอื ขำ่ ย 1-9 เครอื ข่ำยคอมพวิ เตอร์ 10-19 มำตรฐำนกำรเชอ่ื มต่อระบบเครอื ข่ำย 20-31 อปุ กรณ์ในระบบเครือขำ่ ยคอมพิวเตอร์ 32-36 กำรเชอ่ื มต่อเครือข่ำยแบบเวริ ์กกรุป๊ ด้วย Windows XP 37-39 กำรแชรไ์ ฟลแ์ ละเครอ่ื งพิมพบ์ นเครอื ข่ำย 40-46 กำรตรวจสอบและแก้ไขปญั หำของระบบเครือข่ำย 47-56 ระบบเครือข่ำยอนิ เทอร์เน็ต 57-78

บทท่ี 1 พ้นื ฐานการส่อื สารขอ้ มลู และเครอื ข่าย ความหมายของการส่ือสารข้อมลู กำรสือ่ สำรข้อมูล เปน็ กระบวนกำรถ่ำยโอนขอ้ มูล/สำรสนเทศจำกแหลง่ กำเนดิ ขำ่ วสำรผ่ำนสือ่ กลำง เพื่อสง่ ไปยงั จดุ หมำยปลำยทำงท่ีต้องกำร สว่ นประกอบของระบบกำรสื่อสำรขอ้ มูล (Components of Data Communication System)- ขำ่ วสำร (Message) ขอ้ มลู หรือสำรสนเทศที่อำจเปน็ ข้อควำม ตัวเลข เสยี ง และวิดีโอ - ผู้สง่ (Sender/Source) อปุ กรณ์ทใ่ี ชส้ ำหรับส่งข่ำวสำร เช่น คอมพวิ เตอร์ โทรศัพท์ - ผรู้ ับ (Receiver/Destination) อุปกรณ์ทีใ่ ช้สำหรับรับข่ำวสำร เชน่ คอมพวิ เตอร์ โทรศัพท์ - สอื่ กลำงสง่ ข้อมูล (Transmission Medium) เชน่ สำยไฟเบอร์ออปติก หรือคลน่ื วทิ ยุ เปน็ ตน้ โพรโทคอล (Protocol) กลุ่มของกฎเกณฑแ์ ละขอ้ ปฏบิ ัติต่ำง ๆ ทก่ี ำหนดขนึ้ มำ เพอื่ นำมำใช้เป็นข้อตกลงร่วมกนั ระหวำ่ งผ้สู ง่ และผูร้ บั เพ่ือให้กำรสอ่ื สำรบรรลุผล กำรใชท้ รัพยำกรร่วมกนั ชว่ ยลดต้นทนุ เพ่ิมควำมสะดวกในดำ้ นกำรสื่อสำร ควำมนำ่ เช่อื ถือและควำมปลอดภยั ของระบบ ประเภทของเครือข่ำย (Categories of Networks) เครอื ข่ำยทอ้ งถน่ิ (Local Area Network: LAN) เครือข่ำยระดบั เมอื ง (Metropolitan Area Network: MAN) เครอื ข่ำยระดบั ประเทศ (Wide Area Network: WAN) อนิ เทอร์เน็ต (The Internet) เครือข่ำยไวร์เลสแลนหรือเครอื ข่ำยแบบไรส้ ำย 2

สวิตชิง 1. ไมโครคอมพวิ เตอร์กับเครือข่ำยท้องถ่นิ (Microcomputer-to-LAN Configurations) กำรสื่อสำรโทรคมนำคม (Telecommunication) กำรสื่อสำรโทรคมนำคม หมำยถึง กำรสื่อสำรระยะไกล โดยมวี ตั ถุประสงค์เพื่อกำรแลกเปล่ียนสำรสนเทศ เกย่ี วข้องกับกำรใช้งำนเคร่ืองอเิ ล็กทรอนกิ ส์ (Electronics Transmitters) เช่น โทรศัพท์ โทรทศั น์ วิทยุ หรอื คอมพิวเตอร์ ซึ่งระบบกำรสอ่ื สำรโทรคมนำคมในยคุ ปัจจุบันถอื วำ่ มบี ทบำทสำคัญต่อกำรพัฒนำประเทศชำติเป็น อย่ำงมำก โดยจะพบวำ่ ประเทศท่ีพฒั นำแลว้ ลว้ นแต่มรี ะบบกำรส่ือสำรโทรคมนำคมทกี่ ้ำวหน้ำและทนั สมัย ที่มสี ว่ น สำคัญตอ่ กำรผลักดันธรุ กิจต่ำง ๆ ให้เกิดขึน้ ซงึ่ สง่ ผลต่อกำรพฒั นำระบบเศรษฐกจิ โลกในยุคนที้ ีเดยี ว ควำมหมำยของเครือข่ำย ในสว่ นของ “เครอื ขำ่ ย” หมำยถึง เครือข่ำยที่มกี ำรเช่ือมโยงกนั ในระยะใกล้ภำยในพ้ืนทเ่ี ดยี วกัน (Local) กบั เครือข่ำยที่เชอื่ มโยงแบบระยะไกล (Remote) โดยเฉพำะเครอื ขำ่ ยทเ่ี ชอื่ มโยงแบบระยะไกลน้ัน จำเป็นต้องพ่ึงพำ ชอ่ งทำงกำรสอื่ สำรโทรคมนำคมเพ่ือใหส้ ำมำรถสง่ ข้อมูลระยะไกลได้ ตวั อยำ่ งของกำรสื่อสำรโทรคมนำคม- โทรเลข (Telegraphy) - โทรสำร (Facsimile) - โทรศัพท์ (Telephone) - โทรทัศน์ (Television) - วิทยุกระจำยเสยี ง (Radio) 3

- ไมโครเวฟ (Microwave) - ดำวเทยี ม (Satellite) เครอื ข่ำยคอมพิวเตอร์ (Computer Networks)เครอื ข่ำยคอมพวิ เตอร์ คือ กำรนำกลมุ่ คอมพวิ เตอร์และอุปกรณ์ ต่ำง ๆ มำเช่ือมต่อกนั เปน็ เครือขำ่ ย โดยใชส้ ่ือกลำงซ่ึงเปน็ สำยเคเบลิ หรือคลืน่ วิทยุเป็นเส้นทำงกำรลำเลยี งข้อมูล เพื่อสื่อสำรระหว่ำงกนั และกำรที่เครือข่ำยสำมำรถเชอ่ื มโยงกนั เป็นหน่งึ เดยี วได้ก็เพรำะระบบปฏบิ ตั ิกำรเครอื ขำ่ ย ซึ่งจดั เปน็ ซอฟต์แวร์ระบบที่สำคญั ทนี่ ำมำใช้เชอื่ มโยงอุปกรณ์ฮำร์ดแวรเ์ ขำ้ ดว้ ยกัน และทำหน้ำทีบ่ รหิ ำรจัดกำร ทรพั ยำกรบนเครือข่ำยอยำ่ งเปน็ ระบบ ทำให้ผูใ้ ชส้ ำมำรถเข้ำใช้งำนทรัพยำกรร่วมกนั บนเครือข่ำยได้อย่ำงสะดวก กอ่ นจะเป็นเครือข่ำย Sneaker หมำยถึง รองเท้ำของบคุ คลทเ่ี ดินไปคดั ลอกสำเนำขอ้ มลู ดงั นั้น Sneaker จงึ หมำยถึงเครือข่ำยทใี่ ชบ้ ุคคล ในกำรเดนิ เท้ำเพื่อถำ่ ยโอนข้อมูลนนั่ เอง อย่ำงไรก็ตำม Sneakernet น้ันเป็นคำเปรียบเปรยเชิงล้อเลน่ มำกกวำ่ ท่จี ะ นำไปใชเ้ ป็นศัพทเ์ ชงิ ทำงกำร ประโยชน์ของเครอื ขำ่ ย 4

เครอื ข่ำยท้องถน่ิ เป็นเครอื ขำ่ ยสว่ นบุคคล ทีม่ กี ำรลิงคเ์ ชอ่ื มโยงระหว่ำงพีซคี อมพิวเตอร์และอุปกรณ์เพือ่ กำรใชง้ ำน รว่ มกนั เครอื ข่ำยท้องถ่ินอำจมีเพยี งพซี ีคอมพิวเตอร์เพียง 2 เคร่อื งเพ่ือใช้งำนตำมบำ้ นเรือน หรือเชือ่ มโยงพซี ี คอมพวิ เตอร์เปน็ ร้อยเคร่ืองสำหรับองค์กรขนำดใหญ่ โดยจะครอบคลมุ ระยะทำงไม่กี่กิโลเมตร เครือข่ำยทอ้ งถิ่นหรือมกั เรียกสั้น ๆ ว่ำ เครอื ข่ำยแลน นน้ั ไดร้ บั กำรออกแบบมำเพ่ืออนุญำตใหส้ ำมำรถแชร์ ทรพั ยำกรบนเครือขำ่ ยรว่ มกันได้ เชน่ กำรแชร์ข้อมูล โปรแกรม และเครอื่ งพิมพ์ เปน็ ต้น เป็นเครือขำ่ ยที่มีขนำดระหว่ำงเครือขำ่ ยแลนและเครือขำ่ ยแวน ซง่ึ ปกติจะครอบคลมุ พ้นื ที่ภำยในเมืองหรือจงั หวดั โดยเปน็ เครือข่ำยทอ่ี อกแบบมำเพอื่ ให้ลกู คำ้ สำมำรถเช่ือมต่อใชง้ ำนเพื่อกำรสือ่ สำรควำมเร็วสงู

5 เครอื ข่ำยระดบั ประเทศหรอื เครือขำ่ ยแวนสำมำรถส่งผ่ำนข้อมลู ได้ระยะไกล สำมำรถสอ่ื สำรข้ำมประเทศหรือข้ำม ทวีปได้ เครือข่ำยแวนอำจมีสำยแกนหลักจำนวนมำกกว่ำหนงึ่ เสน้ ทีน่ ำไปใช้เชื่อมต่อเข้ำกับอินเทอรเ์ นต็ นอกจำก ขนำดของเครือขำ่ ยท่ีสำมำรถเช่อื มโยงได้ไกลข้ำมประเทศอย่ำงเครอื ขำ่ ยแวนแล้ว สอื่ สง่ ข้อมูลท่ใี ช้ในเครอื ขำ่ ยแวน ก็มีหลำยชนดิ ไม่วำ่ จะเปน็ สำยโทรศพั ท์ สำยเคเบิล รวมถึงกำรสือ่ สำรผำ่ นดำวเทยี ม เปน็ ตน้ อนิ เทอรเ์ นต็ จดั เป็นเครือข่ำยสำธำรณะ (Public Network) ที่ได้เข้ำมำมบี ทบำทตอ่ กำรดำเนเนชวี ิตปัจจบุ นั ของ มนุษยใ์ นยคุ น้ี จึงทำใหร้ ูปแบบธุรกจิ เดิมท่ีเคยดำเนนิ กำรอยู่ จำเปน็ ตอ้ งเปลย่ี นรปู แบบด้วยกำรใช้ชอ่ งทำงกำร

จำหนำ่ ยผ่ำนอินเทอร์เน็ตเพ่ือสรำ้ งทำงเลอื กและควำมสะดวกในดำ้ นกำรบริกำรแก่ลกู คำ้ โดยลกู ค้ำสำมำรถเลือก ซ้อื สนิ คำ้ หรือบริกำรผำ่ นทำงเวบ็ ไซต์ ท้งั นมี้ ิได้จำกัดเพียงลกู คำ้ ภำยในประเทศ แตน่ ัน่ หมำยถงึ ลกู ค้ำทั่วโลกท่ี สามารถเขา้ ใช้บริการนผี้ า่ นทางเว็บไซต์ อนิ เทอรเ์ น็ตประกอบดว้ ยเครือข่ำยท่ีหลำกหลำย ดังน้นั อุปกรณ์ท่เี รยี กวำ่ เรำ้ เตอร์ (Router) จึงถูกนำมำใช้เพื่อ กำรเชือ่ มต่อระหว่ำงเครือขำ่ ยเขำ้ ดว้ ยกัน เร้ำเตอร์จัดเปน็ อุปกรณ์สำคัญของเครือข่ำยอนิ เทอรเ์ นต็ ทีเดยี ว เพอ่ื ใช้ สำหรับกำหนดเส้นทำงบนเครือขำ่ ย นอกจำกนรี้ ะบบคอมพิวเตอร์ทเ่ี ชื่อมต่อบนเครือขำ่ ยอนิ เทอร์เนต็ นนั้ มี ค่อนข้ำงหลำกหลำยและอำจมแี พลตฟอร์ม (Platform) ที่แตกต่ำงกัน ไม่วำ่ จะเป็นด้ำนสถำปตั ยกรรมของ ฮำร์ดแวร์และซอฟต์แวรก์ ็ตำม เมอ่ื เปน็ เช่นน้ีอปุ กรณอ์ ยำ่ ง เกตเวย์ (Gateway) จึงถูกนำมำใช้งำนเพ่ือใหร้ ะบบ คอมพวิ เตอร์ที่มีระบบแตกต่ำงกันอย่ำงสิ้นเชิงสำมำรถสื่อสำรรว่ มกันเปน็ เครือข่ำยเดยี วกันได้ เทคโนโลยกี ำรรับ-ส่งข้อมูลภำยในเครือขำ่ ยคอมพิวเตอรเ์ ครือขำ่ ยคอมพิวเตอร์ที่มีกำรใช้งำนมำกทส่ี ุด คือ เครือข่ำยแลน ซ่งึ เครือข่ำยแลนนนั้ มีจดุ ม่งุ หมำย เพอื่ ให้คอมพวิ เตอร์หลำยเครือ่ งรบั -สง่ ข้อมูลระหวำ่ งกันได้ หรือ อุปกรณ์อิเลก็ ทรอนิกสร์ ว่ มกนั ด้วยสำเหตุนจี้ ึงมีกำรพัฒนำเทคโนโลยี เชน่ วธิ ีกำรเชอื่ มโยงเครอื ขำ่ ยตำ่ งๆ เพ่ือลด ควำมยุ่งอยำกในกำรเชอื่ มโยงสำยสัญญำณด้วยกำรใชจ้ ำนวนสำยสญั ญำณน้อย โดยเทคโนโลยกี ำรรับ-สง่ ขอ้ มลู ภำยในเครือข่ำยแลนทนี่ ่ำสนใจมี ดังนี้

1. อินเทอรเ์ น็ต 7 2.โทเคน็ รงิ

4.ไฮเบริด 1. กำรเชือ่ มต่อเครือข่ำยคอมพวิ เตอร์ (Computer Networks-Basic Configurations) ในหัวขอ้ น้ีจะกลำ่ วถึงกำรเช่อื มต่อเครือข่ำยคอมพิวเตอร์ในมุมมองเชิงกำยภำพ ทแี่ สดงใหเ้ ห็นถึงกำรเช่อื มต่อใน ลักษณะต่ำง ๆ และโดยปกตเิ รำสำมำรถพบเหน็ เครือข่ำยคอมพวิ เตอร์ทีเ่ ชื่อมต่อในมุมมองตำ่ ง ๆ ได้จำกกำรสงั เกต ตำมองค์กรหรือหน่วยงำน หรือจำกกำรใช้งำนประจำวนั ไมว่ ่ำจะท่ีบำ้ น สำนักงำน หรอื สถำบนั กำรศึกษำ เรำ สำมำรถพูดได้วำ่ ในปัจจบุ ันน้ี กำรเชอ่ื มต่อไมโครคอมพิวเตอร์ในรปู แบบของเครือขำ่ ยท้องถนิ่ น้ัน สำมำรถ 8 พบเห็นไดต้ ำมสำนักงำนทั่วไป ท้ังน้เี ครอื ขำ่ ยท้องถิน่ จัดเป็นเคร่ืองมือท่ีดเี ยย่ี มสำหรับกำรแชร์ใช้งำนโปรแกรม ข้อมูล และอุปกรณ์ได้เป็นอย่ำงดดี ว้ ยอัตรำกำรใชง้ ำนไมโครคอมพวิ เตอร์ และกำรนำมำเชื่อมต่อเปน็ เครอื ข่ำย ทอ้ งถิ่นจำนวนมำก จึงทำใหม้ ีกำรพัฒนำเทคโนโลยีนีอ้ ยำ่ งต่อเนือ่ ง โดยปัจจบุ ันเครือข่ำยทอ้ งถน่ิ มอี ัตรำควำมเร็วใน กำรสง่ ข้อมลู สูงคือ ตั้งแต่ 100 เมกะบติ ตอ่ วินำที (100 Mbps) จนถึงระดบั กกิ ะบติ ต่อวนิ ำที (1 Gbps) 2. ไมโครคอมพวิ เตอร์กบั อนิ เทอรเ์ น็ต (Microcomputer-to-Internet Configurations) จำกกำรเติบโตของเครอื ขำ่ ยอินเทอรเ์ น็ต และกระแสกำรใชง้ ำนไมโครคอมพิวเตอรต์ ำมบ้ำนพักอำศัยมีจำนวนมำก ขน้ึ ดงั น้ันกำรนำไมโครคอมพิวเตอร์มำเชือ่ มตอ่ กบั เครือข่ำยอนิ เทอรเ์ น็ตจึงมีอตั รำสูงขึน้ อยำ่ งต่อเนอ่ื ง ผู้ใช้ตำม บ้ำนพักอำศยั ส่วนใหญ่ใช้งำนอินเทอร์เนต็ ด้วยเทคโนโลยรี ะบบ ADSL ท่ีกลุ่มลกู ค้ำตำมบ้ำนพกั อำศัยสำมำรถมี ทำงเลือกในกำรใชบ้ ริกำรอินเทอร์เนต็ ควำมเรว็ สูงได้ โดยอัตรำควำมเร็วในกำรดำวนโ์ หลดข้อมูลมไี ดต้ ้ังแต่ Mbps

แตก่ ำรใชบ้ รกิ ำรระบบ ADSL ไดน้ น้ั บริษัทผ้ใู หบ้ ริกำรอนิ เทอรเ์ น็ต (ISP) จะต้องมีกำรติดตั้งระบบดงั กล่ำว ครอบคลุมพ้ืนที่ทีต่ ้องกำรใช้งำนดว้ ย ลูกค้ำตำมบ้ำนักอำศยั จึงสำมำรถใชบ้ ริกำรได้ ทีส่ ำคัญกำรบริกำร ADSL จำเปน็ ตอ้ งเสยี ค่ำใชจ้ ำ่ ยรำยเดือน และสำมำรถเชอื่ มโยงใชง้ ำนไดต้ ลอด 24 ชั่วโมง 3. เครอื ข่ำยทอ้ งถน่ิ กบั เครอื ข่ำยอนิ เทอรเ์ น็ต (LAN-to-Internet Configurations) อุปกรณ์ทเี่ รียกว่ำ “เร้ำเตอร์ (Router)” จดั เปน็ อุปกรณส์ ำคัญทีจ่ ะตอ้ งนำมำใช้เพอื่ เช่ือมต่อระหวำ่ งเครือข่ำยทง้ั สอง ถึงแม้ว่ำอุปกรณ์สวติ ช์หรอื บรดิ จ์จะสำมำรถนำมำใชเ้ ชอื่ มตอ่ ระหวำ่ งเครือข่ำยได้เช่นกัน แตห่ ลกั กำรทำงำนจะ แตกต่ำงกนั โดยเฉพำะเร้ำเตอรจ์ ะมีขดี ควำมสำมำรถในกำรจัดกำรเส้นทำงกำรเดนิ ทำงของข้อมูลที่รบั ส่งกนั ระหว่ำงเครอื ขำ่ ยจำนวนมำกทเ่ี ชอื่ มต่อกนั บนเครือขำ่ ยอนิ เทอร์เน็ตได้เป็นอยำ่ งดี และมีหลักกำรทำงำนท่ซี ับซ้อน กวำ่ อุปกรณ์อย่ำงบรดิ จแ์ ละสวิตช์ 4. ดำวเทยี มและไมโครเวฟ (Satellite and Microwave) เทคโนโลยดี ำวเทยี มและไมโครเวฟ จัดเป็นเทคโนโลยีหนึง่ ที่กำลงั ได้รบั ควำมนยิ มและนำมำใชง้ ำนอย่ำงแพรห่ ลำย ซ่งึ หำกระยะทำงระหว่ำงสองเครือขำ่ ยไกลกันมำก และยำกต่อกำรเดินสำยสญั ญำณเพอ่ื เชอ่ื มต่อระหวำ่ งกัน หรือ แทบจะเช่ือมโยงผำ่ นสำยไม่ไดเ้ ลยเนือ่ งจำกปัญหำด้ำนภูมิศำสตร์ ดังนน้ั กำรส่งผำ่ นข้อมูลด้วยกำรใช้เทคโนโลยี ดำวเทียมและไมโครเวฟจึงเป็นแนวทำงหนึงทส่ี ำมำรถเช่ือมต่อเครือขำ่ ยทัง้ สองให้สำมำรถสอื่ สำรกันไดอ้ ย่ำงมี ประสิทธิภำพ โดยเฉพำะกำรนำมำประยุกตใ์ ชเ้ พ่ืองำนแพร่ภำพทวี ผี ่ำนดำวเทียม 9

โทรศัพท์เคลอ่ื นที่ ระบบ GPS และวดิ โี อคอนเฟเรน็ ซ์ 5. โทรศพั ท์ไร้สำย (Wireless Telephone) ตัวอย่ำงของคอมพิวเตอร์โนต๊ บุคทนี่ ำมำใชเ้ ชือ่ มต่อกับโทรศัพทไ์ รส้ ำยผำ่ นสำยเคเบิลหรอื บลทู ธู (Bluetooth) กำร สง่ ผำ่ นขอ้ มลู จำกโทรศัพท์ไรส้ ำยทเี่ ชื่อมต่อกับโนต๊ บุค จะสง่ ไปยงั ศนู ย์กลำงโทรศัพท์ไร้สำย (Wireless Telephone Switching Center) ซงึ่ ศนู ยก์ ลำงนเ้ี องจะทำหนำ้ ที่ช่วยในกำรถ่ำยโอนขอ้ มูลระหว่ำงโน๊ตบคุ ผ่ำน โครงขำ่ ยโทรศัพทส์ ำธำรณะ รวมถึงกำรเชือ่ มต่อไปยงั เครอื ขำ่ ยอนิ เทอร์เน็ต

บทที่ 2 เครือข่ายคอมพวิ เตอร์ ความสาคัญของเครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์ ธรรมชำติมนษุ ยต์ อ้ งอยูร่ วมกันเป็นกลุม่ มีกำรติดตอ่ สื่อสำรระหวำ่ งกนั รว่ มกนั ทำงำนสร้ำงสรรสังคมเพ่ือให้ ควำม เป็นอยโู่ ดยรวมดขี น้ึ จำกกำรดำเนินชวี ิตรว่ มกนั ท้ังในดำ้ นครอบครัว กำรทำงำนตลอดจนสงั คมและกำรเมือง ทำให้ ต้องมีกำรพบปะแลกเปลย่ี นข้อมูลระหว่ำงกนั เม่ือมนุษย์มคี วำมจำเปน็ ทจ่ี ะติดตอ่ ส่ือสำรระหวำ่ งกัน พฒั นำกำร ทำงดำ้ นคอมพิวเตอร์จงึ ตอ้ งตอบสนองเพื่อใหใ้ ชง้ ำนไดต้ ำมควำมตอ้ งกำร แรกเริ่มมีกำรพัฒนำคอมพิวเตอรแ์ บบ รวมศนู ย์ เชน่ มนิ คิ อมพิวเตอร์ หรอื เมนเฟรม โดยให้ผใู้ ช้งำนใชพ้ ร้อมกนั ไดห้ ลำยคน แต่ละคนเปรียบเสมือน เปน็ สถำนีปลำยทำง ทเ่ี รียกใช้ทรัพยำกร กำรคำนวณจำกศูนย์คอมพวิ เตอร์และให้คอมพวิ เตอรต์ อบสนองต่อ กำร ทำงำนน้ัน ตอ่ มำมีกำรพัฒนำไมโครคอมพิวเตอร์ท่ที ำให้สะดวกต่อกำรใช้งำนสว่ นบคุ คล จนมกี ำรเรียก ไมโครคอมพวิ เตอร์ ว่ำ พีซี (Personal Competer:PC) กำรใชง้ ำนคอมพิวเตอร์จึงแพรห่ ลำยอย่ำงรวดเร็ว เพรำะ กำรใชง้ ำนง่ำยรำคำ ไม่สูงมำก สำมำรถจัดหำมำใช้ไดไ้ มย่ ำก เมอ่ื มีกำรใชง้ ำนกนั มำก บริษัทผู้ผลิตคอมพิวเตอร์ ตำ่ งๆ ก็ปรบั ปรงุ และพัฒนำเทคโนโลยีให้ตอบสนองควำมต้องกำรที่จะทำงำนร่วมกันเปน็ กลุ่มในรูปแบบเครือขำ่ ย คอมพิวเตอร์ จึงเป็นวธิ ีกำรหนง่ึ และกำลงั ไดร้ บั ควำมนิยมสงู มำก เพรำะทำใหต้ อบสนองตรงควำมต้องกำรท่ีจะ ติดตอ่ ส่อื สำร ข้อมลู ระหว่ำงกัน เทคโนโลยคี อมพิวเตอร์ไดร้ ับกำรพฒั นำเร่ือยมำจำกเคร่ืองคอมพวิ เตอรข์ นำดใหญ่ ได้แก่ เมนเฟรม มินคิ อมพิวเตอร์ มำเป็นไมโครคอมพวิ เตอร์ ทมี่ ีขนำดเล็กลงแต่มีประสิทธิภำพสงู ขน้ึ ไมโครคอมพวิ เตอร์ก็ได้รบั กำรพฒั นำใหม้ ีขีดควำมสำมำรถและทำงำนไดม้ ำกขน้ึ จนกระทัง่ คอมพวิ เตอรส์ ำมำรถ ทำงำนรว่ มกนั เปน็ กลุม่ ได้ ดังน้นั จึงมกี ำรพัฒนำให้คอมพิวเตอรท์ ำงำนในรปู แบบ เครือข่ำยคอมพวิ เตอร์ คือนำเอำ เครื่องคอมพวิ เตอร์ ขนำดใหญม่ ำเป็นสถำนบี ริกำร หรือท่ีเรียกวำ่ เคร่อื งใหบ้ ริกำร (Server ) และให้ ไมโครคอมพวิ เตอรต์ ำม หน่วยงำนต่ำงๆ เปน็ เครื่องใช้บริกำร (Client) โดยมีเครอื 11

ขำ้ ย(Network) เป็นเสน้ ทำงเชอื่ มโยงคอมพิวเตอร์จำก จดุ ต่ำงๆ ในท่ีสดุ ระบบเครือข่ำยก็จะเข้ำมำแทนระบบ คอมพิวเตอร์เดมิ ทเ่ี ป็นแบบรวมศนู ย์ได้ เครอื ขำ่ ยคอมพิวเตอร์ทวีควำมสำคัญและได้รบั ควำมนยิ มมำกขึ้น เพรำะ สำมำรถสร้ำงระบบคอมพวิ เตอรใ์ ห้ พอเหมำะกับงำน ในธุรกจิ ขนำดเล็กท่ีไม่มีกำลังในกำรลงทนุ ซือ้ เครือ่ ง คอมพิวเตอร์ที่มรี ำคำสงู เชน่ มินิคอมพวิ เตอร์ ก็สำมำรถใช้ไมโครคอมพวิ เตอร์หลำยเครื่องต่อเช่อื มโยงกันเปน็ เครอื ข่ำย โดยใหไ้ มโครคอมพิวเตอร์เครือ่ งหนึ่ง เป็นสถำนีบรกิ ำรที่ทำให้ใชง้ ำนข้อมลู ร่วมกันได้ เม่ือกิจกำร เจรญิ กำ้ วหนำ้ ข้ึนก็สำมำรถขยำยเครอื ข่ำยกำรใช้ คอมพวิ เตอรโ์ ดยเพม่ิ จำนวนเครื่องหรือขยำยควำมจุข้อมลู ให้ พอเหมำะกบั องค์กร ในปจั จบุ ันองค์กำรขนำดใหญก่ ส็ ำมำรถลดกำรลงทุนลงได้ โดยใชเ้ ครือข่ำยคอมพวิ เตอร์ เช่อื มโยงจำกกลุ่มเล็ก ๆ หลำย ๆ กลมุ่ รวมกนั เป็นเครือข่ำยขององค์กำร โดยสภำพกำรใชข้ อ้ มลู สำมำรถทำได้ดี เหมอื น เช่นในอดีตที่ต้องลงทุนจำนวนมำก เครือข่ำยคอมพิวเตอร์มบี ทบำทท่ีสำคัญต่อหน่วยงำนต่ำงๆ ดังน้ี 1. ทำให้เกดิ กำรทำงำนร่วมกันเปน็ กลุม่ และสำมำรถทำงำนพร้อมกนั 2. ใหส้ ำมำรถใช้ข้อมลู ตำ่ งๆ ร่วมกัน ซ่งึ ทำให้องค์กำรได้รบั ประโยชน์มำกขนึ้ 3. ทำใหส้ ำมำรถใช้ทรัพยำกรได้คุม้ ค่ำ เชน่ ใชเ้ ครอื่ งประมวลผลรว่ มกัน แบ่งกนั ใช้แฟ้มข้อมูล ใช้ เครือ่ งพิมพ์ และ อุปกรณ์ท่มี ีรำคำแพงรว่ มกนั 4. ทำใหล้ ดต้นทุน เพรำะกำรลงทนุ สำมำรถลงทุนใหเ้ หมำะสมกับหนว่ ยงำนได้ ชนดิ ของเครือข่ายเครือข่ำยคอมพิวเตอร์แบง่ แยกตำมสภำพกำรเชือ่ มโยงได้ 2 ชนดิ - เครอื ข่ำยแลน (Local Area Network : LAN) - เครือข่ำยแวน (Wide Area Network : WAN เครือข่ายแลน

12 หรือเครอื ข่ำยคอมพิวเตอร์ทอ้ งถิน่ เปน็ เครือข่ำยคอมพวิ เตอรซ์ งึ่ เช่อื มโยงคอมพวิ เตอร์และอุปกรณส์ ่ือสำรท่ีอยูใ่ น ทอ้ งท่ี บรเิ วณเดียวกนั เขำ้ ด้วยกนั เชน่ ภำยในอำคำร หรือภำยในองค์กำรที่มีระยะทำงไม่ไกลมำกนัก เครอื ขำ่ ย แลนจัดได้วำ่ เปน็ เครือขำ่ ยเฉพำะขององค์กำร กำรสรำ้ งเครือขำ่ ยแลนนี้องค์กำรสำมำรถดำเนนิ กำรทำเองได้ โดย วำงสำยสัญญำณสอื่ สำรภำยในอำคำรหรือภำยในพ้ืนที่ของตนเอง เครือขำ่ ยแลน มีตั้งแต่เครือข่ำยขนำดเล็กท่ี เชอื่ มโยงคอมพิวเตอรต์ ั้งแตส่ องเคร่ืองขึ้นไปภำยในห้องเดยี วกันจนเชอ่ื มโยงระหวำ่ งห้อง หรือองค์กำรขนำดใหญ่ เช่นมหำวิทยำลยั มกี ำรวำงเครือข่ำยทเ่ี ช่ือมโยงระหว่ำงอำคำรภำยในมหำวทิ ยำลยั เครือข่ำยแลนจงึ เป็นเครือข่ำยท่ี รับผิดชอบโดยองค์กำรทเ่ี ป็นเจ้ำของ ลกั ษณะสำคญั ของเครือข่ำยแลน คืออปุ กรณ์ท่ปี ระกอบภำยในเครือขำ่ ย สำมำรถรบั ส่งสญั ญำณกันด้วยควำมเรว็ สงู มำก โดยทวั่ ไปมีควำมเร็วตัง้ แต่ หลำยสบิ ลำ้ นบติ ตอ่ วินำที จนถงึ ร้อยลำ้ น บิตตอ่ วนิ ำที กำรส่ือสำรในระยะใกลจ้ ะมีควำมเร็วในกำรสอื่ สำรสูง ทำให้กำรรับส่งข้อมลู มีควำมผิดพลำดน้อยและ สำมำรถรับสง่ ข้อมลู จำนวนมำกในเวลำจำกัดได้ เครอื ขา่ ยแวน

เปน็ เครอื ขำ่ ยคอมพิวเตอร์ทเี่ ชอ่ื มโยงระบบคอมพวิ เตอรใ์ นระยะไกล เช่น เชอ่ื มโยงระหว่ำงจังหวดั ระหว่ำง ประเทศ กำรสรำ้ งเครือข่ำยระยะไกล จงึ ต้องอำศัยระบบบริกำรข่ำยสำยสำธำรณะ เชน่ สำยวงจรเช่ำจำก องค์กำรโทรศัพท์แห่งประเทศไทยหรือจำกกำรส่ือสำรแห่งประเทศไทย ใช้วงจรส่ือสำรผ่ำนดำวเทียม ใชว้ งจร สือ่ สำรเฉพำะกจิ ท่มี ใี หบ้ ริกำรแบบสำธำรณะ เครือข่ำยแวนจึงเป็นเครือขำ่ ย ท่ีใชก้ ับองค์กำรทีม่ สี ำขำห่ำงไกลและ ต้องกำรเชอื่ มสำขำเหลำ่ น้ันเข้ำดว้ ยกัน เชน่ ธนำคำรมสี ำขำท่วั ประเทศ มบี ริกำร รับฝำกเงนิ ผำ่ นตู้เอทีเอ็ม เครือข่ำยแวนเชือ่ มโยงระยะไกลมำก จงึ มีควำมเร็วในกำรสอ่ื สำรจึงไมส่ งู เนื่องจำก มสี ญั ญำณรบกวนในสำย และ กำรเชือ่ มโยงระยะไกลจำเป็นต้องใช้เทคนิคพเิ ศษในกำรลดปัญหำข้อผดิ พลำดของ กำรรบั สง่ ข้อมูล เครือข่ำยแวน เปน็ เครือขำ่ ยท่ที ำให้เครือขำ่ ยแลนหลำยๆ เครือข่ำยเชือ่ มถึงกนั ได้เชน่ ท่ีทำกำรสำขำทุกแหง่ ของธนำคำรแห่งหน่งึ มเี ครือข่ำยแลนเพ่อื ใชท้ ำงำนภำยในสำขำน้ันๆ และมีกำรเชื่อมโยงเครอื ขำ่ ยแลน ของทุกสำขำใหเ้ ป็นระบบเดียว ดว้ ยเครอื ข่ำยแวน ในอนำคตอันใกลน้ ี้ บทบำทของเครือขำ่ ยแวนจะทำใหท้ ุกบริษัท ทุกองคก์ ำรทุกหนว่ ยงำน เชื่อมโยงเครือขำ่ ย คอมพิวเตอรข์ องตนเองเขำ้ สู่เครอื ขำ่ ยกลำง เพื่อกำรแลกเปลี่ยนขอ้ มูลระหว่ำงกัน และกำร ทำงำนร่วมกัน ในระบบทต่ี ้องตดิ ต่อสือ่ สำรระหว่ำงกนั เทคโนโลยีท่ีใช้กับเครอื ข่ำยแวนมีควำมหลำกหลำย มกี ำร เชื่อมโยงระหว่ำงประเทศด้วยช่องสญั ญำณดำวเทียม เส้นใยนำแสง คล่นื ไมโครเวฟ คล่ืนวิทยุ สำยเคเบิล ทั้งท่วี ำงตำมถนนและวำงใต้นำ้ เทคโนโลยขี องกำรเช่อื มโยง ไดร้ ับกำรพฒั นำไปมำกแตย่ ังไม่พอเพียงกบั ควำมต้องกำรที่เพม่ิ มำกข้ึนอย่ำงรวดเรว็ เทคโนโลยเี ครอื ขำ่ ยแลน กำรเช่ือมโยงคอมพิวเตอรเ์ ขำ้ เป็นเครือขำ่ ยแลนนั้น มีจุดมุง่ หมำยท่ีจะใหเ้ ครื่อง คอมพวิ เตอร์ทุกเครื่องส่ือสำร ข้อมลู ระหวำ่ งกันไดท้ ง้ั หมดหำกนำเคร่ืองคอมพวิ เตอรส์ องเคร่อื งต่อสำยสัญญำณเข้ำ หำกนั จะทำใหเ้ คร่ืองคอมพิวเตอร์ท้ังสอง นน้ั ส่งข้อมลู ถงึ กนั ได้ครัน้ จะนำเอำคอมพิวเตอร์เครอ่ื งทีส่ ำมต่อรวมดว้ ย เร่ิมจะมีขอ้ ยุง่ ยำกเพ่ิมขึ้น และยิ่งถ้ำมเี คร่ืองคอมพวิ เตอรเ์ ป็นจำนวนมำก กย็ ิ่งมขี ้อยงุ่ ยำกท่ีจะทำให้เครื่อง คอมพิวเตอร์ทัง้ หมดส่ือสำรกันได้ ดว้ ยเหตุนี้ผ้พู ฒั นำเครือข่ำยคอมพวิ เตอร์จึงต้องหำวธิ ีกำรและเทคนคิ ในกำร เช่อื มโยงเครือข่ำยแบบตำ่ งๆ เพอื่ ลดขอ้ ย่งุ ยำก ในกำรเช่ือมโยงสำยสัญญำณโดยใชส้ ำยสัญญำณน้อยและเหมำะสม กับกำรนำไปใช้งำนได้ ทัง้ น้ีเพรำะข้อจำกัดของกำรใช้ สำยสัญญำณเปน็ เร่ืองสำคัญมำก บรษิ ัทผูพ้ ฒั นำระบบ เครือข่ำยคอมพวิ เตอรไ์ ดพ้ ยำยำมคดิ หำวธิ ี และใชเ้ ทคโนโลยีในกำรรบั สง่ ข้อมลู ภำยในเครือข่ำยแลน ออกมำหลำย ระบบ ระบบใดไดร้ ับกำรยอมรบั ก็มีกำรต้ังมำตรฐำนกลำง เพื่อว่ำจะได้มีผู้ผลติ ท่ีสนใจกำรผลติ อุปกรณ์ เช่อื มโยง เขำ้ สเู่ ครือข่ำย เทคโนโลยีเครอื ข่ำยแลนจงึ มหี ลำกหลำย เครือขำ่ ยแลนท่ีนำ่ สนใจ เชน่ อเี ทอร์เนต็ (Ethernet) โท เกน็ รงิ (Token Ring) และ สวิตชิง (Switching)

อีเทอร์เน็ต (Ethernet) อีเทอร์เนต็ เป็นเครือข่ำยคอมพิวเตอรท์ ่ีพฒั นำมำจำกโครงสร้ำงกำรเชอื่ มต่อแบบสำยสญั ญำณรว่ มท่เี รยี กว่ำ บัส (Bus) โดยใช้สำยสัญญำณแบบแกนรว่ ม คือ สำยโคแอกเชียล (Coaxial Cable) เป็นตัวเช่อื ม สำหรบั ระบบบสั เป็นระบบ เทคโนโลยที คี่ อมพวิ เตอร์ทกุ เครือ่ งเช่อื มโยงเข้ำกบั สำยสัญญำณเสน้ เดียวกัน คือ เม่ือมีผู้ต้องกำรส่งข้อมลู ก็สง่ ข้อมูลไดเ้ ลย แตเ่ นื่องจำกไม่มีวธิ ีกำรคน้ หำเสน้ ทำงท่สี ่งว่ำงหรือเปล่ำ จึงไม่ทรำบวำ่ มีอุปกรณใ์ ดหรือคอมพิวเตอร์ เครื่องใดทีส่ ง่ ข้อมูลมำในช่วงเวลำเดยี วกนั จะทำให้เกดิ กำรชนกนั ขึ้นและเกิดกำรสญู หำยของข้อมูล ผูส้ ่งตอ้ งส่ง ข้อมลู ไปยงั ปลำยทำงอีกคร้งั หนงึ่ ทำให้เสียเวลำมำก จึงมีกำรพฒั นำระบบกำรรับส่งข้อมลู ผ่ำนอปุ กรณ์กลำงท่ี เรยี กวำ่ ฮบั (Hub) และเรยี กระบบใหมน่ ้วี ่ำ เทนเบสที (10 base t) โดยใช้สำยสญั ญำณทีม่ ขี นำดเล็กลงและรำคำ ถกู ซงึ่ เรียกวำ่ สำยคู่บิตเกลียวชนิดไม่หมุ้ ฉนวนทำใหก้ ำรเชอื่ มต่อนี้ มีลักษณะแบบดำว

วธิ ีกำรเช่ือมแบบน้จี ะมจี ุดศนู ย์กลำงอยู่ทฮี่ ับ ใชส้ ำยสญั ญำณไปยงั อุปกรณห์ รือคอมพิวเตอรอ์ ่นื ๆจดุ เด่นของดำวตัว น้ี จะอยู่ท่ี เม่ือมีกำรส่งข้อมูล จะมกี ำรตรวจสอบควำมผิดพลำดวำ่ อปุ กรณใ์ ดจะส่งข้อมลู มำบำ้ งและจะมีกำรสับ สวติ ซ์ให้ส่ง ได้หรอื ไม่ แตเ่ ม่ือมีฮับเปน็ ตัวแบกภำระท้ังหมด ก็มีจุดอ่อนไดค้ ือ ถ้ำฮับเกดิ เป็นอะไรขนึ้ มำ อุปกรณ์ต่อ พว่ งอ่ืน ๆ หรือคอมพิวเตอรก์ ็ไม่สำมำรถเชอื่ มต่อกนั ได้อีก ภำยในฮบั มลี ักษณะเป็นบัสทีเ่ ชื่อมสำยทุกเสน้ เข้ำดว้ ยกัน ดังนน้ั กำรใช้ฮับและบัสจะมรี ะบบกำรส่งข้อมูลแบบ เดียวกัน และมีกำรพฒั นำเปน็ มำตรฐำน กำหนดช่ือมำตรฐำนน้วี ำ่ 802.3 ควำมเรว็ ในกำรสง่ กำหนดไว้ที่ 10 ลำ้ น บติ ตอ่ วนิ ำที และกำลังมีมำตรฐำนใหมใ่ หส้ ำมำรถรบั สง่ สัญญำณได้ถงึ 100 ล้ำนบิตตอ่ วินำท โทเก็นรงิ โทเก็นริง เปน็ เครือขำ่ ยท่ีบริษัท ไอบีเอ็ม พัฒนำขึน้ รูปแบบกำรเชอ่ื มโยงจะเป็น วงแหวน โดยด้ำนหนึ่งเป็นตวั รบั สัญญำณและอีกดำ้ นหนึ่งเป็นตัวส่งสัญญำณ กำรเชือ่ มต่อแบบนท้ี ำให้คอมพิวเตอร์ทกุ เครื่องสำมำรถส่งข้อมลู ถงึ กนั ได้ โดยผ่ำนเส้นทำงวงแหวนนี้ กำรติดตอ่ สื่อสำรแบบนี้จะมีกำรจดั ลำดบั ให้ผลดั กันส่งเพ่อื ว่ำจะได้ไมส่ ับสน และมี รปู แบบ ท่ีชัดเจน โทเก็นรงิ ท่ีใชก้ นั อยใู่ นขณะนี้มีควำมเร็วในกำรรับส่งสัญญำณได้ 16 ล้ำนบติ ตอ่ วนิ ำที ข้อมูลแตล่ ะ ชุดจะมี กำรกำหนดตำแหน่งแนน่ อนวำ่ มำจำกสถำนีใด และจะส่งไปทสี่ ถำนีใด

สวิตชิง สวิตชงิ เป็นเทคโนโลยีทพ่ี ฒั นำมำเพ่ือให้สำมำรถรับสง่ ข้อมูลระหวำ่ งสถำนีทำได้เรว็ ย่ิงขึ้น กำรคดั เลือกชดุ ข้อมลู ที่ ส่งมำและสง่ ต่อไปยงั สถำนปี ลำยทำง จะกระทำทีช่ มุ สำยกลำงท่เี รยี กว่ำ สวติ ชิง รปู แบบของเครือขำ่ ย แบบน้จี ะมีลักษณะ เป็นแบบดำว ซ่ึงโครงสร้ำงน้จี ะเหมือนกนั กับแบบอีเทอรเ์ นต็ ทม่ี ีฮับเป็นศูนยก์ ลำง แต่แตกต่ำง กนั ท่ฮี บั เปน็ จุดร่วมของสำย สัญญำณทจ่ี ะต่อกระจำยไปยังทกุ สำย แต่สวิตชงิ จะเลอื กกำรสลับสัญญำณไปยัง ตำแหน่งท่ตี ้องกำรเท่ำนน้ั สวติ ชงิ จงึ มขี อ้ ดี กว่ำฮบั เนื่องจำกแต่ละสำยสัญญำณจะมีควำมเปน็ อิสระตอ่ กันมำก ทำ ใหร้ บั ส่งสญั ญำณไมม่ ปี ัญหำเร่ืองกำรชนกัน ของข้อมูล อปุ กรณ์ทีใ่ ชใ้ นกำรสวิตชิงมหี ลำยแบบ เชน่ อีเทอร์เน็ต สวิตซ์ และเอทเี อม็ สวิตซเ์ ปน็ อุปกรณ์กำรสลับสำยสัญญำณในกำรรบั ส่งข้อมลู ท่ีมีกำรรบั ส่งกนั เปน็ ชดุ ๆ ข้อมลู แต่ ละชดุ เรยี กวำ่ เซล มีขนำดจำกดั กำรสวิตชิงแบบเอทเี อ็มทำใหข้ ้อมลู จำกสถำนหี นึ่งไปยงั อีกสถำนีหนึ่งดำเนนิ ไป อยำ่ งรวดเรว็ ซง่ึ กำลงั ไดร้ บั ควำมสนใจและมีแนวโน้มจะได้รับควำมนยิ มมำกขนึ้ ทั้งนเ้ี พรำะกำรประยกุ ต์งำน สมยั ใหมห่ ลำยอยำ่ ง ตอ้ งกำรควำมเร็วสงู โดยเฉพำะกำรส่ือสำรท่มี ีกำรผสมหลำยส่ือรวมทง้ั ข้อควำม รปู ภำพ เสียง และวดี ิโอ กำรใชง้ ำนเครือขำ่ ยคอมพวิ เตอรเ์ ครือข่ำยแลนหนึง่ เครอื ขำ่ ยจะมีกำรทำงำนกันเปน็ กลุม่ เรยี กวำ่ กลมุ่ งำน (workgroup) แต่เมื่อเชอ่ื มโยงหลำย ๆ กลมุ่ งำนเขำ้ ด้วยกนั กจ็ ะเปน็ เครือขำ่ ยขององค์กร และถ้ำเช่ือมโยงระหว่ำง องค์กรผ่ำนเครือข่ำยแวน ก็จะไดเ้ ครือขำ่ ย ขนำดใหญ่ ตัวอย่ำงกำรใชง้ ำนเครอื ขำ่ ย การใชฐ้ านขอ้ มลู ร่วมกนั งำนขององค์กรบำงอย่ำงมีควำมจำเป็นตอ้ งใช้ข้อมูลชุดเดยี วกัน ถ้ำแตล่ ะฝ่ำยทำกำรหำ หรือรวบรวมข้อมลู เอง ข้อมลู อำจ จะมีควำมคลำดเคลือ่ นไมต่ รงกันก็ได้ นอกจำกควำมผิดพลำดที่เกิดข้ึนแล้วยงั ทำ ให้สนิ้ เปลอื งทรัพยำกรบุคคลและวัสดุอปุ กรณ์ ส้ินเปลืองเวลำอกี ด้วย แตถ่ ้ำองค์กรนนั้ มีระบบกำรจดั เกบ็ ข้อมูลท่ีดี

มีสถำนใี ห้บริกำรเกบ็ ข้อมลู แล้วให้ผู้ใช้บรกิ ำรในองค์กร น้นั ดงึ ขอ้ มูลผำ่ นระบบเครอื ข่ำยไปใช้ กจ็ ะประหยัด ค่ำใช้จ่ำยดำ้ นตำ่ ง ๆ ได้ นอกจำกนั้นยงั สำมำรถใช้ทรัพยำกรร่วมกันได้ เช่น เครอ่ื งพิมพ์ เคร่ืองสแกน กลอ้ งดจิ ิตอล ฯลฯ กำรดำเนนิ งำนก็เป็นไปในทศิ ทำงเดยี วกนั เนอื่ งจำกใช้ฐำนข้อมูลรว่ มกันกำรติดต่อส่ือสำรระหว่ำงกันบน เครือข่ำย เม่ือมีกำรเช่ือมโยงอุปกรณ์เขำ้ ดว้ ยกัน ผใู้ ช้ทุกคนทีอ่ ยูบ่ นเครือข่ำย จะสำมำรถ ติดตอ่ สื่อสำรระหว่ำงกนั สำมำรถส่ง ไปรษณยี ์อิเลก็ ทรอนิกส์ระหว่ำงกัน ตลอดจนสำมำรถโอนย้ำยขอ้ มูลระหว่ำงกนั ได้สำนักงำนอัตโนมตั ิ แนวคดิ ของสำนักงำนสมัยใหม่ ก็คือ ลดกำรใชก้ ระดำษ หนั มำใช้ระบบกำรทำงำน ดว้ ยคอมพิวเตอร์ทีส่ ำมำรถ แลกเปล่ยี นขอ้ มูลระหวำ่ งกันไดท้ ันทที ันใด ระบบสำนักงำนอตั โนมตั ิจึงเปน็ ระบบกำรทำงำนทท่ี ุกสถำนีงำน เปรยี บเสมอื น โต๊ะทำงำน ทำใหเ้ กิดควำมคล่องตัว และรวดเร็ว ตวั อย่ำงเครอื ขำ่ ยคอมพิวเตอรเ์ มื่อเทคโนโลยี เครอื ข่ำยไดร้ ับกำรพฒั นำโดยเฉพำะมกี ำรประยุกตใ์ ชง้ ำนบนเครือข่ำยอยำ่ ง กว้ำงขวำง ทำให้เครอื ขำ่ ย คอมพวิ เตอร์สำมำรถเช่ือมโยงกันเปน็ เครือขำ่ ยเดียวกัน เรยี กว่ำ อินเทอรเ์ น็ต ขณะเดยี วกนั ในองค์กรแต่ละองค์กร ก็มีกำรพัฒนำเครือข่ำยของตนเองและประยุกตใ์ ช้กับงำนเฉพำะในองค์กร เรยี กวำ่ อินทรำเน็ต ดงั นัน้ อินเทอรเ์ นต็ จึง แตกต่ำงจำกอินทรำเนต็ ตรงท่ีขอบเขตของกำรเชอ่ื มโยง สว่ นมำตรฐำน และวธิ ีกำรเชอื่ มโยงยังคงเป็นมำตรฐำนเดยี วกัน อินเทอรเ์ นต็ อินเทอร์เนต็ พัฒนำมำต้ังแต่ปี พ.ศ. 2512 โดยกระทรวงกลำโหมประเทศสหรฐั อเมริกำให้ทุนกับมหำวทิ ยำลยั ช้ัน นำในสหรัฐฯ เพ่อื เชือ่ มโยงเครอ่ื งคอมพิวเตอร์ของมหำวิทยำลัยเข้ำเปน็ เครือขำ่ ย และใช้ทรพั ยำกรเพ่ือทำงำนวจิ ยั เกยี่ วกบั กำรเช่ือมโยงเครือข่ำยคอมพวิ เตอรร์ ว่ มกัน ซึ่งสมัยแรกใช้ชื่อวำ่ อำร์ปำเน็ต และจงึ มกี ำรเปลย่ี นชอื่ เปน็ นเทอร์เนต็ ในภำยหลัง เครือข่ำยอนิ เทอรเ์ น็ตไดร้ บั กำรพฒั นำให้เป็นมำตรฐำน โดยมำตรฐำนกำรรับสง่ ข้อมูลมชี อื่ ว่ำ ทซี พี /ี ไอพี (TCP/IP) ต่อมำมกี ำรเชือ่ มเครือขำ่ ยออกส่อู งคก์ รเอกชน และแพร่ขยำยไปทั่วโลก เครือขำ่ ย อินเทอร์เน็ต ถือเปน็ เครือข่ำยของเครือข่ำย หมำยควำมวำ่ ในองค์กรไดส้ ร้ำงเครือข่ำยภำยในตนเองขน้ึ มำ และ นำมำเชื่อมต่อสูเ่ ครือข่ำย สำกลอนิ เทอรเ์ น็ตน้ี โดยมีกำรกำหนดตำแหนง่ อุปกรณด์ ้วยรหัสหมำยเลขท่ีเรยี กว่ำ แอดเดรส ซึง่ อินเทอรเ์ นต็ กำหนดรหัสแอดเดรสเรยี กว่ำ ไอพีแอดเดรส และถือเปน็ รหสั สำกลทไ่ี มซ่ ำ้ กันเลย ไอพี แอดเดรสจะประกอบดว้ ยตวั เลข 4 ชดุ โดยเน้นเป็นรหสั ของเครือข่ำยและรหัสของอปุ กรณ์ เช่น รหสั แทนเครอื ข่ำย ของมหำวทิ ยำลัยเกษตรศำสตร์ ใชร้ หัส 158.108 สว่ นรหัสของเคร่อื งจะมีอกี สองพิกัดตำมมำ เช่น 2.71 เมอ่ื เขียน

รวมกันจะได้ 158.108.2.71 เพ่ือใหจ้ ดจำได้ง่ำยจงึ มีกำรตั้งชือ่ คกู่ บั หมำยเลข เรำเรยี กชื่อนี้วำ่ โดเมน เช่นโดเมน ของมหำวิทยำลัยเกษตรศำสตร์ก็ ใชช้ อ่ื ku.ac.th โดย th หมำยถงึ ประเทศไทย ac หมำยถงึ สถำบนั กำรศกึ ษำ และ ku หมำยถงึ มหำวทิ ยำลัยเกษตรศำสตร์ และถ้ำมีเครื่องคอมพิวเตอรอ์ ย่ใู นเครอื ขำ่ ยหลำยเครอ่ื ง ก็ให้มีกำรตั้ง ช่ือเคร่อื งดว้ ย เชน่ nontri เมอ่ื มกี ำรเรียกรวมกันก็ จะเปน็ nontri.ku.ac.th กำรใชช้ อื่ น้ีทำให้ใชง้ ำนงำ่ ยกวำ่ ตัวเลข เม่อื เครือข่ำยอินเทอร์เนต็ เชื่อมโยงกันได้ทั่วโลก ทำใหโ้ ลกไรพ้ รมแดน ข้อมลู ข่ำวสำรต่ำง ๆ สำมำรถสอ่ื ถงึ ได้อยำ่ ง รวดเรว็ ตัวอย่ำงกำรใชง้ ำนบนอินเทอรเ์ น็ตทจ่ี ะกลำ่ วตอ่ ไปนเี้ ปน็ เพียงตัวอย่ำงทีแ่ พรห่ ลำยและใช้กันมำกเท่ำนั้น แตย่ ังมีกำรใช้งำนอื่น ๆ อกี มำกท่ไี ด้รับกำรพัฒนำข้ึนมำตลอดเวลำ 1. กำรรับสง่ ไปรษณียอ์ ิเล็กทรอนิกส์ เป็นระบบกำรสื่อสำรทำงจดหมำยผ่ำนคอมพวิ เตอร์ ถำ้ เรำต้องกำรสง่ ขอ้ ควำมถึงใครกส็ ำมำรถเขียนเป็นเอกสำร แลว้ จ่ำหน้ำซองที่อยขู่ องผรู้ ับทเ่ี รยี กวำ่ แอดเดรส ระบบจะนำสง่ ให้ทนั ทีอย่ำงรวดเรว็ ลักษณะของแอดเดรสจะ 18 เป็นชอ่ื รหสั ผใู้ ช้ และชื่อเคร่ืองประกอบกัน เช่น [email protected] กำรตดิ ต่อบนอินเทอร์เน็ตนี้ จะหำ ตำแหนง่ ให้เองโดยอตั โนมัติ และนำสง่ ไปปลำยทำงได้อย่ำงถกู ต้อง กำรรับส่งไปรษณีย์อเิ ล็กทรอนิกส์ (email) กำลงั เปน็ ท่ีนิยมอยำ่ งแพร่หลำย 2. กำรโอนย้ำยแฟ้มข้อมลู ระหวำ่ งกนั เปน็ ระบบท่ีทำใหผ้ ู้ใชส้ ำมำรถรบั สง่ แฟม้ ข้อมลู ระหวำ่ งกันหรอื มีสถำนีให้บริกำร เกบ็ แฟ้มข้อมูลที่อยูใ่ นที่ต่ำง ๆ และใหบ้ รกิ ำร ผใู้ ชส้ ำมำรถเข้ำไปคดั เลือกนำแฟ้มข้อมูลมำใช้ประโยชน์ได้ 3. กำรใชเ้ ครื่องคอมพวิ เตอร์ในท่ีหำ่ งไกล กำรเชือ่ มโยงคอมพวิ เตอรเ์ ข้ำกบั เครือข่ำย ทำใหเ้ รำสำมำรถ เรยี กหำเครื่องคอมพวิ เตอร์ทเี่ ปน็ สถำนีบริกำรใน ท่ี หำ่ งไกลได้ ผใู้ ช้สำมำรถนำข้อมูลไปประมวลผลยงั เครื่องคอมพวิ เตอร์ที่อยู่ในเครือขำ่ ย โดยไมต่ ้องเดินทำงไปเอง 4. กำรเรยี กคน้ ข้อมูลข่ำวสำร ปจั จบุ นั มฐี ำนขอ้ มูลที่เก็บไวใ้ หใ้ ชง้ ำนจำนวนมำก ฐำนข้อมูลบำงแหง่ เกบ็ ข้อมลู ในรปู สง่ิ พิมพ์อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ทผ่ี ใู้ ช้ สำมำรถ เรยี กอำ่ น หรือนำมำพมิ พ์ ลักษณะกำรเรียกค้นนจี้ ึงมีลกั ษณะเหมอื นเป็นห้องสมุดขนำดใหญ่อยู่ภำยใน เครือข่ำย ทีส่ ำมำรถค้นหำข้อมลู ใด ๆ ก็ได้ ฐำนขอ้ มูล ในลกั ษณะน้เี รยี กวำ่ เครือข่ำยใยแมงมุมครอบคลุมทว่ั โลก (World Wide Web : WWW) เปน็ ฐำนขอ้ มูลทเ่ี ชือ่ มโยงกนั ทว่ั โลก

5. กำรอำ่ นจำกกลมุ่ ขำ่ ว ภำยในอนิ เทอรเ์ นต็ มีกลุม่ ขำ่ วเป็นกลมุ่ ๆ แยกตำมควำมสนใจ แต่ละกลมุ่ ข่ำว อนุญำตให้ผ้ใู ช้อินเทอรเ์ นต็ ส่ง ขอ้ ควำม ลงไปได้ และหำกมีผู้ตอ้ งกำรเขียนโต้ตอบก็สำมำรถเขียนตอบได้ กลุ่มข่ำวน้ีจึงแพร่หลำยกระจำยข่ำวได้ รวดเร็ว 6. กำรสนทนำบนเครือข่ำย เครอื ข่ำยอนิ เทอรเ์ น็ตเปน็ ตวั กลำง ในกำรตดิ ตอ่ สนทนำกนั ได้ ในยคุ แรกใชว้ ิธีกำรสนทนำเป็นตัวหนังสือ ตอ่ มำ พัฒนำให้ใช้เสียงได้ ปัจจุบันถ้ำระบบส่ือสำรมีควำมเร็วพอก็สำมำรถสนทนำโดยท่ีเห็นหน้ำกนั และกนั บนจอภำพได้ 7. กำรบรกิ ำรสถำนวี ิทยแุ ละโทรทัศน์บนเครือขำ่ ย ปัจจุบันมีผูต้ ง้ั สถำนีวิทยุบนเครอื ข่ำยอนิ เทอรเ์ น็ตหลำยร้อยสถำนี ผู้ใชส้ ำมำรถเลือกสถำนท่ีต้องกำรและได้ยิน 19 เสยี งเหมือน กำรเปิดฟงั วิทยุ ขณะเดยี วกนั ก็มีกำรสง่ กระจำยภำพวีดโิ อบนเครือขำ่ ยด้วย เมือ่ อนิ เทอรเ์ น็ตไดร้ ับกำรพัฒนำมำจนเปน็ ทย่ี อมรบั และแพร่หลำย จึงมผี ตู้ ้องกำรสรำ้ งเครอื ข่ำยใชง้ ำนเฉพำะใน องค์กร โดยนำวิธกี ำรในอินเทอร์เนต็ มำประยุกต์ใชก้ ับเครือข่ำยของตนเอง เครือขำ่ ยที่ใช้งำนเฉพำะในองค์กำรน้ีจงึ เรียกวำ่ เครือข่ำยอินทรำเน็ต กำรประยุกตใ์ ช้บนเครือขำ่ ยอินเตอร์เนต็ ใช้หลักกำรท่มี สี ถำนีใหบ้ รกิ ำร และสถำนี ผใู้ ช้บริกำร สถำนผี ูใ้ ชบ้ ริกำรมีโปรแกรมเช่อื มต่อที่ทำใหใ้ ชง้ ำนระบบฐำนข้อมลู ได้ง่ำย อินทรำเนต็ จงึ ใชว้ ธิ ีกำร เดยี วกนั นี้ เพรำะทำใหผ้ ู้ใชไ้ ม่ต้องเสียเวลำในกำรเรยี นรู้กำรพัฒนำขึน้ และพร้อมที่จะเชอื่ มตอ่ เข้ำกับอนิ เทอร์เนต็

บทท่ี 3 มาตรฐานการเช่อื มตอ่ ระบบเครือขา่ ย ประเภทของระบบเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ ประเภทของระบบเครือขำ่ ยคอมพิวเตอร์ตำมระยะกำรเชื่อมตอ่ ในโลกยุคปัจจบุ ัน ระบบเครอื ข่ำยคอมพิวเตอร์ มี ควำมสำคัญเป็นอยำ่ งยงิ่ ได้กลำยเปน็ สว่ นหนงึ่ ของกำรพัฒนำระบบภำยในองค์กร บรษิ ทั หรอื หน่วยงำน และ สถำบันกำรศึกษำ ซึ่งระบบเครอื ขำ่ ยคอมพวิ เตอรก์ ห็ มำยถงึ กำรนำเคร่ืองคอมพิวเตอร์ต้งั แต่ 2 เครอ่ื งขนึ้ ไป มำทำ กำรเชือ่ มต่อกันเปน็ ระบบเครือขำ่ ยคอมพิวเตอรส์ ำมำรถแบ่งออกเปน็ 3 ประเภทดงั น้ี คือ 1. ระบบเครือข่ำยคอมพิวเตอรร์ ะยะใกล้ (Local Area Network หรือ LAN ) เปน็ ระบบเครือข่ำยระดับท้องถิน่ มีขนำดเล็ก ครอบคมุ พ้นื ท่จี ำกดั เช่ือมโยงกนั ในรัศมีใกล้ ๆ ในเขตพ้ืนทีเ่ ดยี วกัน เช่น ในอำคำรเดยี วกนั ห้องเดียวกัน ภำยในตึกเดยี วกันหรือหลำย ๆ ตึกใกล้ ๆ กัน เป็นต้น โดยไมต่ ้องเชื่อมกำร ตดิ ตอ่ กับองค์กำรโทรศพั ท์หรอื กำรส่ือสำรแหง่ ประเทศไทย ระบบแลนมปี ระโยชน์ตรงที่สำมำรถทำใหเ้ ครื่อง คอมพิวเตอรห์ ลำย ๆ เครือ่ งท่ีเชื่อมต่อกัน สำมำรถสง่ ข้อมูลแลกเปลี่ยนกนั ได้อยำ่ งสะดวก รวดเร็ว และยงั สำมำรถ ใช้ทรัพยำกรรว่ มกันได้อีกดว้ ย เทคโนโลยีของระบบเครือขำ่ ย Lan มีหลำยรูปแบบ อย่ำงเชน่ แลนแบบ Ethernet , Fast Ethernet , Token Ring เป็นต้น แตเ่ ทคโนโลยีทไี่ ด้รับควำมนยิ มมำกทส่ี ุดในปัจจุบนั ก็คอื Ethernet และ Fast Ethernet ระบบเครอื ข่ำยโดยทว่ั ไปท่ีใชก้ นั อยนู่ ี้ จะเปน็ กำรนำเครือขำ่ ยระบบแลนมำประยุกต์ใชใ้ หเ้ หมำะสม กบั ระบบงำนของตน 2. ระบบเครือข่ำยเน็ตเวริ ค์ ระยะกลำง (Metropolitan Area Network หรือ MAN) เปน็ ระบบเครือขำ่ ยระดบั เมือง คอื มีกำรเชื่อมโยงกนั ในพนื้ ที่ ทกี่ วำ้ งไกลกวำ่ ระบบ LAN คอื อำจจะเช่ือมโยงกัน ภำยในจงั หวัด โดยจะตอ้ งมีกำรใช้ระบบเครือขำ่ ยขององค์กำรโทรศพั ทห์ รอื องค์กำรสอ่ื สำรแห่งประเทศไทย 3. ระบบเครอื ข่ำยระยะไกล (Wide Area Network หรอื WAN) เป็นระบบเครือข่ำยระดับไกล คอื จะเปน็ เครือขำ่ ยท่ีเชื่อมต่อคอมพวิ เตอร์หรอื อปุ กรณ์ ท่ีอยูห่ ่ำงไกลกันเข้ำด้วยกนั อำจจะต้องเปน็ กำรตดิ ต่อสอ่ื สำรกนั ในระดับประเทศ ข้ำมทวีปหรือท่วั โลกก็ได้ ในกำรเชื่อมกำรติดตอ่ กนั นัน้ จะตอ้ งมกี ำรต่อเข้ำกบั ระบบส่ือสำรขององค์กำรโทรศพั ท์ หรือกำรส่อื สำรแห่งประเทศไทยเสียก่อน เพรำะจะเป็น กำรสง่ ข้อมูลผ่ำนทำงสำยโทรศัพท์ในกำรติดตอ่ ส่ือสำรกนั สถำปตั ยกรรมเครือขำ่ ยรูปแบบ

OSI ในปี ค.ศ.1977 องค์กร ISO (International Organization for Standard) ไดจ้ ัดตั้งคณะกรรมกำรข้นึ กลมุ่ หนึง่ เพื่อทำกำรศกึ ษำจดั รปู แบบมำตรฐำน และพฒั นำสถำปัตยกรรมเครือข่ำย และในปี ค.ศ.1983 องค์กร ISO ก็ ไดอ้ อกประกำศรปู แบบของสถำปัตยกรรมเครือขำ่ ยมำตรฐำนในชื่อของ \"รปู แบบ OSI\" (Open Systems Interconnection Model) เพอื่ ใชเ้ ปน็ รูปแบบมำตรฐำนในกำรเชอ่ื มต่อระบบคอมพิวเตอร์ อักษร \"O\" หรอื \" Open\" กห็ มำยถึง กำรท่ีคอมพิวเตอรห์ รอื ระบบคอมพวิ เตอร์หนง่ึ สำมำรถ \"เปดิ \" กวำ้ งให้ คอมพวิ เตอรห์ รือระบบ คอมพวิ เตอร์อ่ืนท่ีใชม้ ำตรฐำนOSI เหมอื นกันสำมำรถติดตอ่ ไปมำหำส่รู ะหว่ำงกนั ได้ จดุ มงุ่ หมำยของกำรกำหนดมำตรฐำนรูปแบบ OSI ขนึ้ มำนนั้ ก็เพื่อเป็นกำรกำหนดกำรแบง่ โครงสรำ้ งของ สถำปตั ยกรรมเครือข่ำยออกเป็นเลเยอร์ ๆ และกำหนดหน้ำท่ีกำรทำงำนในแต่ ละ เลเยอร์ รวมถงึ กำหนดรปู แบบ กำรอนิ เตอรเ์ ฟซระหว่ำงเลเยอรด์ ้วย โดยมหี ลกั เกณฑใ์ นกำรกำหนดดังต่อไปน้ี 1. ไม่แบง่ โครงสร้ำงออกเป็นเลเยอร์ ๆ มำกจนเกนิ ไป 2. แตล่ ะเลเยอร์จะตอ้ งมีหนำ้ ท่ีกำรทำงำนแตกตำ่ งกนั ทง้ั ขบวนกำรและเทคโนโลยี 3. จัดกลมุ่ หน้ำท่ีกำรทำงำนท่ีคลำ้ ยกนั ให้อยใู่ นเลเยอร์เดยี วกัน 4. เลอื กเฉพำะกำรทำงำนทเ่ี คยใช้ได้ผลประสบควำมสำเรจ็ มำแล้ว 5. กำหนดหนำ้ ทกี่ ำรทำงำนเฉพำะงำ่ ย ๆ แก่เลเยอร์ เผื่อว่ำตอ่ ไป ถำ้ มกี ำรออกแบบเลเยอร์ใหม่ หรือมกี ำร เปลย่ี นแปลงโปรโตคอลใหมใ่ นอันทจ่ี ะทำใหส้ ถำปัตยกรรมมีประสิทธภิ ำพดียิ่งขึ้น จะไม่มีผลทำใหอ้ ุปกรณ์ฮำรด์ แวร์ และซอฟต์แวร์ที่เคยใช้ได้ผลอยู่เดมิ จะต้องเปลี่ยนแปลงตำม 6. กำหนดอนิ เตอร์เฟซมำตรฐำน 7. ใหม้ ีควำมยดื หยนุ่ ในกำรเปลี่ยนแปลงโปรโตคอลในแต่ละเลเยอร์ 8. สำหรับเลเยอรย์ อ่ ยของแต่ละเลเยอรใ์ ห้ใช้หลกั เกณฑ์เดียวกันกับทก่ี ลำ่ วมำใน 7 ข้อแรก โครงสร้างของสถาปัตยกรรมรูปแบบ OSI สำมำรถกำรแบง่ ออกเป็น 7 เลเยอร์ และในแตล่ ะเลเยอร์ได้มกี ำรกำหนดหน้ำท่กี ำรทำงำนไว้ดังต่อไปน้ี 1.เลเยอร์ช้นั Physical เป็นชนั้ ล่ำงสุดของกำรติดต่อส่ือสำร ทำหนำ้ ท่สี ่ง-รบั ข้อมูลจรงิ ๆ จำกช่องทำงกำรสื่อสำร (สือ่ กลำง) ระหว่ำงคอมพิวเตอร์เครื่องหน่งึ กับคอมพวิ เตอร์เครอ่ื งอื่น ๆ มำตรฐำนสำหรับเลเยอร์ช้ันนีจ้ ะกำหนดวำ่ แต่ละ คอนเนคเตอร์ (Connector) เช่น RS-232-C มีก่ีพนิ (PIN)แตล่ ะพนิ ทำหนำ้ ท่ีอะไรบ้ำง ใชส้ ญั ญำณไฟกี่

โวลต์ เทคนคิ กำรมัลตเิ พล็กซ์แบบต่ำง ๆ กจ็ ะถูกกำหนดอยู่ในเลเยอร์ช้ันนี้ 2. เลเยอรช์ ั้น Data Link จะเป็นเสมอื นผู้ตรวจสอบ หรอื ควบคุมควำมผดิ พลำด ในข้อมูลโดยจะแบง่ ข้อมลู ทีจ่ ะ ส่งออก เปน็ แพ็กเกจหรอื เฟรม ถ้ำผ้รู ับไดร้ ับข้อมูลถกู ต้องก็จะส่งสัญญำณยนื ยันกลับวำ่ ไดร้ ับข้อมูลแล้ว เรียกว่ำ สญั ญำณ ACK (Acknowledge) ใหก้ บั ผสู้ ่ง แต่ถ้ำผ้สู ่งไม่ได้รับสัญญำณACK หรือได้รบั สัญญำณ NAK (Negative Acknowledge) กลบั มำ ผสู้ ่งกอ็ ำจจะทำกำรส่งข้อมูลไปให้ใหม่ อีกหนำ้ ท่ีหน่งึ ของเลเยอร์ชนั้ นค้ี อื ปอ้ งกนั ไม่ให้ เครอื่ งส่งทำกำรสง่ ขอ้ มูลเร็วจนเกิดขดี ควำมสำมำรถ จนเเครือ่ งผรู้ บั จะรับข้อมูลได้ 3. เลเยอร์ช้ัน Network เป็นช้ันท่อี อกแบบหรือกำหนดเส้นทำงกำรเดนิ ทำงของขอ้ มลู ที่ส่ง-รับในกำรสง่ ผ่ำน ข้อมูล ระหว่ำงตน้ ทำงและปลำยทำง ซ่งึ แน่นอนว่ำในกำรสอ่ื สำรข้อมลู ผำ่ นเครือขำ่ ยกำรสือ่ สำรจะต้องเสน้ ทำงกำรรบั -สง่ ขอ้ มลู มำกกวำ่ 1 เส้นทำง ดังน้ันเลเยอรช์ ัน้ Network นี้จะมีหนำ้ ทเ่ี ลือกเส้นทำงทีใ่ ชเ้ วลำในกำรสื่อสำรน้อยที่สุด และระยะทำงสั้นทีส่ ดุ ดว้ ย ข่ำวสำรทร่ี ับมำจำกเลเยอรช์ นั้ ท่ี 4 จะถกู แบ่งออกเป็นแพก็ เกจ ๆ ในช้นั ที่ 3 นี้ 4. เลเยอร์ชั้น Transport บำงครงั้ เรียกวำ่ เลเยอร์ช้ัน Host-to-Host หรอื เครอื่ งต่อเครื่อง และจำกเลเยอร์ชน้ั ที่ 4 ถงึ ชนั้ ท่ี 7 นร้ี วมกนั จะเรยี กว่ำ เลเยอร์ End-to-End ในเลเยอรช์ นั้ Transport นีเ้ ป็นกำรสื่อสำรกันระหว่ำงต้นทำง และปลำยทำง (คอมพิวเตอร์กับคอมพวิ เตอร์) กันจรงิ ๆ เลเยอร์ชนั้ Transport จะทำหนำ้ ทตี่ รวจสอบวำ่ ข้อมลู ทส่ี ง่ มำจำกเลเยอร์ช้นั Session นน้ั ไปถึงปลำยทำงจรงิ ๆ หรอื ไม่ ดังน้นั กำรกำหนดตำแหนง่ ของขอ้ มูล (Address) จงึ เปน็ เร่อื งสำคญั ในช้นั นี้ เนื่องจำกจะต้องรบั รูว้ ่ำใครคือผู้สง่ และใครคือผู้รบั ข้อมลู นัน้

5. เลเยอร์ช้ัน Session ทำหนำ้ ทเี่ ช่ือมโยงระหวำ่ งผู้ใช้งำนกับคอมพวิ เตอร์เคร่อื งอื่น ๆ โดยผูใ้ ช้จะใช้คำสงั่ หรือ ขอ้ ควำมท่กี ำหนดไว้ปอ้ นเขำ้ ไปในระบบ ในกำรสร้ำงกำรเช่ือมโยงนี้ ผใู้ ช้จะต้องกำหนดรหสั ตำแหน่งของจุดหมำย ปลำยทำง ที่ต้องกำรติดตอ่ ส่ือสำรด้วย เลเยอรช์ ัน้ Session จะส่งข้อมูลทง้ั หมดใหก้ บั เลเยอรช์ ้นั Transport เป็น ผู้จัดกำรต่อไป ในบำงเครือข่ำยทง้ั เลเยอร์ Sessionและเลเยอร์ Transport อำจจะเป็นเลเยอรช์ น้ั เดียวกนั 6. เลเยอร์ช้ัน Presentation ทำหน้ำทีเ่ หมือนบรรณำรักษ์ กล่ำวคือคอยรวบรวมข้อควำม (Text)และแปลงรหัส หรือแปลงรปู ของข้อมูลใหเ้ ป็นรูปแบบกำรสอ่ื สำรเดียวกนั เพือ่ ช่วยลดปัญหำต่ำง ๆทอี่ ำจจะเกิดขึ้นกับผู้ใช้งำนใน ระบบ 7. เลเยอร์ชั้น Application เปน็ เลเยอรช์ ้ันบนสุดของรปู แบบ OSI ซง่ึ เปน็ ช้ันท่ีใช้ติดต่อกันระหวำ่ งผู้ใชโ้ ดยตรง ซึ่ง ไดแ้ ก่ โฮสต์คอมพวิ เตอร์ เทอร์มินัลหรอื คอมพวิ เตอร์ PC เปน็ ตน้ แอปพลิเคชันในเลเยอร์ช้นั นี้สำรมำรถนำเข้ำ หรือออกจำกระบบเครือขำ่ ยไดโ้ ดยไม่จำเปน็ ต้องสนใจวำ่ จะมีข้ันตอนกำรทำงำนอย่ำงไร เพรำะจะมีเลเยอร์ช้นั Presentation เป็นผูร้ บั ผิดชอบแทนอย่แู ล้ว ในรปู แบบOSI เลเยอร์นั้น Application จะทำกำรติดต่อกับเลเยอร์ ชน้ั Presentation โดยตรงเทำ่ น้นั โปรโตคอลของในแต่ละชัน้ จะแตกตำ่ งกันออกไป แต่อย่ำงไรก็ตำมกำรทเี่ คร่ืองคอมพวิ เตอร์ หลำย ๆ เครื่องจะ ติดตอ่ สอ่ื สำรกนั ได้ ในแตล่ ะเลเยอร์ของแต่ละเครือ่ งจะต้องใชโ้ ปรโตคอลแบบเดยี วกนั หรือถ้ำใช้โปรโตคอลต่ำงกนั ก็ ต้องมีอุปกรณ์ หรอื ซอฟร์แวร์ที่สำมำรถแปลงโปรโตคอลท่ีต่ำงกนั นั้นใหม้ รี ูปแบบเป็นอยำ่ งเดยี วกนั เพือ่ เช่ือมโยงใหค้ อมพิวเตอร์ทั้ง 2 เครอ่ื งสำมำรถติดตอ่ กันได้ รูปแบบของกำรเช่ือมโยงเครือข่ำย หรือโทโปโลยี (LAN Topology)

โทโปโลยคี อื ลักษณะทำงกำยภำพ (ภำยนอก) ของระบบเครือขำ่ ย ซึ่งหมำยถงึ ลกั ษณะของกำรเช่ือมโยงสำยสือ่ สำร เขำ้ กบั อุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกสแ์ ละเครือ่ งคอมพวิ เตอร์ ภำยในเครือขำ่ ยดว้ ยกนั น่นั เอง โทโปโลยีของเครือข่ำย LAN แตล่ ะแบบมคี วำมเหมำะสมในกำรใช้งำน แตกตำ่ งกนั ออกไปกำรนำไปใช้จึงมีควำมจำเป็นทเี่ รำจะต้องทำกำรศึกษำ ลกั ษณะและคุณสมบัติ ข้อดีและขอ้ เสียของโทโปโลยีแต่ละแบบ เพอ่ื นำไปใช้ในกำรออกแบบพิจำรณำเครือขำ่ ย ให้ เหมำะสมกบั กำรใชง้ ำน รปู แบบของโทโปโลยี ของเครอื ขำ่ ยหลกั ๆ มดี ังตอ่ ไปนี้ 1.โทโปโลยีแบบบัส (BUS) เปน็ รูปแบบที่ เคร่ืองคอมพิวเตอรจ์ ะถูกเชือ่ มต่อกันโดยผำ่ ยสำยสญั ญำณแกนหลัก ทเ่ี รียกวำ่ BUSหรือ แบ็คโบน (Backbone) คือ สำยรบั ส่งสัญญำณข้อมลู หลกั ใชเ้ ป็นทำงเดนิ ข้อมลู ของทุกเคร่อื งภำยในระบบเครือขำ่ ย และจะมี สำยแยกยอ่ ยออกไปในแต่ละจุด เพอ่ื เชอ่ื มต่อเข้ำกบั คอมพิวเตอรเ์ ครื่องอน่ื ๆ ซ่ึงเรียกวำ่ โหนด (Node) ข้อมูลจำก โหนดผสู้ ่งจะถกู ส่งเข้ำสสู่ ำยบัสในรูปของแพ็กเกจซ่ึงแตล่ ะแพ็กเกจจะประกอบไปดว้ ยข้อมลู ของผู้ส่ง, ผ้รู ับ และข้อมลู ทีจ่ ะส่ง กำรส่ือสำรภำยในสำยบสั จะเป็นแบบ 2 ทศิ ทำงแยกไปยงั ปลำยท้ัง 2 ด้ำนของ บสั โดยตรง ปลำยทงั้ 2 ด้ำนของบัส จะมีเทอร์มเิ นเตอร์ (Terminator) ทำหนำ้ ทลี่ บล้ำงสญั ญำณที่ส่งมำถงึ เพอื่ ป้องกันไม่ให้ สัญญำณข้อมลู นนั้ สะทอ้ นกลับ เข้ำมำยังบัสอกี เพอ่ื เป็นกำรปอ้ งกันกำรชนกันของขอ้ มลู อนื่ ๆ ท่ีเดนิ ทำงอยู่บนบัส

ในขณะน้ันสญั ญำณข้อมูลจำกโหนดผสู้ ง่ เม่อื เข้ำสบู่ ัส ข้อมูลจะไหลผ่ำนไปยังปลำยทั้ง 2 ด้ำนของบัส แต่ละโหนดท่ี เชื่อมต่อเข้ำกับบสั จะคอยตรวจดวู ำ่ ตำแหน่งปลำยทำงที่มำกบั แพ็กเกจข้อมูลนั้นตรงกับตำแหน่งของตนหรือไม่ ถำ้ ตรง กจ็ ะรบั ข้อมูลนนั้ เข้ำมำสู่โหนด ตน แต่ถ้ำไม่ใช่ ก็จะปลอ่ ยให้สัญญำณขอ้ มูลนน้ั ผำ่ นไป จะเหน็ วำ่ ทุก ๆ โหนดภำยในเครือข่ำยแบบ BUS นั้นสำมำรถรับรู้สญั ญำณข้อมลู ได้ แต่จะมเี พียงโหนดปลำยทำงเพยี งโหนดเดียว เทำ่ นัน้ ท่จี ะรับขอ้ มลู นั้นไปได้ ขอ้ ดี - ไม่ต้องเสียค่ำใช้จ่ำยในกำรวำงสำยสญั ญำณมำกนัก สำมำรถขยำยระบบไดง้ ่ำย เสยี คำ่ ใชจ้ ำ่ ยนอ้ ย ซ่ึงถือวำ่ ระบบ บัสน้เี ปน็ แบบโทโปโลยที ่ีได้รับควำมนยิ มใชก้ ันมำกทสี่ ดุ มำ ตง้ั แตอ่ ดีตจนถึงปัจจบุ นั เหตุผลอย่ำงหนึ่งก็คือสำมำรถ ตดิ ตัง้ ระบบ ดูแลรักษำ และติดตงั้ อปุ กรณ์เพ่มิ เติมได้ง่ำย ไม่ต้องใช้เทคนคิ ท่ียุ่งยำกซับซ้อนมำกนกั ข้อเสีย - อำจเกดิ ข้อผดิ พลำดงำ่ ย เนื่องจำกทุกเครือ่ งคอมพิวเตอร์ ตอ่ ย่บู นสำยสัญญำณเพยี งเส้นเดียว ดังน้นั หำกมี สญั ญำณขำดทต่ี ำแหน่งใดตำแหนง่ หนึ่ง กจ็ ะทำให้เครอ่ื งบำงเครอ่ื ง หรือท้งั หมดในระบบไม่สำมำรถใชง้ ำนไดต้ ำม ไปดว้ ย - กำรตรวจหำโหนดเสยี ทำได้ยำก เนือ่ งจำกขณะใดขณะหน่งึ จะมีคอมพิวเตอร์เพียงเครื่องเดียวเทำ่ นนั้ ทีส่ ำมำรถ ส่งข้อควำม ออกมำบนสำยสัญญำณ ดงั นน้ั ถ้ำมีเคร่ืองคอมพิวเตอร์จำนวนมำกๆ อำจทำให้เกิดกำรคบั คั่งของ เน็ตเวิร์ค ซง่ึ จะทำให้ระบบชำ้ ลงได้

2.โทโปโลยแี บบวงแหวน (RING) เปน็ รปู แบบท่ี เครื่องคอมพวิ เตอร์ทุกเคร่อื งในระบบเครือข่ำย ทั้งเครอื่ งท่ีเปน็ ผู้ให้บริกำร( Server)และ เครื่องที่ เปน็ ผขู้ อใช้บรกิ ำร(Client) ทุกเคร่ืองถูกเชอ่ื มต่อกันเปน็ วงกลม ขอ้ มลู ข่ำวสำรทสี่ ่งระหวำ่ งกัน จะไหลวนอยใู่ น เครือข่ำยไปใน ทศิ ทำงเดียวกัน โดยไมม่ ีจุดปลำยหรือเทอร์มิเนเตอร์เชน่ เดยี วกับเครอื ข่ำยแบบ BUS ในแต่ละโหนด หรอื แต่ละเครือ่ ง จะมีรีพีตเตอร์ (Repeater) ประจำแตล่ ะเครื่อง 1 ตวั ซ่งึ จะทำหน้ำทเ่ี พม่ิ เตมิ ขอ้ มูลท่ีจำเปน็ ต่อ กำรติดต่อสื่อสำรเข้ำในสว่ นหวั ของแพก็ เกจท่ีส่ง และตรวจสอบข้อมลู จำกสว่ นหวั ของ Packet ท่สี ง่ มำถึง วำ่ เปน็ ขอ้ มลู ของตนหรือไม่ แต่ถ้ำไม่ใช่กจ็ ะปลอ่ ยขอ้ มลู นั้นไปยงั Repeater ของเครื่องถัดไป ขอ้ ดี - ผ้สู ง่ สำมำรถส่งขอ้ มูลไปยงั ผู้รบั ไดห้ ลำย ๆ เครอื่ งพร้อม ๆ กัน โดยกำหนดตำแหนง่ ปลำยทำงเหลำ่ น้นั ลงในสว่ น หัวของแพก็ เกจข้อมูล Repeaterของแตล่ ะเคร่ืองจะทำกำรตรวจสอบเองว่ำ ข้อมูลท่ีส่งมำใหน้ ้ัน เป็นตนเองหรือไม่ - กำรส่งผ่ำนข้อมูลในเครือข่ำยแบบ RING จะเป็นไปในทิศทำงเดยี วจำกเคร่ืองสู่เครอื่ ง จึงไม่มีกำรชนกันของ สญั ญำณ ข้อมูลท่ีสง่ ออกไป - คอมพิวเตอร์ทุกเคร่ืองในเน็ตเวริ ก์ มีโอกำสทจ่ี ะสง่ ข้อมลู ได้อยำ่ งทัดเทียมกัน ขอ้ เสยี - ถำ้ มเี ครือ่ งใดเครอ่ื งหนึ่งในเครอื ข่ำยเสยี หำย ข้อมูลจะไม่สำมำรถส่งผ่ำนไปยังเคร่ืองต่อ ๆ ไปได้ และจะทำให้

เครอื ข่ำยทั้งเครอื ขำ่ ย หยุดชะงักได้ - ขณะท่ีขอ้ มูลถกู สง่ ผำ่ นแต่ละเครื่อง เวลำส่วนหนึง่ จะสญู เสยี ไปกบั กำรทท่ี ุก ๆ Repeater จะต้องทำกำร ตรวจสอบตำแหนง่ ปลำยทำงของข้อมูลน้ัน ๆ ทกุ ข้อมูลท่สี ่งผำ่ นมำถึง 3.โทโปโลยแี บบดำว (STAR) เป็นรูปแบบท่ี เครื่องคอมพวิ เตอร์ทุกเครอ่ื งท่ีเชือ่ มต่อเข้ำด้วยกันในเครอื ข่ำย จะต้องเช่ือมตอ่ กบั อปุ กรณต์ ัวกลำงตัว หน่ึงทเ่ี รียกวำ่ ฮับ (HUB) หรือเครื่อง ๆ หนึ่ง ซ่ึงทำหน้ำท่เี ป็นศนู ยก์ ลำงของกำรเชื่อมตอ่ สำยสัญญำญทม่ี ำจำก เครอื่ งตำ่ ง ๆ ในเครือข่ำย และควบคมุ เส้นทำงกำรสือ่ สำร ทั้งหมดเม่ือมเี คร่ืองทตี่ ้องกำรสง่ ขอ้ มลู ไปยงั เครื่องอน่ื ๆ ทต่ี ้องกำรในเครือขำ่ ย เครอื่ งนัน้ ก็จะต้องสง่ ข้อมลู มำยัง HUB หรอื เครื่องศูนย์กลำงกอ่ น แลว้ HUB ก็จะทำหนำ้ ที่ กระจำยข้อมลู นั้นไปในเครอื ข่ำยตอ่ ไป ข้อดี - กำรตดิ ตง้ั เครือข่ำยและกำรดแู ลรักษำทำ ไดง้ ่ำย หำกมเี ครอ่ื งใดเกิดควำมเสียหำย ก็สำมำรถตรวจสอบได้ง่ำย และศูนย์ กลำงสำมำรถตัดเครื่องทเ่ี สียหำยนนั้ ออกจำกกำรสอื่ สำร ในเครอื ขำ่ ยไดเ้ ลย โดยไม่มผี ลกระทบกับ ระบบเครือขำ่ ย ขอ้ เสีย

- เสยี ค่ำใชจ้ ่ำยมำก ทั้งในดำ้ นของเครอ่ื งทจ่ี ะใช้เป็น เครอ่ื งศนู ยก์ ลำง หรอื ตัว HUB เอง และคำ่ ใชจ้ ่ำยในกำรติดต้ัง สำยเคเบิลในเคร่ืองอื่น ๆ ทุกเครือ่ ง กำรขยำยระบบให้ใหญ่ขึ้นทำได้ยำก เพรำะกำรขยำยแตล่ ะครง้ั จะตอ้ ง เกยี่ วเน่อื งกบั เครื่องอ่นื ๆ ทง้ั ระบบ 4.โทโปโลยแี บบ Hybrid เปน็ รปู แบบใหม่ ทเี่ กิดจำกกำรผสมผสำนกันของโทโปโลยีแบบ STAR , BUS , RING เข้ำดว้ ยกันเพ่ือเปน็ กำรลด ข้อเสยี ของรปู แบบท่ีกลำ่ วมำ และเพิ่มข้อดี ขน้ึ มำ มักจะนำมำใช้กับระบบ WAN (Wide Area Network) มำก ซงึ่ กำรเชือ่ มต่อกนั ของแต่ละรปู แบบน้นั ตอ้ งใชต้ วั เชื่อมสัญญำญเขำ้ มำเปน็ ตัวเชอ่ื ม ตัวน้ันก็คือ Router เป็นตวั เชื่อม กำรตดิ ต่อกนั 5.โทโปโลยแี บบ MESH เป็นรูปแบบท่ถี ือวำ่ สำมำรถป้องกนั กำรผิดพลำดท่อี ำจจะเกิดขนึ้ กับระบบได้ดีทส่ี ุด เป็นรูปแบบท่ใี ชว้ ิธกี ำรเดินสำย ของแตเ่ คร่ือง ไปเช่ือมกำรติดตอ่ กบั ทุกเครอ่ื งในระบบเครอื ข่ำย คือเคร่ืองทุกเครือ่ งในระบบเครือขำ่ ยน้ี ตอ้ งมีสำย ไปเชือ่ มกับทุก ๆ เครอ่ื ง ระบบนย้ี ำกตอ่ กำรบทที่ 4 รูปแบบกำรเชื่อมตอ่ เครอื ข่ำย รูปแบบการเชือ่ มตอ่ เครือข่าย ( Topologies ) รูปแบบกำรเช่ือมต่อเครือข่ำยหรือมักเรยี กส้นั ๆวำ่ โทโพโลยี เปน็ ลักษณะทั่วไปที่กลำ่ วถึงกำรเช่ือมตอ่ คอมพิวเตอร์ ทำงกำยภำพว่ำมรี ปู แบบหนำ้ ตำอย่ำงไร เพื่อให้สำมำรถสื่อสำรร่วมกนั ได้และด้วยเทคโนโลยีเครือขำ่ ยทอ้ งถ่นิ จะมี รูปแบบของโทโพโลยหี ลำยแบบด้วยกนั ดังน้ัน จึงเปน็ ส่ิงสำคญั ทจ่ี ะตอ้ งเรียนรู้และทำควำมเข้ำใจแต่ละโทโพโลยีวำ่ มีควำมคล้ำยคลงึ หรอื แตกตำ่ งกันอย่ำงไร รวมถึงขอ้ ดีและข้อเสยี ของแตล่ ะโทโพโลยี และโดยปกติโทโพโลยที ่นี ยิ ม ใชก้ ันบนเครือขำ่ ยท้องถ่นิ จะมอี ยู่ 3 ชนดิ ดว้ ยกัน คือ โทโพโลยแี บบบสั โทโพโลยีแบบดำว โทโพโลยแี บบวงแหวน 1. แบบบสั ( BUS Topology ) เป็นกำรเช่อื มต่อคอมพิวเตอร์ทกุ เครือ่ งบนสำยสญั ญำณหลักเส้นเดียว ทเ่ี รียกว่ำ

BUS ทีปลำยทง้ั สองด้ำนปดิ ด้วยอุปกรณ์ที่เรยี กว่ำ Teminator ไมม่ ีคอมพิวเตอร์เครอื่ งใดเคร่ืองหน่ึงเป็นศนู ย์กลำง ในกำรเช่ือมต่อ คอมพวิ เตอร์เครือ่ งใดหยดุ ทำงำน กไ็ ม่มีผลกับคอมพิวเตอร์เครื่องอน่ื ๆ ในเครอื ข่ำย ข้อดี ของกำรเช่อื แบบบสั คอื - สำมำรถติดตง้ั ไดง้ ำ่ ย เนือ่ งจำกเป็นโครงสร้ำงเครือข่ำยทไ่ี มซ่ บั ซ้อน - กำรเดินสำยเพื่อตอ่ ใชง้ ำน สำมำรถทำไดง้ ำ่ ย - ประหยัดคำ่ ใช้จำ่ ย กล่ำวคือ ใช้สำยสง่ ข้อมูลนอ้ ยกวำ่ เน่อื งจำกสำมำรถเชอ่ื มต่อกับสำยหลกั ได้ทนั ที - งำ่ ยต่อกำรเพ่มิ สถำนีใหม่เข้ำไปในระบบ โดยสถำนีนีส้ ำมำรถใช้สำยส่งขอ้ มลู ท่ีมีอยู่แล้วได้ ขอ้ เสียของกำรเช่อื แบบบสั คือ - ถำ้ มสี ำยเสน้ ใดเส้นหนงึ่ หลดุ ไปจำกสถำนใี ดสถำนหี นึ่ง ก็จะทำให้ระบบเครือข่ำยนห้ี ยุดกำรทำงำนลงทนั ที - ถ้ำระบบเกดิ ขอ้ ผิดพลำดจะหำข้อผดิ พกลำดไดย้ ำก โดยเฉพำะถำ้ เปน็ ระบบเครือข่ำยขนำดใหญ่ 2. แบบดำว ( Star topology ) เปน็ กำรเชือ่ มต่อสถำนหี รือจุดตำ่ ง ๆ ออกจำกคอมพิวเตอร์ศนู ย์กลำงหรอื คอมพิวเตอร์แมข่ ่ำยทเ่ี รียกวำ่ File Server แตล่ ะสถำนีจะมสี ำยสัญญำณเชื่อมตอ่ กบั ศูนย์กลำง ไม่มกี ำรใช้ สำยสัญญำณรว่ มกัน เมื่อสถำนใี ดเกิดควำมเสยี หำยจะไมม่ ีผลกระทบกับสถำนีอื่น ๆ ปจั จุบันนิยมใช้อุปกรณ์ HUB เปน็ ตัวเช่ือมต่อจำกคอมพิวเตอร์แม่ขำ่ ยหรือคอมพิวเตอร์ศูนย์กลำง

ขอ้ ดีของกำรเชื่อมแบบดำว คือ - ง่ำยตอ่ กำรใชบ้ ริกำร เพรำะมีศนู ยก์ ลำงอยทู่ ี่คอมพวิ เตอร์แม่ข่ำยอยเู่ ครื่องเดียวและเมื่อเกดิ ควำมเสียหำยท่ี คอมพวิ เตอรเ์ ครอ่ื งใดเคร่ืองหนึ่ง คอมพวิ เตอร์เคร่ืองอื่นกจ็ ะไม่มีผลกระทบอนั ใดเพรำะใชส้ ำยคนละเสน้ ขอ้ เสียของกำรเช่ือมแบบดำว คือ - ตอ้ งใช้สำยสญั ญำณจำนวนมำก เพรำะแต่ละสถำนีมสี ำยสญั ญำณของตนเองเชื่อมตอ่ กับศนู ยก์ ลำงจึงเหมำะสม กบั เครือข่ำยระยะใกล้มำก กว่ำกำรเชื่อมต่อเครือขำ่ ยระยะไกล กำรขยำยระบบกย็ ุ่งยำกเพรำะต้องเชื่อมต่อสำย

จำกศนู ยก์ ลำงออกมำ ถำ้ ศนู ย์กลำงเสียหำยระบบจะใช้กำรไมไ่ ด้ 3. แบบวงแหวน ( Ring Topology ) เป็นกำรเชอ่ื มตอ่ เครือขำ่ ยเปน็ รูปวงแหวนหรือแบบวนรอบ โดยสถำนีแรก เช่ือมต่อกบั สถำน สุดท้ำย กำรรับส่งข้อมลู ในเครือข่ำยจะต้องผ่ำนทุกสถำนี โดยมตี วั นำสำรว่งิ ไปบนสำยสญั ญำณ ของแตล่ ะสถำนี ต้องคอยตรวจสอบข้อมลู ท่สี ่งมำ ถ้ำไม่ใชข่ องตนเองต้องสง่ ผำ่ นไปยังสถำนอี ่นื ตอ่ ไป ข้อดีของกำรเช่ือมแบบวงแหวน คอื - ใช้สำยสัญญำณนอ้ ยกว่ำแบบดำว เหมำะกับกำรเชอื่ มตอ่ ด้วยสำยสญั ญำณใยแกว้ นำแสง เพรำะสง่ ข้อมลู ทำง เดยี วกนั ด้วยควำมเร็วสงู ขอ้ เสียของกำรเชอื่ มแบบวงแหวน คือ - ถ้ำสถำนใี ดเสียระบบกจ็ ะไม่สำมำรถทำงำนตอ่ ไปไดจ้ นกว่ำจะแก้ไขจดุ เสยี น้ัน และยำกในกำรตรวจสอบวำ่ มี ปญั หำทจ่ี ดุ ใดและถำ้ ตอ้ งกำรเพ่มิ สถำนีเข้ำไปจะพกหระทำไดย้ ำกด้วย เดินสำยและมีรำคำแพง จงึ มีค่อยมีผนู้ ิยมมำกนัก

บทที่ 4 อุปกรณใ์ นระบบเครือข่าย 1.โมเดม็ (Modem) โมเด็มเป็นฮำร์ดแวรท์ ท่ี ำหน้ำที่แปลงสัญญำณแอนะลอ็ กให้เปน็ สัญญำณดิจิตัล เม่ือข้อมูลถูกสง่ มำยังผู้รบั ละแปลง สญั ญำณดจิ ิตลั ให้เป็นแอนะลอ็ ก เมื่อต้องกำรสง่ ขอ้ มลู ไปบนช่องสอื่ สำร กระบวนกำรทโี่ มเด็มแปลงสัญญำณดิจิตลั ใหเ้ ปน็ สัญญำณแอนะลอ็ ก เรียกว่ำ มอดูเลชัน (Modulation) โมเด็มทำหนำ้ ท่ี มอดเู ลเตอร์ (Modulator) กระบวนกำรท่ีโมเดม็ แปลงสัญญำณแอนะล็อก ให้เปน็ สญั ญำณแอนะล็อก ใหเ้ ปน็ สัญญำณดิจิตลั เรียกว่ำ ดมี อดเู ล ชนั (Demodulation) โมเด็มหนำ้ ท่ี ดีมอดูเลเตอร์ (Demodulator)โมเดม็ ทใี่ ช้กนั อยำ่ งแพร่หลำยในปัจจุบนั มี 2 ประเภทโมเด็กในปัจจบุ ันทำงำนเป็นทง้ั โมเดม็ และ เคร่ืองโทรสำร เรำเรยี กวำ่ Faxmodem

2. กำรด์ เครอื ข่ำย (Network Adapter) หรอื กำร์ด LAN เปน็ อุปกรณท์ ำหนำ้ ทส่ี ่ือสำรระหว่ำงเครื่องตำ่ งกนั ได้ไม่จำเปน็ ต้องเป็นรนุ่ หรือยีห่ ้อเดยี วกันแตห่ ำกซอ้ื พร้อมๆกันก็ แนะนำใหซ้ ้ือร่นุ และยหี ้อเดยี วกนั จะดกี วำ่ และควรเปน็ กำร์ดแบบ PCI เพรำะสำมำรถส่งข้อมูลได้เร็วกว่ำแบบ ISAและเมนบอรด์ รุ่นใหมๆ่ มกั จะไมม่ ี Slot ISA ควรเป็นกำรด์ ที่มีควำมเร็วเป็น 100 Mbps ซง่ึ จะมรี ำคำมำกกวำ่ กำรด์ แบบ 10 Mbps ไม่มำกนัก แตส่ ่งขอมลู ไดเ้ รว็ กว่ำ นอกจำกน้ีคุณควรคำหนึงถึงขว้ั ต่อ หรือคอนเน็กเตอร์ของกำร์ดด้วยโดยทัว่ ไปคอนเน็กเตอร์ ของกำรด์ LAN จะมีหลำยแบบ เชน่ BNC , RJ-45 เป็น ตน้ ซง่ึ คอนเน็กเตอรแ์ ตล่ ะแบบก็จะใชส้ ำยที่แตกตำ่ งกนั 3. เกตเวย์ (Gateway) เกตเวย์ เปน็ อปุ กรณอ์ ิเล็กทรอนกิ สอ์ ีกอย่ำงหนึ่งที่ชว่ ยในกำรส่ือสำรขอ้ มูลคอมพิวเตอร์หน้ำท่หี ลกั คือชว่ ยให้ เครอื ข่ำยคอมพิวเตอร์ 2 เครือขำ่ ยหรือมำกกวำ่ ซ่ึงมีลักษณะไม่เหมือนกนั สำมำรถติดต่อสื่อสำรกนั ได้เหมือนเป็น เครอื ข่ำยเดยี วกนั 4. เรำเตอร์ (Router) เรำเตอร์เป็นอุปกรณใ์ นระบบเครือข่ำยทท่ี ำหน้ำท่เี ป็นตัวเชอ่ื มโยงให้เครือขำ่ ยที่มีขนำดหรือมำตรฐำนในกำรสง่ ขอ้ มูลต่ำงกนั สำมำรถตดิ ต่อแลกเปลี่ยนขอ้ มลู ระหวำ่ งกนั ได้ เรำเตอรจ์ ะทำงำนอยู่ชน้ั Network หน้ำที่ของเรำ เตอร์ก็คือ ปรบั โปรโตคอล (Protocol) (โปรโตคอลเป็นมำตรฐำนในกำรสอ่ื สำรข้อมูล บนเครอื ข่ำยคอมพิวเตอร)์ ท่ี ต่ำงกันให้สำมำรถสอื่ สำรกันได้

5. บริดจ์ (Bridge) บริดจม์ ีลกั ษณะคลำ้ ยเครอ่ื งขยำยสัญญำณ บรดิ จ์จะทำงำนอยใู่ นช้ัน Data Link บริดจท์ ำงำนคลำ้ ยเคร่ืองตรวจ ตำแหนง่ ของข้อมูล โดยบรดิ จ์จะรับข้อมลู จำกตน้ ทำงและส่งให้กับปลำยทำง โดยท่บี ริดจ์จะไม่มีกำรแก้ไขหรอื เปลี่ยนแปลงใดๆแกข่ ้อมลู บริดจ์ทำใหก้ ำรเช่ือมต่อระหวำ่ งเครือข่ำยมีประสิทธิภำพลดกำรชนกนั ของข้อมลู ลง บรดิ จจ์ ึงเป็นสะพำนสำหรบั ข้อมูลสองเครอื ขำ่ ย 6. รีพีตเตอร์ (Repeater) รีพตี เตอร์ เป็นเครือ่ งทบทวนสัญญำณข้อมลู ในกำรส่งสญั ญำณข้อมลู ในระยะทำงไกลๆสำหรับสญั ญำณแอนะล็อก จะต้องมีกำรขยำยสัญญำณข้อมูลทีเ่ี ร่ิมเบำบำงลงเนื่องจำกระยะทำง และสำหรับสัญญำณดจิ ติ ัลกจ็ ะต้องมีกำร ทบทวนสญั ญำณเพอ่ื ปอ้ งกนั กำรขำดหำยของสัญญำณเนอื่ งจำกกำรสง่ ระยะทำงไกลๆเช่นกัน รพี ตี เตอรจ์ ะทำงำน อย่ใู นชน้ั Physical

7. สำยสัญญำณ เป็นสำยสำหรบั เช่อื มต่อเครอ่ื งคอมพวิ เตอรต์ ำ่ งๆในระบบเข้ำด้วยกนั หำกเป็นระบบที่มีจำนวนเครือ่ งมำกกวำ่ 2 เครอ่ื งก็จะต้องต่อผ่ำนฮับอีกทหี นงึ่ โดยสำยสัญญำณสำหรับเช่ือมตอ่ เครื่องในระบบเครือขำ่ ย จะมอี ยู่ 2 ประเภท คอื - สำย Coax มลี ักษณะเปน็ สำยกลม คล้ำยสำยโทรทัศน์ ส่วนมำกจะเปน็ สดี ำสำยชนิดนี้จะใช้กบั กำรด์ LAN ทใ่ี ช้ คอนเน็กเตอร์แบบ BNC สำมำรถส่งสัญญำณได้ไกลประมำณ 200 เมตร สำยประเภทน้จี ะตอ้ งใช้ตวั T Connector สำหรับเชือ่ มต่อสำยสัญญำณกบั กำร์ด LAN ต่ำงๆในระบบ และต้องใชต้ วั Terminator ขนำด 50 โอห์ม สำหรับปิดหัวและทำ้ ยของสำย

- สำย UTP (Unshied Twisted Pair) เป็นสำยสำหรับกำร์ด LAN ที่ใชค้ อนเน็กเตอรแ์ บบ RJ-45 สำมำรถสง่ สญั ญำณได้ไกลประมำณ 100 เมตร หำกคณุ ใข้สำยแบบนจี้ ะตอ้ งเลอื กประเภทของสำยอีก โดยท่ัวไปนยิ มใชก้ ัน 2 รุ่น คอื CAT 3 กับ CAT5 ซึง่ แบบ CAT3 จะมีควำมเรว็ ในกำรสง่ สัญญำณ10 Mbps และแบบ CAT 5 จะมี ควำมเรว็ ในกำรสง่ ข้อมลู ที่ 100 Mbps แนะนำวำ่ ควรเลอื กแบบ CAT 5 เพอ่ื กำรอัพเกรดในภำยหลังจะได้ไมต่ ้อง เดินสำยใหม่ ในกำรใชง้ ำนสำยนี้ สำย 1 เส้นจะตอ้ งใชต้ วั RJ - 45 Connector จำนวน 2 ตัว เพื่อเป็นตวั เชอื่ มต่อ ระหว่ำงสำยสญั ญำณจำกกำร์ด LAN ไปยงั ฮบั หรือเครื่องอ่ืน เช่นเดียวกบั สำยโทรศพั ท์ ในกรณเี ป็นกำรเช่อื มต่อ เครอื่ ง 2 เครื่องสำมำรถใชต้ ่อผำ่ นสำยเพยี งเสน้ เดยี ไดแ้ ต่ถำ้ มำกกว่ำ 2 เครอ่ื ง ก็จำเป็นต้องต่อผ่ำนฮับ

8. ฮบั (HUB) เป็นอุปกรณช์ ่วยกระจ่ำยสัญญำณไปยังเคร่ืองต่ำงๆทอ่ี ยู่ในระบบ หำกเป็นระบบเครือข่ำยทม่ี ี 2 เครื่องก็ไม่ จำเปน็ ต้องใช้ฮบั สำมำรถใช้สำยสัญญำณเช่อื มตอ่ ถึงกนั ไดโ้ ดยตรง แตห่ ำกเป็นระบบที่มีมำกกว่ำ 2 เครอื่ ง จำเปน็ ต้องมีฮับเพ่อื ทำหนำ้ ทเ่ี ป็นตวั กลำง ในกำรเลือกซื้อฮับควรเลือกฮบั ที่มีควำมเร็วเท่ำกบั ควำมเร็ว ของกำร์ด เชน่ กำรด์ มคี วำมเร็ว 100 Mbps กค็ วรเลือกใช้ฮบั ที่มีควำมเรว็ เป็น 100 Mbps ด้วย ควรเป็นฮับท่มี จี ำนวนพอรต์ สำหรับต่อสำยท่ีเพียงพอกับ เครื่องใช้ในระบบ หำกจำนวนพอรต์ ต่อสำยไมเ่ พียงพอกส็ ำมำรถต่อพ่วงได้ แนะนำว่ำ ควรเลอื กซื้อฮับทสี่ ำมำรถต่อพ่วงได้ เพอื่ รอ งรับกำรขยำยตวั ใน

บทท่ี 5 กำรเชอื่ มต่อเครือข่ำยแบบเวิร์กกรุป๊ ดว้ ย Windows XP ข้ันตอนกำรสร้ำงสำยแลนชนดิ RJ-45 ในเบือ้ งตน้ ของกำรเช่ือมโยงเครือข่ำยแบบเวิร์กกรุ๊ปจำเปน็ ตอ้ งมีสำยแลน ซึ่งสำมำรถหำซื้อสำเรจ็ รปู ได้ตำมห้ำง รำ้ นไอทที ัว่ ไป โดยจะต้องคัดเลอื กสำยใหถ้ ูกต้อง วำ่ จะใชส้ ำยแบบต่อตรง(Straight Through) หรอื ใช้สำยแบบไขว้ (Crossover) ท้ังน้ขี ้ึนอยกู่ ับควำมต้องกำร แตก่ รณีต้องกำรเช่ือมโยงคอมพวิ เตอร์เพียง 2 เครอ่ื ง หำกใชส้ ำยแบบ ไขว้ กไ็ ม่จำเปน็ ต้องใช้อุปกรณ์ฮบั หรือสวิตช์ สำหรบั อปุ กรณ์ท่จี ะต้องเตรยี มเพื่อดำเนนิ กำรสร้ำงสำยแลนมดี ังน้ี 1. สำยยูทีพี CAT-5 ท่ีมคี วำมยำวเหมำะสมกับกำรใช้งำน (แตไ่ ม่ เกิน 100 เมตร) 2. หัวเชอื่ มตอ่ หรือปลั๊ก RJ-5 จำนวน 2 หัว 3. คมี ย้ำหวั RJ-5 4. มีดคดั เตอร์ สำหรับปลำยสำยอกี ฝ่ังหน่ึง ในกรณีท่ตี ้องกำรสร้ำงสำยแลนแบบเชอ่ื มต่อตรง ก็ให้ดำเนินกำรตำมน้ี ก็จะต้องทำ กำรเรยี งสสี ำยสัญญำณใหม่ ดังนี้ - ขำวเขยี ว - เขียว,ขำวสม้ - นำ้ เงิน,ขำวน้ำเงิน - สม้ ,ขำวนำ้ ตำล - นำ้ ตำล

ข้ันตอนกำรตดิ ตั้งเครือขำ่ ยแบบเวริ ์กกร๊ปุ ด้วย Windows XP ข้อกำหนดเบื้องต้น เพือ่ ใหก้ ำรติดต้ังเครือขำ่ ยเวริ ์กกรปุ๊ ตำมตวั อย่ำงต่อไปนี้เกดิ ผลสัมฤทธ์ติ ำมต้องกำร ดังน้ี 1. เตรยี มเคร่อื งคอมพวิ เตอรเ์ ครือ่ งที่ 1 (Computer#1) 38 2. เตรยี มเครอ่ื งคอมพิวเตอร์เครื่องท่ี 2 (Computer#2) 3. เปลีย่ นมมุ มองของเมนูเปน็ ชนิด Classic Start Menu 4. เปลี่ยนมมุ มองของ Control Panel เปน็ Classic View คอมพิวเตอรเ์ คร่ืองท่ี 1 (Computer#1) ทีต่ ิดตง้ั Windows XP Service Pack 2 เรียบร้อยแล้ว คอมพิวเตอรเ์ คร่ืองท่ี 2(Computer#2) ท่ตี ิดต้งั Windows XP Service Pack 2 เป็นทเี่ รยี บร้อยแล้วเช่นกันแสดง รำยละเอยี ดของระบบปฏิบัติกำร ซึ่งในที่นี้คือ Windows XP Professional Service Pack 2 ขัน้ ตอนกำรเปล่ียนมมุ มองของเมนูให้เปน็ ชนิด Classic Start Menu 1.ไปที่ทำสก์บำร์แล้วคลิกขวำทเ่ี มำส์เลือกรำยกำร Properties 2.คลิกที่แท็บ Start Menu 3.เลอื กรำยกำรคำสัง่ Classic Start menu 4.กดปุม่ OKกจ็ ะได้เมนูใหม่ในมุมมองของ Classic Start menu ขน้ั ตอนกำรเปลย่ี นมุมมองของ Control Panel ใหเ้ ป็น Classic View 1.คลิกปมุ่ Start 2.เลือกเมนู Settings 3.เลอื กเมนู Control Panel 4.คลิกท่ี Switch to Classic Viewกจ็ ะได้มมุ มอง Control Panel ในรปู แบบ Classic View ตำมรำยกำรดังน้ี กำรกำหนดหมำยเลขไอพแี อดเดรสให้กับคอมพิวเตอร์เครื่องแรกให้นำสำยแลนแบบไขว้ท่สี รำ้ งขน้ึ มำเสียบเขำ้ กบั ซ็ อกเกต็ แลนท้งั สองเคร่ือง หรือกรณมี ีอุปกรณ์ฮบั ก็ได้ดำเนนิ กำรเสยี บเข้ำกับฮับไดเ้ ลย แต่กรณีนจ้ี ะต้องเป็นสำย แลนแบบตอ่ ตรงท่ไี ม่ใช่แบบไขว้ 1. ให้สงั เกตทท่ี ำสกบ์ ำรแ์ สดงถึงคอมพวิ เตอร์ทย่ี ังไม่ได้เชือ่ มต่อสำย โดยหลังจำกที่ตอ่ สำยแลนเข้ำกับคอมพวิ เตอร์

แล้ว ไอคอนนี้กจ็ ะเปน็ ซึง่ หมำยควำมวำ่ ยังไม่สำมำรถเช่ือมต่อได้ ท้ังนเ้ี นือ่ งจำกยงั ไม่ได้มีกำรกำหนดค่ำนน่ั เอง 2.ทC่ี ontrol Panel ใหด้ ับเบิลคลกิ ท่ไี อคอน Network Connection 3.จะเกดิ ไดอะล็อกบ็อกซ์ชอื่ Network Connectionsขึน้ มำโดยใหน้ ำเมำส์ไปช้ี แลว้ คลิกขวำทไ่ี อคอน Local Area 39 Connection แล้วเลอื กรำยกำร Properties 4.คลกิ ท่ีแท็บ General 5.คลกิ เครื่องหมำยถกู ท้ังหมดตำมรูป ซึ่งปกตจิ ะถูกกำหนดเปน็ ทเ่ี รียบรอ้ ยแลว้ จำกนนั้ ให้คลกิ ท่รี ำยกำร Internet Protocol(TCP/P)จนเกดิ แถบสี 6.คลกิ ปุม่ Properties 7.เลือกรำยกำรคำสงั่ Use the following IP address ทัง้ น้ีเนื่องจำกตอ้ งกำรกำหนดหมำยเลขไอพีแอดเดรสเอง 8.กรอกหมำยเลข IP:192.168.0.1 และ Subnet mask: 255.255.255.0 9.ตำมดว้ ยปุ่ม OK 10.แล้วคลิกท่เี ซ็กบ็อกซ์ Show icon notification area when connected เพ่ือใหแ้ สดงไอคอนตรงทำสก์บำร์ เมอื่ ไดร้ บั กำรเชื่อมต่อ

บทท่ี 6 การแชร์ไฟล์และเครื่องพิมพบ์ นเครอื ขา่ ย วธิ กี ารแชร์ไฟลแ์ ละเคร่อื งพิมพ์บนเครอื ขา่ ย ต้อง set ค่ำ แต่ละเคร่ืองก่อน โดยจำไวว้ ำ่ ชือ่ กลมุ่ (workgroup)ต้องเหมือนกนั แตช่ ่ือเคร่ืองห้ำมเหมือกัน 1. อันดับแรกเรำต้องทำกำรเปิดกำรแชร์ของ network ท่เี รำใช้อยู่เสยี ก่อนใหเ้ ขำ้ ไปที่ control panel -> Network and Internet -> Network and Sharing Center เมอื่ กดเข้ำมำแล้วจะพบกับหน้ำตำ่ งดงั ภำพ

2. คลิ๊กเลือกไปที่ Change advanced sharing setting เพอื่ เข้ำสู่เมนูของกำรปรบั แต่งค่ำของ Network ซง่ึ จุดน้ี สำคญั เรำตอ้ งปรับค่ำให้ตรงกับ Network ท่ีเรำใช้อยู่ โดยทั่วไปจะมี Home , Work network และ Public ซ่ึงถ้ำ เรำ ใช้ Network ตวั ไหนอยู่กใ็ ห้ทำกำรปรบั ค่ำท่ี Network นั้นซึ่งในตวั อยำ่ งเป็น Network แบบ Public เมื่อกดเข้ำ ไปเรำหำเมนูดังภำพด้ำนล่ำง

3.ทำกำรเปดิ Network discovery , File and printer sharing และ Public folder sharing โดยติ๊กเลอื กที่ Turn on ดังภำพด้ำนบน จำกน้นั เลื่อนลงมำด้ำนลำ่ งสุดหำคำว่ำ Password protected sharing ทำกำรTurn of คำ่ นี้ดงั ภำพด้ำนลำ่ ง 4. เมือ่ ทำกำรตง้ั ค่ำเสร็จเรยี บร้อยให้กด Save Change แล้วปิดหน้ำตำ่ งออกมำได้เลย จำกนั้นมำเข้ำสู่กระบวนกำร แชร์ไฟล์ โฟลดเ์ ดอร์ หรือไดร์ฟโดยทำนำเมำส์ไปชี้ท่ไี ฟล์ โฟลด์เดอร์ หรือไดร์ฟทีต่ ้องกำรจะแชร์ คลกิ๊ ขวำเลือก properties เพ่อื เรียกหนำ้ ตำ่ งสำหรบั ปรับแตง่ คำ่ ขึน้ มำ จำกน้ันเลอื กไปทีห่ วั ข้อ Sharing จำกน้ันเลือกไปท่ี Share คล๊ิกหนง่ึ ครัง้ 5. เมื่อคลก๊ิ ที่คำส่ัง Share แล้วจะปรำกฏหนำ้ ต่ำงสำหรบั กำหนดสิทธิ์ ตรงจดุ นีไ้ มต่ ้องใส่ใจเลอื กคลิก๊ ไปท่ี Share ที่ อยู่ดำ้ นลำ่ งได้เลยดงั ภำพ

6. เมอื่ เสรจ็ สิ้นกำรแชรแ์ ลว้ เรำจำเป็นจะต้องกำหนดสิทธ์กิ ำรเขำ้ ถึงไฟล์ โฟลดเ์ ดอร์ หรอื ไดร์ฟทีเ่ รำได้ทำกำรแชร์ เมือ่ ครู่นี้โดยเลือกไปท่หี วั ข้อ Security เพ่อื ทำกำรกำหนดสทิ ธโ์ิ ดยเม่อื คลิก๊ เขำ้ ไปกจ็ ะพบกบั หนำ้ ตำ่ งดงั ภำพ ดำ้ นล่ำง

7. เลอื กไปท่ี Edit เพ่ือเขำ้ ส่เู มนกู ำรเพ่มิ สิทธ์ิ จำกนั้นเลือกไปท่ี add

8. พิมพ์คำวำ่ everyone ลงในช่อง Enter the object names to select จำกนนั้ กด Check Name หำกพมิ พ์ ถูกต้องกจ็ ะปรำกฏคำวำ่ Everyone ขึ้นมำดังภำพด้ำนล่ำงจำกน้นั กด OK


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook