51 บทท่6ี พระราชบญั ญัติ จดั ต้ังศาลแรงงานและวิธพี ิจารณาคดแี รงงาน พ.ศ. 2522 ภูมพิ ลอดลุ ยเดช ป.ร. ใหไ้ ว้ ณ วนั ที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2522 เป็นปที ่ี 34 ในรัชกาลปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้า ฯ ให้ประกาศว่า โดยทีเ่ ปน็ การสมควรจัดต้ังศาลแรงงานและให้มีวธิ พี ิจารณาคดแี รงงาน จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยคาแนะนา และยนิ ยอมของสภานติ บิ ัญญตั แิ หง่ ชาติ ทาหน้าท่ีรฐั สภา ดงั ตอ่ ไปน้ี มาตรา 1 พระราชบัญญัติน้ีเรียกว่า พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและ วธิ พี จิ ารณาคดีแรงงาน พ.ศ. 2522 มาตรา 2(1) พระราชบญั ญัตนิ ้ีให้ใชบ้ ังคบั ต้งั แต่วันถัดจากวนั ประกาศในราช กจิ จานุเบกษาเปน็ ต้นไป มาตรา 3 ในพระราชบญั ญตั นิ ้ี ศาลแรงงาน หมายความว่า ศาลแรงงานกลาง ศาลแรงงานภาคหรือศาล แรงงานจังหวดั
52 สมาคมนายจ้าง หมายความว่า องค์การของนายจ้างที่จัดต้ังข้ึนตาม กฎหมายวา่ ด้วยแรงงานสัมพนั ธ์ สหภาพแรงงาน หมายความว่า องค์การของลูกจ้างที่จัดต้ังขึ้นตามกฎหมาย วา่ ดว้ ยแรงงานสัมพนั ธ์ มาตรา 4 ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมและรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงมหาดไทยรักษาการตามพระราชบัญญัติน้ี และให้มีอานาจออก กฎกระทรวงเพ่ือปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ ในส่วนท่ีเก่ียวกับอานาจ หน้าทข่ี องแตล่ ะกระทรวงน้นั กฎกระทรวงนนั้ เม่อื ไดป้ ระกาศในราชกจิ จานุเบกษาแล้ว ให้ใชบ้ งั คับได้ ศาลแรงงาน มาตรา 5 ให้จัดตั้งศาลแรงงานกลางข้ึนในกรุงเทพมหานครและจะเปิดทา การเมื่อใด ให้ประกาศโดยพระราชกฤษฎกี า ให้ศาลแรงงานกลางมีเขตอานาจตลอดกรุงเทพมหานคร จังหวัด สมุทรปราการ จังหวัดสมุทรสาคร จังหวัดนครปฐม จังหวัดนนทบุรี และ จงั หวดั ปทมุ ธานี มาตรา 6 ให้จัดต้ังศาลแรงงานภาคขึ้น และจะเปิดทาการเมื่อใดให้ประกาศ โดยพระราชกฤษฎีกา ซ่ึงจะต้องระบุเขตอานาจศาลและกาหนดที่ตั้งศาลใน เขตศาลนั้นไว้ด้วย มาตรา 7 ถ้าจะจัดตั้งศาลแรงงานจังหวัดข้ึนในจังหวัดใด ให้กระทาโดย พระราชบัญญตั ิซึ่งจะตอ้ งระบุเขตอานาจศาลนัน้ ไวด้ ว้ ย
53 มาตรา 8 ศาลแรงงานมีอานาจพจิ ารณาพิพากษาหรือมีคาสั่งในเรอ่ื งต่อไปน้ี (1) คดีพิพาทเก่ียวด้วยสิทธิหรือหน้าที่ตามสัญญาจ้างแรงงานหรือตาม ขอ้ ตกลงเกย่ี วกับสภาพการจ้าง (2) คดีพิพาทเก่ียวด้วยสิทธิหรือหน้าที่ตามกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครอง แรงงานหรือกฎหมายว่าดว้ ยแรงงานสมั พนั ธ์ (3) กรณีท่ีจะต้องใช้สิทธิทางศาลตามกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองแรงงาน หรือกฎหมายวา่ ด้วยแรงงานสัมพนั ธ์ (4) คดีอุทธรณ์คาวินิจฉัยของเจ้าพนักงานตามกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครอง แรงงาน หรือของคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์หรือรัฐมนตรีตามกฎหมาย ว่าดว้ ยแรงงานสัมพนั ธ์ (5) คดีอันเกิดแต่มูลละเมิดระหว่างนายจ้างและลูกจ้างสืบเน่ืองจากข้อ พิพาทแรงงานหรอื เกย่ี วกบั การทางานตามสัญญาจ้างแรงงาน (6) ข้อพพิ าทแรงงานที่รฐั มนตรวี ่าการกระทรวงมหาดไทยขอใหศ้ าลแรงงาน ช้ขี าดตามกฎหมายว่าด้วยแรงงานสัมพันธ์ คดีตามวรรคหน่ึง ในกรณีท่ีกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองแรงงานหรือ กฎหมายว่าด้วยแรงงานสัมพันธ์บัญญัติให้ร้องเรียนต่อพนักงานเจ้าหน้าท่ี หรือปฏิบัติตามขั้นตอนและวิธีการที่กาหนดไว้จะดาเนินการในศาลแรงงาน ไดต้ อ่ เมอื่ ไดป้ ฏบิ ัตติ ามข้ันตอนและวธิ ีการท่ีกฎหมายดังกลา่ วบญั ญตั ิไว้แล้ว มาตรา 9 ในท้องท่ีท่ีศาลแรงงานเปิดทาการแล้ว ห้ามมิให้ศาลช้ันต้นอื่นใด ในทอ้ งทน่ี ้นั รับคดที ่ีอยใู่ นอานาจของศาลแรงงานไวพ้ จิ ารณาพพิ ากษา
54 ในกรณีมีปัญหาว่าคดีใดจะอยู่ในอานาจของศาลแรงงานหรือไม่ไม่ว่าจะเกิด ปัญหาข้ึนในศาลแรงงานหรือศาลอื่น ให้อธิบดีผู้พิพากษาศาลแรงงานกลาง เป็นผวู้ นิ ิจฉยั คาวนิ ิจฉัยของอธบิ ดผี พู้ ิพากษาศาลแรงงานกลางให้เปน็ ทสี่ ุด มาตรา 10 ให้ศาลแรงงานสังกัดอยู่ในกระทรวงยุติธรรม และให้นา บทบัญญัติแห่งพระธรรมนูญศาลยุติธรรมมาใช้บังคับแก่ศาลแรงงานโดย อนุโลม ผ้พู พิ ากษาในศาลแรงงาน มาตรา 11 ในศาลแรงงาน ให้มีผู้พิพากษา และผู้พิพากษาสมทบ ตาม จานวน ท่ีรัฐมนตรีวา่ การ กระทรวงยุติธรรม จะได้กาหนด ตามความจาเป็น โดยเฉพาะผู้พิพากษาสมทบ ฝ่ายนายจ้างและผู้พิพากษาสมทบฝ่ายลูกจ้าง ให้มีจานวนฝ่ายละเทา่ ๆ กนั มาตรา 12 ผู้พิพากษาของศาลแรงงานจะได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ แต่งต้ังจาก ข้าราชการตุลาการ ตามกฎหมายว่าด้วย ระเบียบข้าราชการ ฝ่ายตุลาการ ซึง่ เปน็ ผูม้ ีความรูแ้ ละความเขา้ ใจในปัญหาแรงงาน มาตรา 13 ในศาลแรงงานกลางและศาลแรงงานภาค ให้มีอธิบดีผู้พิพากษา ศาลแรงงานกลาง และอธิบดีผู้พิพากษาศาลแรงงานภาค ศาลละหนึ่งคน และให้มีรองอธิบดีผู้พิพากษาศาลแรงงานกลางและรองอธิบดีผู้พิพากษา ศาลแรงงานภาค ตามจานวน ที่รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงยุติธรรมจะได้ กาหนดตามความจาเป็นของแตล่ ะศาล
55 ในศาลแรงงานจังหวดั ให้มีผูพ้ ิพากษาหัวหน้าศาลแรงงานจงั หวัดศาลละหน่ึง คน มาตรา 14 ผู้พิพากษาสมทบจะได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งจาก บุคคลตามบัญชีรายช่ือผู้แทนฝ่ายนายจ้างและฝ่ายลูกจ้างที่กรมแรงงาน เสนอ จากการลงคะแนนเสียงข องสมาคมนายจ้าง และ สหภาพแรงงานแต่ ละฝ่ายซึ่งจดทะเบียนที่ตั้งสานักงานในเขตศาลแรงงานนั้น เว้นแต่ ในเขต ศาลแรงงานใด ไม่มี สมาคม นายจา้ ง หรือสหภาพแรงงานซง่ึ จดทะเบียนที่ต้ังสานักงานไว้ จะได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ แต่งต้ังจาก บุคคลตาม บัญชีรายชื่อ ที่กรมแรงงาน เสนอแทนฝ่ายนายจ้างหรือฝ่าย ลูกจา้ ง ผู้ที่จะได้รับการเสนอเพื่อทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ แต่งตั้งเป็น ผู้ พพิ ากษาสมทบ ตอ้ งมคี ณุ สมบตั ิ และ ไมม่ ี ลักษณะ ต้องหา้ มดังต่อไปน้ี (1) มสี ญั ชาติไทย (2) บรรลนุ ิติภาวะ (3) มีภูมลิ าเนาหรือสถานท่ีทางานอยู่ในเขตศาลแรงงานน้นั (4) ไม่เป็นบุคคลล้มละลาย คนไร้ความสามารถหรือคนเสมือนไร้ความสาม รถ (5) ไม่เคยต้องโทษจาคุกโดยคาพิพากษาถึงท่ีสุดให้จาคุกเว้นแต่เป็นโทษ สาหรับความผดิ ทไี่ ดก้ ระทาโดยประมาทหรือ ความผดิ ลหโุ ทษ (6) เป็นผู้มีความเล่ือมใสในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริย์เปน็ ประมขุ
56 (7) ไม่เคยต้องคาพิพากษาว่าได้กระทาความผิดตามกฎหมายว่าด้วยการ ค้มุ ครองแรงงานหรอื กฎหมายว่าด้วยแรงงานสัมพันธ์ เวน้ แต่พ้นโทษมาแล้ว ไมน่ ้อยกว่า 2 ปี หรอื พ้นเวลาทีศ่ าลไดก้ าหนดในการรอการลงโทษแล้ว (8) ไม่เป็นข้าราชการการเมือง กรรมการพรรคการเมือง หรือเจ้าหน้าที่ใน พรรคการเมือง สมาชิกรัฐสภาหรือ สมาชิก สภา กรุงเทพมหานคร หรือ สมาชิกสภาทอ้ งถิน่ ท่มี าจาก การเลอื กตง้ั หรือ ทนายความ หลักเกณฑ์และวิธีการเพ่ือให้ได้มาซ่ึงรายชื่อผู้แทนฝ่ายนายจ้างและฝ่าย ลกู จา้ งตามวรรคหน่ึง ใหเ้ ปน็ ไปตาม ทก่ี าหนด ในกฎกระทรวง ผทู้ ่ไี ดท้ รงพระกรณุ าโปรดเกล้า ฯ แต่งตั้งเปน็ ผู้พิพากษาสมทบจะตอ้ งเขา้ รับ การอบรมในเร่ืองเกี่ยวกับศาลแรงงาน อานาจ หน้าท่ีของผู้พิพากษาสมทบ และระเบียบที่เกี่ยวข้องตลอดจนการดารงตนในฐานะเป็นผู้พิพากษาสมทบ ตามระเบียบ การอบรม ท่กี ระทรวงยตุ ิธรรมกาหนด ก่อนเข้ารับตาแหน่ง ผู้พิพากษาสมทบจะต้องปฏิญาณตนต่ออธิบดีผู้ พิพากษาศาลแรงงานกลาง หรืออธิบดีผู้พิพากษา ศาลแรงงานภาค หรือผู้ พิพากษาหัวหน้าศาลแรงงานจังหวัดซ่ึงตนจะเข้าสังกัด แล้วแต่กรณี ว่าจะ ปฏิบัติหน้าท่ีด้วยความเท่ียงธรรม โดยไม่ผูกพันตนว่าเป็นฝ่ายนายจ้าง หรือ ฝ่ายลูกจา้ งและรักษาความลบั ในราชการ ผู้พิพากษาสมทบให้ดารงตาแหน่งคราวละสองปี แต่จะทรงพระกรุณาโปรด เกล้า ฯ แตง่ ตงั้ ผตู้ อ้ งออกตามวาระไปแล้ว ใหด้ ารงตาแหนง่ ต่อไปอีกกไ็ ด้ มาตรา 15 ผพู้ พิ ากษาสมทบพ้นจากตาแหน่ง เมือ่ (1) ออกตามวาระ
57 (2) ตาย (3) ลาออก (4) ขาดคณุ สมบัติหรือเข้าลกั ษณะต้องหา้ มอย่างใดอย่างหนึ่งตามมาตรา 14 (5) ศาลมีคาพพิ ากษาหรือคาสงั่ ถงึ ท่ีสุดให้จาคุก (6) ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้ออกเพราะขาดการปฏิบัติหน้าที่ตามที่ กาหนดถึงสองครงั้ ติดต่อกนั โดยไมม่ ีเหตุอันสมควร หรอื เพราะกระทาการใด ๆ อันเป็นเหตุที่ข้าราชการตุลาการจะต้องพ้นจากตาแหน่งตามกฎหมายว่า ดว้ ยระเบียบขา้ ราชการฝา่ ยตลุ าการ การพ้นจากตาแหน่งตาม (4) หรือ (6) ต้องได้รับความเห็นชอบของ คณะกรรมการตุลาการ ตามกฎหมายว่าด้วย ระเบียบ ข้าราชการฝ่ายตุลา การ มาตรา 16 ให้อธิบดีผู้พิพากษาศาลแรงงานกลาง อธิบดี ผู้พิพากษาศาล แรงงานภาค ผู้พิพากษาหัวหน้าศาลแรงงานจังหวัด แล้วแต่กรณี หรือผู้ทา การแทนในตาแหน่งดังกล่าว กาหนดผู้พิพากษาสมทบฝ่ายนายจ้าง และ ฝ่ายลูกจ้างท่ีจะต้องปฏิบัติการ โดยจะ กาหนดให้ มีผู้พิพากษาสมทบฝ่าย นายจ้างและฝ่ายลกู จ้างสารองไว้ดว้ ยก็ได้ มาตรา 17 ภายใต้บังคับมาตรา 18 ศาลแรงงานต้องมีผู้พิพากษาผู้พิพากษา สมทบฝ่ายนายจ้างและผู้พิพากษาสมทบ ฝ่ายลูกจ้างฝ่ายละ เท่า ๆ กัน จึง จะเปน็ องค์คณะพิจารณาพพิ ากษาคดี มาตรา 18 กระบวนพิจารณานอกจากการนั่งพิจารณาและพิพากษาคดี ผู้ พิพากษาของศาลแรงงานคนใดคนหนึ่งมอี านาจกระทา หรอื ออกคาส่งั ใด ๆ
58 ได้ โดยจะให้มีผู้พิพากษาสมทบฝ่ายนายจ้างและฝ่ายลูกจ้างร่วมด้วยหรือไม่ กไ็ ด้ มาตรา 19 ให้นาบทบัญญัติว่าด้วยการคัดค้านผู้พิพากษาตามประมวล กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาใช้บังคับแก่การคัดค้านผู้พิพากษาของ ศาลแรงงาน และผพู้ พิ ากษาสมทบโดยอนโุ ลม มาตรา 20 ผู้พิพากษาสมทบที่นั่งพิจารณาคดีใดจะต้องพิจารณาคดีนั้นจน เสรจ็ เวน้ แต่ไม่อาจปฏิบตั ิหน้าทีไ่ ด้เพราะเจบ็ ปว่ ยหรอื มเี หตุจาเปน็ อย่างอ่ืน ในกรณีเช่นว่านี้ ให้ผู้มีอานาจตาม มาตรา 16 จัดให้ผู้พิพากษาสมทบซ่ึงได้ กาหนดใหเ้ ป็นผสู้ ารองไว้ ถ้ามี หรือผู้พิพากษาสมทบอ่ืนเข้าปฏิบัตกิ ารแทน มาตรา 21 ผู้พิพากษาสมทบจะได้รับค่าป่วยการ ค่าพาหนะเดินทาง ค่าเช่า ทพ่ี กั และคา่ ตอบแทน อย่างอื่น ตามทีก่ าหนด ในพระราชกฤษฎีกา มาตรา 22 ในกรณีที่ยังไม่มีการแต่งต้ังผู้พิพากษาสมทบข้ึนใหม่หรือมีการ แต่งต้ังแล้วแต่ยังไม่ได้เข้ารับหน้าที่ ให้ผู้พิพากษา สมทบ ซึ่งออกไปตาม วาระคงอยู่ปฏบิ ตั หิ นา้ ทไี่ ปพลางก่อน ผู้พิพากษาสมทบซึ่งจะต้องพ้นจากตาแหน่งตามวาระ ให้มีอานาจพิจารณา พิพากษาคดีซ่ึงตนได้น่ังพิจารณาไว้ก่อนจนกว่า จะเสร็จคดีนั้น แต่ต้องไม่ เกนิ หกสบิ วนั นบั แต่วนั ครบกาหนดออกตามวาระ มาตรา 23 ผู้พิพากษาสมทบเป็นเจ้าพนักงานในตาแหน่งตุลาการตาม ความหมายของประมวลกฎหมายอาญา
59 มาตรา 24 ให้นาบทบัญญตั ิว่าด้วยวินัยและการรักษาวินยั สาหรับข้าราชการ ตุลาการตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการ ฝ่ายตุลาการ มาใช้บังคับ แกผ่ ้พู พิ ากษาสมทบด้วย โดยอนุโลม วิธีพจิ ารณาคดแี รงงาน บททั่วไป มาตรา 25 การส่งคาคู่ความหรือเอกสารอื่นใดไปยังคู่ความในคดีแรงงานให้ กระทาโดยเจ้าพนักงานศาล หรือศาลแรงงานจะกาหนดให้ส่งทางไปรษณีย์ ลงทะเบียนตอบรบั หรือโดยวธิ ีอ่ืนกไ็ ด้ มาตรา 26 ระยะเวลาตามท่ีกาหนดไว้ในพระราชบัญญัตินี้ หรือตามที่ศาล แรงงานได้กาหนด ศาลแรงงานมีอานาจย่น หรือขยายได้ตาม ความจาเป็น และ เพือ่ ประโยชนแ์ หง่ ความยตุ ิธรรม มาตรา 27 การย่ืนคาฟ้องตลอดจนการดาเนินกระบวนพิจารณาใด ๆ ใน ศาลแรงงาน ให้ได้รบั ยกเว้น ไมต่ ้องชาระ คา่ ฤชาธรรมเนยี ม มาตรา 28 ในกรณีมีเหตุสมควร ศาลแรงงานอาจสงั่ ใหม้ ีการดาเนนิ กระบวน พิจารณา ณ สถานท่ี ท่มี ูลคดเี กิดขึ้น หรือสถานท่ีอ่นื กไ็ ด้ มาตรา 29 เพื่อให้การดาเนินการกระบวนพิจารณาคดีแรงงานเป็นไปโดย ประหยัด สะดวก รวดเร็ว และเท่ียงธรรม ให้อธิบดี ผู้พิพากษาศาลแรงงาน กลางมีอานาจออกข้อกาหนดใด ๆ ใช้บังคับในศาลแรงงานได้เม่ือได้รับ อนมุ ัติจากประธานศาลฎกี าแลว้
60 ข้อกาหนดนั้นเมอื่ ได้ประกาศในราชกิจจานเุ บกษาแล้วใหใ้ ช้บงั คบั ได้ มาตรา 30 ศาลแรงงานอาจขอให้ผู้ทรงคุณวุฒิหรือผู้เช่ียวชาญมาให้ ความเห็นเพอ่ื ประกอบการพิจารณาพพิ ากษาคดไี ด้ มาตรา 31 ให้นาบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมา ใช้บังคบั แก่การดาเนนิ กระบวนพิจารณาในศาลแรงงานเท่าท่ีไม่ขัด หรือแย้ง กับบทแห่งพระราชบัญญัตนิ ีโ้ ดยอนโุ ลม มาตรา 32 ในกรณีที่ศาลแรงงานเห็นว่าการกระทาใดของคู่ความฝ่ายใดเปน็ การปฏิบตั ิผิดขั้นตอนหรือเป็นการฝ่าผืนบทบญั ญัติของกฎหมาย วา่ ด้วยการ คุ้มครองแรงงานหรือกฎหมายว่าด้วยแรงงานสัมพันธ์ ให้ศาลแรงงาน มี อานาจสั่งให้คู่ความฝ่ายนั้นปฏิบัติ หรือละเว้น การกระทาใด ๆ เพ่ือให้ เป็นไปตามกฎหมายดงั กล่าวได้ การฝ่าฝืนคาสั่งศาลแรงงานตามวรรคหน่ึง ให้ศาลแรงงานมีอานาจสั่งกักขัง จนกวา่ จะปฏบิ ตั ิตามคาส่งั ศาลแตต่ อ้ งไมเ่ กินหกเดอื น วิธพี ิจารณาคดีแรงงานในศาลแรงงาน มาตรา 33 คาฟ้องคดีแรงงานให้เสนอต่อศาลแรงงานท่ีมูลคดี เกิดข้ึนในเขตศาลแรงงานน้ัน ถา้ โจทก์มีความประสงค์ จะย่ืนคาฟ้องต่อศาล แรงงานที่โจทก์หรือจาเลยมีภูมิลาเนาอยู่ในเขตศาลแรงงาน เม่ือโจทก์แสดง ให้ศาลแรงงาน เห็นว่า การพิจารณาคดี ใน ศาลแรงงานน้ัน ๆ จะเป็นการ สะดวก ศาลแรงงานจะอนุญาตใหโ้ จทกย์ ่นื คาฟอ้ งตามทขี่ อนัน้ กไ็ ด้
61 เพ่ือประโยชน์แห่งมาตราน้ี ให้ถือว่าสถานท่ีท่ีลูกจ้างทางานเป็นท่ีที่มูลคดี เกดิ ขน้ึ ไม่ว่าการดาเนินกระบวนพิจารณาจะได้ดาเนินไปแล้วเพียงใด ก่อนศาล แรงงานมีคาพิพากษาหรือคาสั่งชี้ขาดตัดสินคดี คู่ความอาจร้องขอต่อศาล แรงงานท่ีโจทก์ได้ยื่นคาฟ้องไว้ ขอให้โอนคดีไปยังศาลแรงงานอ่ืนที่มีเขต อานาจได้ แต่จะตอ้ ง ยกเหตผุ ล และความจาเป็นขน้ึ อ้างอิง เมอื่ ศาลแรงงาน พิจารณาเห็นสมควรจะมีคาส่ังอนุญาตตามคาขอนั้นก็ได้ แต่ห้ามมิให้ ศาล แรงงาน ออกคาสั่งเช่นว่านั้น เว้นแต่ศาลแรงงานท่ีจะรับโอนคดีไปน้ันได้ ยนิ ยอมเสยี กอ่ น ถ้าศาลแรงงาน ท่ีจะรบั โอนคดไี มย่ นิ ยอม กใ็ ห้ศาลแรงงาน ทจ่ี ะ โอนคดนี ้ันส่งเร่อื งให้อธิบดีผ้พู ิพากษาศาลแรงงานกลางช้ขี าด คาชี้ขาด ของอธบิ ดผี ู้พพิ ากษาศาล แรงงานกลางให้เปน็ ท่ีสดุ มาตรา 34 ในท้องทีจ่ งั หวดั ใดท่ียงั ไมม่ ีศาลแรงงานจงั หวัดจัดต้งั ข้นึ แต่อยใู่ น เขตอานาจของศาลแรงงานภาค โจทก์จะย่ืนคาฟ้องต่อศาลจังหวัดหรือศาล แรงงานภาคก็ได้ ถ้าโจทก์ย่ืนคาฟ้องต่อศาลจังหวัดให้ศาลจังหวัดแจ้งไปยัง ศาลแรงงานภาค เม่ือศาลแรงงานภาคส่ังรับคดีน้ันไว้พิจารณาแล้ว ให้ศาล แรงงานภาคออกไปนงั่ พจิ ารณาพิพากษา ณ ศาลจงั หวัดแหง่ ทอ้ งท่นี ั้น มาตรา 35 โจทก์อาจยื่นคาฟ้องเป็นหนงั สือ หรือมาแถลงขอ้ หาด้วยวาจาต่อ หน้าศาลกไ็ ด้ ถ้าโจทก์มาแถลงข้อหาด้วยวาจา ให้ศาลมีอานาจสอบถามตามที่จาเป็นเพ่ือ ประโยชน์แห่งความยุติธรรมแล้วบันทึกรายการแห่งข้อหาเหล่านั้นอ่านให้ โจทก์ฟังและ ใหโ้ จทก์ลงลายมือชื่อไว้
62 ในกรณีที่มีโจทก์หลายคน ศาลจะจัดให้โจทก์เหล่านั้นแต่งตั้งโจทก์คนใดคน หนงึ่ หรอื หลายคนเป็นผแู้ ทนในการดาเนนิ คดกี ไ็ ด้ วิธีการแต่งต้ังผู้แทนตามวรรคสามให้เป็นไปตามข้อกาหนดท่ีออกตามความ ในมาตรา 29 มาตรา 36 นายจ้างหรือลูกจ้างจะมอบอานาจให้สมาคมนายจ้างหรือ สหภาพแรงงานซึ่งตนเป็นสมาชิกหรือพนักงานเจ้าหน้าที่ที่มีอานาจ ดาเนินคดี ตามกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองแรงงานหรือกฎหมายว่าด้วย แรงงานสัมพนั ธ์ดาเนินคดีแทนก็ได้ มาตรา 37 เมื่อศาลแรงงานสั่งรับคดีไวพ้ ิจารณาแล้ว ให้ศาลแรงงานกาหนด วันเวลาในการพิจารณาคดีโดยเร็ว และออกหมาย เรียกจาเลยให้มาศาล ตามกาหนด ในหมายน้ันให้จดแจ้งรายการแห่งข้อหาและคาขอบังคับให้ จาเลยทราบ และให้ศาลแรงงาน ส่ังใ ห้โจทก ์มาศาลในวันเวลาเดียวกันนั้น ดว้ ย จาเลยจะยื่นคาให้การเป็นหนังสือก่อนวันเวลาที่ศาลแรงงานนัดให้มา ศาลก็ได้ มาตรา 38 เมื่อโจทกแ์ ละจาเลยมาพร้อมกนั แล้ว ให้ศาลแรงงานไกล่เกล่ียให้ คู่ความได้ตกลงกนั หรือประนปี ระนอมยอมความกัน โดยใหถ้ ือว่าคดีแรงงาน มีลักษณะพิเศษอันควรระงับลงได้ด้วยความเข้าใจอันดีต่อกัน เพื่อท่ีทั้งสอง ฝ่ายจะได้มีความสมั พันธก์ ันต่อไป
63 ในการไกล่เกลี่ยของศาลแรงงาน ถ้าคู่ความฝ่ายใดฝ่ายหน่ึงร้องขอหรือเม่ือ ศาลแรงงานเห็นสมควร ศาลแรงงานจะส่ังให้ดาเนินการเป็นการลับเฉพาะ ต่อหนา้ คคู่ วามเทา่ น้ันกไ็ ด้ ในกรณีท่ีศาลแรงงานได้ไกล่เกลยี่ แล้ว แต่คู่ความไม่อาจตกลงกันหรอื ไม่อาจ ประนีประนอมยอมความกันได้ ก็ให้ศาลแรงงานดาเนินกระบวนพิจารณา ตอ่ ไป มาตรา 39 ในกรณีมีประเด็นที่ยังไม่อาจตกลงกันหรือไม่อาจประนีประนอม ยอมความกัน ให้ศาลแรงงานจดประเด็นข้อพิพาทและบันทึกคาแถลงของ โจทก์กับคาให้การของจาเลยอ่านให้คู่ความฟัง และให้ลงลายมือชื่อไว้ โดย จะระบุให้คู่ความฝ่ายใดฝ่ายหน่ึงนาพยานมาสืบก่อนหรือหลังก็ได้ แล้วให้ ศาลแรงงานกาหนดวันสืบพยานไปทนั ที ถ้าจาเลยไม่ยอมให้การ ให้ศาลแรงงานบันทึกไว้ และดาเนินกระบวน พจิ ารณาตอ่ ไป มาตรา 40 เมื่อโจทก์ได้ทราบคาส่ังให้มาศาลตามมาตรา 37 แล้วไม่มาตาม กาหนดโดยไม่แจง้ ให้ศาลแรงงานทราบเหตุท่ีไม่มา ให้ถือวา่ โจทกไ์ มป่ ระสงค์ จะดาเนินคดีต่อไป ให้ศาลแรงงานมีคาส่ังจาหน่ายคดีออกเสียจากสารบบ ความ เม่ือจาเลยได้รับหมายเรียกให้มาศาลตามมาตรา 37 แล้ว ไม่มาตามกาหนด โดยไม่แจ้งให้ศาลแรงงานทราบเหตุท่ีไม่มา ให้ศาลแรงงานมีคาสั่งว่าจาเลย ขาดนัด และพจิ ารณาชี้ขาดตัดสินคดไี ปฝา่ ยเดียว
64 ใน กรณี ที่ โจท ก์หรือจาเล ยได้แจ้งให้ศาลแรงงาน ท ราบเหตุ แ ล้วและศาล แรงงานเห็นเป็นการสมควร ก็ให้กาหนดวันเวลานัดใหม่เพื่อให้ทั้งสองฝ่าย มาศาล มาตรา 41 ในกรณีท่ีศาลแรงงานมีคาสั่งจาหน่ายคดีออกเสียจากสารบบ ความตามมาตรา 40 วรรคหน่ึง หรอื มีคาสั่งว่าจาเลยขาดนัดตามมาตรา 40 วรรคสอง หากโจทกห์ รอื จาเลยมาแถลงใหศ้ าลแรงงานทราบถึงความจาเป็น ท่ไี มอ่ าจมาศาลได้ภายในเจ็ดวัน นับแตว่ นั ที่ศาลแรงงานมีคาสั่ง ศาลแรงงาน มีอานาจไต่สวนถึงเหตุแห่งความจาเป็นน้ันได้ และหากเห็นเป็นการสมควร ให้ศาลแรงงานมีคาสั่งเพิกถอนคาสั่งตามมาตรา 40 และดาเนินกระบวน พิจารณาที่ได้กระทาหลังจากที่ได้มีคาสั่งตามมาตรา 40 น้ันใหม่เสมือนหนึ่ง มิได้เคยมีกระบวนพิจารณาเช่นวา่ นน้ั มาตรา 42 ในกรณีที่จาเลยไม่ยอมให้การตามมาตรา 39 วรรคสอง หรือใน กรณีท่ีศาลแรงงานจะพิจารณาช้ีขาดตัดสินคดีไปฝ่ายเดียวตามมาตรา 40 วรรคสอง ให้ศาลแรงงานมีอานาจเรียกพยานหลักฐานตามที่จาเป็นมา พจิ ารณากอ่ นช้ขี าดตัดสนิ คดีได้ มาตรา 43 ไม่ว่าการพิจารณาคดีจะดาเนินไปแล้วเพียงใด ให้ศาลแรงงานมี อานาจที่จะไกล่เกลี่ยให้คู่ความตกลงกันหรือประนีประนอมยอมความกัน ตามนัยท่บี ัญญตั ไิ ว้ในมาตรา 38 ได้เสมอ มาตรา 44 เพื่อให้ได้ข้อเท็จจริงที่สมบูรณ์ การอ้างและการย่ืนบัญชีระบุ พยานของคู่ความฝ่ายใดฝ่ายหน่ึงให้กระทาได้ภายในระยะเวลาท่ีศาล แรงงานกาหนดตามที่เหน็ สมควร
65 มาตรา 45 เพ่ือประโยชน์แห่งความยุติธรรมในอันท่ีจะให้ได้ความแจ้งชัดใน ข้อเท็จจริงแห่งคดี ให้ศาลแรงงานมีอานาจเรียกพยานหลักฐานมาสืบได้เอง ตามที่เห็นสมควร ในการสืบพยานไม่ว่าจะเป็นพยานท่ีคู่ความฝ่ายใดอ้างหรือท่ีศาลแรงงาน เรียกมาเองให้ศาลแรงงานเป็นผู้ซักถามพยาน ตัวความหรือทนายความจะ ซักถามพยานได้ต่อเมอื่ ได้รบั อนญุ าตจากศาลแรงงาน เพื่อให้คดีเสร็จโดยรวดเร็วให้ศาลแรงงานนั่งพิจารณาคดีติดต่อกันไปโดยไม่ ต้องเล่ือน เว้นแต่มีเหตุจาเป็นท่ีสาคัญและศาลแรงงานจะเล่ือนคร้ังหน่ึงได้ ไม่เกนิ เจ็ดวนั มาตรา 46 ในการบนั ทึกคาเบิกความของพยาน เม่ือศาลแรงงานเห็นสมควร จะบนั ทกึ ข้อความแต่โดยย่อก็ได้ แล้วให้พยานลงลายมอื ช่ือไว้ มาตรา 47 ให้ผทู้ รงคุณวุฒิหรือผู้เชยี่ วชาญท่ศี าลแรงงานหรือศาลฎกี าขอให้ มาความเห็นและพยานที่ศาลแรงงานเรียกมาได้รับค่าป่วยการค่าพาหนะ เดินทางและค่าเช่าท่ีพักตามที่ศาลแรงงานหรือศาลฎีกาแล้วแต่กรณี เหน็ สมควร มาตรา 48 การพิจารณาคดีแรงงาน ให้ศาลแรงงานคานึงถึงสภาพการ ทางาน ภาวะค่าครองชีพ ความเดือดร้อนของลูกจา้ ง ระดับของคา่ จ้าง หรือ สิทธิและประโยชน์อ่ืนใดของลูกจ้างที่ทางานใน กิจการประเภ ทเดียวกัน รวมทัง้ ฐานะแห่งกิจการของนายจ้างตลอดจนสภาพทางเศรษฐกิจและสังคม โดยท่ัวไป ประกอบการพิจารณาเพื่อกาหนดให้เป็นธรรมแก่คู่ความทั้งสอง ฝ่ายดว้ ย
66 มาตรา 49 การพิจารณาคดีในกรณีนายจ้างเลิกจ้างลูกจ้าง ถ้าศาลแรงงาน เห็นว่าการเลิกจ้างลูกจ้างผู้น้ันไม่เป็นธรรมต่อลูกจ้าง ศาลแรงงานอาจส่ังให้ นายจ้างรับลูกจ้างผู้นั้นเข้าทางานต่อไปในอัตราค่าจ้างท่ีได้รับในขณะท่ีเลิก จ้าง ถ้าศาลแรงงานเห็นว่าลูกจ้างกับนายจ้างไม่อาจทางานร่วมกันต่อไปได้ ให้ศาลแรงงานกาหนดจานวนค่าเสียหายให้นายจ้างชดใช้ให้แทนโดยให้ศาล คานึงถึงอายุของลูกจ้าง ระยะเวลาการทางานของลูกจ้าง ความเดือดร้อน ของลูกจา้ งเม่ือถูกเลิกจา้ ง มูลเหตุแหง่ การเลิกจ้างและเงินค่าชดเชยท่ลี ูกจ้าง มีสิทธไิ ดร้ ับ ประกอบการพจิ ารณา มาตรา 50 เม่ือได้สืบพยานตามที่จาเป็นแล้ว ให้ถือว่าการพิจารณาเป็นอัน สิ้นสุด แต่คู่ความอาจแถลงการณ์ปิดคดีด้วยวาจาในวันเสร็จการพิจารณา นั้นได้ แล้วให้ศาลแรงงานอ่านคาพิพากษาหรือคาสั่งภายในเวลาสามวันนับ แต่วันนั้น ผู้พิพากษาสมทบหากได้ลงลายมือชื่อในคาพิพากษาหรือคาส่ัง แล้วจะไม่รว่ มอย่ดู ้วยในเวลาอา่ นคาพพิ ากษาหรอื คาสัง่ ก็ได้ ก่อนที่ศาลแรงงานอ่านคาพิพากษาหรือคาสั่ง ถ้าศาลแรงงานเห็นสมควร เพื่อประโยชน์แห่งความยุติธรรม ศาลแรงงานอาจทาการพิจารณาต่อไปอีก ได้ มาตรา 51 คาพิพากษาหรอื คาส่ังของศาลแรงงานให้ทาเป็นหนังสอื และตอ้ ง กล่าวหรือแสดงข้อเท็จจริงที่ฟังได้โดยสรุปและคาวินิจฉัยในประเด็นแห่งคดี พรอ้ มดว้ ยเหตผุ ลแหง่ คาวินิจฉัยน้นั ใหศ้ าลแรงงานสง่ สาเนาคาพพิ ากษาหรือคาสั่งไปยังกรมแรงงานโดยมชิ ักชา้
67 มาตรา 52 ห้ามมิให้ศาลแรงงานพิพากษาหรือสั่งเกินไปกว่าหรือนอกจากที่ ปรากฏในคาฟ้อง เว้นแต่ในกรณีท่ีศาลแรงงานเห็นสมควรเพ่ือความเป็น ธรรมแก่คคู่ วามจะพพิ ากษาหรือสัง่ เกนิ คาขอบงั คับก็ได้ มาตรา 53 คาพิพากษาหรือคาส่ังใด ๆ ให้ถือว่าผูกพันเฉพาะคู่ความใน กระบวนพิจารณาของศาลแรงงานท่ีพพิ ากษาหรอื มีคาส่ัง แต่ศาลแรงงานจะ กาหนดให้คาพิพากษาหรือคาสั่งนั้นผูกพันนายจ้างและลูกจ้างอ่ืนซ่ึงมี ผลประโยชนร์ ่วมกันในมูลความแหง่ คดดี ว้ ยก็ได้ อุทธรณ์ มาตรา 54 ภายใต้บังคับบทบัญญัติแห่งกฎหมายนี้หรือกฎหมายอ่ืน คา พิพากษา หรือ คาสั่งของศาลแรงงาน ให้อุทธรณ์ ได้เฉพาะ ในข้อกฎหมาย ไปยังศาลฎกี าภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่ได้อา่ นคาพพิ ากษาหรอื คาส่งั น้ัน การอุทธรณ์นั้นให้ทาเป็นหนังสือยื่นต่อศาลแรงงานซ่ึงมีคาพิพากษาหรือ คาส่ังและให้ศาลแรงงานส่งสาเนาอุทธรณ์แก่อีกฝ่ายหนึ่งแก้ภายในเจ็ดวัน นับแตว่ นั ท่ีฝา่ ยน้ันได้รบั สาเนาอทุ ธรณ์ เมื่อได้มีการแก้อุทธรณ์แล้ว หรอื ไม่แก้อุทธรณ์ภายในกาหนดเวลาตามวรรค สอง ให้ศาลแรงงานรบี สง่ สานวนไปยงั ศาลฎกี า มาตรา 55 การยื่นอุทธรณ์ไม่เป็นการทุเลาการบังคับตามคาพิพากษาหรือ คาสั่งของศาลแรงงาน แต่คู่ความ ท่ียื่นอุทธรณ์ อาจทาคาขอ ยื่นต่อศาล แรงงานซึ่งมีคาพิพากษาหรือคาสั่งโดยชี้แจงเหตุผลอันสมควรเพ่ือให้ศาล ฎีกาสัง่ ทเุ ลาการบงั คบั ไวไ้ ด้
68 มาตรา 56 ให้ศาลฎีกาพิจารณาและมีคาพิพากษาหรือคาสั่งในคดีแรงงาน โดยเร็ว ในการพิจารณา พิพากษาของศาลฎีกา ให้ถือตามข้อเท็จจริงที่ศาลแรงงาน ได้วินจิ ฉัยมา แต่ถ้าขอ้ เท็จจริง ที่ศาลแรงงาน ฟังมายังไม่พอ แก่การวินิจฉัย ข้อกฎหมาย ให้ศาลฎีกาส่ังให้ศาลแรงงานฟังข้อเท็จจริงเพ่ิมเติมตามที่ศาล ฎีกาแจง้ ไป แล้วสง่ สานวน คืนศาลฎกี าโดยเรว็ ในกรณีท่ีศาลแรงงานเห็นว่าข้อเท็จจริงท่ีฟังใหม่จะเป็นผลให้คาพิพากษา เปลี่ยนแปลง ก็ให้ศาลแรงงานพิพากษาคดีน้ันใหม่ และ ให้นามาตรา 54 และมาตรา 55 มาใช้บงั คับโดยอนโุ ลม มาตรา 57 ให้ประธานศาลฎีกาจัดต้ังแผนกคดีแรงงานข้ึนในศาลฎีกาเพ่ือ พิจารณาพิพากษาคดแี รงงานทอ่ี ุทธรณ์มาจากศาลแรงงาน ในกรณีจาเป็นเพ่ือประโยชน์แห่งความยุติธรรม ศาลฎีกาอาจ ขอให้ ผู้ทรงคุณวุฒิ หรือผู้เชี่ยวชาญ มาให้ความเห็น เพ่ือประกอบ การพิจารณา พิพากษาคดแี รงงานได้ วิธกี ารชั่วคราวก่อนพิพากษา และการบังคับตามคาพิพากษาหรอื คาสั่ง มาตรา 58 ก่อนมีคาพิพากษาหรือคาส่ัง ถ้ามีความจาเป็นเพื่อคุ้มครอง ประโยชน์ของคู่ความหรือบุคคลท่ีเก่ียวข้อง หรือ เพื่อบังคับ ตามคา พิพากษา หรือคาสั่ง นอกจากอานาจที่บัญญัติไว้เป็นการท่ัวไปในประมวล
69 กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งแล้ว ให้ศาลแรงงาน มีอานาจออกคาส่ังใด ๆ ตามทเี่ หน็ สมควรได้ดว้ ย บทเฉพาะกาล มาตรา 59 คดีที่อยู่ในอานาจพิจารณาพิพากษาของศาลแรงงานซึ่งค้าง พิจารณาอย่ใู นศาลช้ันต้นตามมาตรา 3 แห่งพระธรรมนูญศาลยุติธรรมในวัน เปดิ ทาการของศาลแรงงานกลาง ศาลแรงงานภาค หรือศาลแรงงานจังหวัด ให้ศาลช้ันต้นตามมาตรา 3 แห่งพระธรรมนูญศาลยุติธรรมคงพิจารณา พิพากษาต่อไปจนเสร็จ แต่ถ้าศาลนั้นเห็นสมควรก็ให้โอนคดีไปให้ศาล แรงงานกลาง ศาลแรงงานภาค หรือศาลแรงงานจังหวัดท่ีมีอานาจพิจารณา คดีนน้ั เพื่อดาเนินกระบวนพิจารณาและพพิ ากษาคดตี อ่ ไปได้ มาตรา 60 ในระหว่างที่ศาลแรงงานภาคและศาลแรงงานจังหวัดยังมิได้เปิด ทาการในท้องที่ใด ให้ศาลแรงงานกลางมีเขตอานาจในท้องท่ีนั้นด้วยโจทก์ จะย่ืนคาฟ้องต่อศาลจังหวัดแห่งท้องท่ีนั้นก็ได้ ให้ศาลจังหวัดแจ้งไปยังศาล แรงงานกลาง เมื่อศาลแรงงานกลางส่ังรับคดีน้ันไว้พิจารณาแล้ว ให้ศาล แรงงานกลางออกไปนัง่ พจิ ารณาพพิ ากษา ณ ศาลจงั หวดั แหง่ ทอ้ งทน่ี นั้ ผูร้ ับสนองพระบรมราชโองการ ส.โหตระกติ ย์ รองนายกรฐั มนตรี หมายเหตุ:- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยท่ีคดี แรงงานเป็นคดีท่ีมีลักษณะพิเศษแตกต่างไปจากคดีแพ่งและคดีอาญา
70 โดยท่ัวไป เพราะเป็นข้อขัดแย้งระหว่างนายจ้างกับลูกจ้างตามสัญญาจ้าง แรงงานหรือเก่ียวกับสิทธิของนายจ้างและลูกจ้างตามกฎหมายว่าด้วยการ คุ้มครองแรงงานและกฎหมายว่าด้วยแรงงานสัมพันธ์ ซึ่งข้อขัดแย้งดังกล่าว ควรได้รับการพิจารณาโดยผู้พิพากษาซ่ึงเป็นผู้มีความรู้และความเข้าใจใน ปัญหาแรงงานร่วมกับผู้พิพากษาสมทบฝ่ายนายจ้างและฝ่ายลูกจ้าง ท้ังการ ดาเนินคดีควรเป็นไปโดยสะดวก ประหยัด รวดเร็วเสมอภาค และเป็นธรรม เพ่ือให้คู่ความมีโอกาสประนีประนอมยอมความและสามารถกลับไปทางาน ร่วมกันโดยไม่เกิดความรู้สึกเป็นอริต่อกันจาเป็นต้องยกเว้นขั้นตอนและ วิธีการต่าง ๆ ที่บญั ญตั ใิ นประมวลกฎหมายวิธพี จิ ารณาความแพ่งหลายกรณี ดว้ ยกนั เพอื่ ให้เกดิ การคล่องตวั ยงิ่ ขึน้ จึงจาเปน็ ตอ้ งตราพระราชบัญญัติน้ี การกระทรวงแรงงาน กรมสวัสดิการ กระทรวงแรงงาน มีภารกิจเก่ียวกับการ กาหนดมาตรฐานแรงงาน การคุ้มครองแรงงาน ความปลอดภัย อาชีวอนา มัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน การแรงงานสัมพันธ์ การแรงงาน รัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ และการสวัสดิการแรงงาน โดยการพัฒนามาตรฐาน รูปแบบ กลไก มาตรการ ส่งเสริม สนับสนุน และแก้ไขปัญหาเพื่อเพิ่มเติม โอกาสในการแข่งขนั ทางการคา้ และพัฒนาแรงงานให้มีคุณภาพชวี ิตท่ีดี มีอานาจหน้าทีท่ ส่ี าคัญอกี ประการหนง่ึ ของ ทีเ่ กี่ยวขอ้ งกับ การคุ้มครองสิทธิด้านแรงงานของคนลาวคือ คุ้มครองดูแลแรงงานทั้งใน ระบบและนอกระบบ ให้ได้รับสิทธิประโยชน์ตามที่กฎหมายกาหนดและมี คุณภาพท่ีดี ดาเนินตามกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองแรงงาน กฎหมายว่า
71 ด้วยแรงงานสัมพันธ์ กฎหมายว่าด้วยแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์และ กฎหมายอื่นที่เก่ียวข้อง ดาเนินการส่งเสริมและพัฒนาระบบความปลอดภัย อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน สง่ เสริม พฒั นาและเผยแพร่ ความรู้ความเข้าใจด้านมาตรฐานแรงงานคุ้มครองแรงงานความปลอดภัยใน การทางาน แรงงานสัมพันธ์ แรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์และสวัสดิการ แรงงาน ส่งเสริมและดาเนินการให้มีการจัดการสวัสดิการแรงงาน ดาเนินการป้องกันและแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง ข้อพิพาทแรงงานและ ความไม่สงบด้านแรงงาน พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศด้านสวัสดิการและ คุ้มครองแรงงาน จัดทาแผนงานและประสานแผนปฏิบัติงานของกรมให้ สอดคล้องกับนโยบายและยุทธศาสตร์ด้านแรงงานของกระทรวง และ ปฏิบัติการอื่นใดตามที่กฎหมายกาหนดให้เป็นอานาจหน้าที่ของกรมหรือ ตามท่กี ระทรวงหรือคณะรฐั มนตรีมอบหมาย [1] กรมจัดหางาน กระทรวงแรงงาน กรมจัดหางานนอกจากทาหน้าที่ในการดูแลเก่ียวกับ แรงงานต่างด้าวโดยตรงแล้ว ยังอยู่ในฐานะท่ีเป็นหน่วยงานดาเนินการ คุ้มครองและป้องกันมิให้คนหางานถูกหลอกลวง ถูเอารัดเอาเปรียบจาก บริษัทจัดหางานและบุคคล รวมถึงการใช้มาตรการทางกฎหมายเพอื่ ปอ้ งกัน และลงโทษผู้หลอกลวงเอารัดเอาเปรียบคนหางาน โดยรบั เรื่องราวร้องทุกข์ คนหางานท่ีขอความช่วยเหลือ สืบสวน สอบสวนบุคคลที่มีพฤติกรรม หลอกลวงตม้ ตนุ๋ คนหางาน เพอ่ื ดาเนินคดีตามกฎหมา
72 ศาลแรงงานศาลแรงงาน ซึ่งเป็นองค์กรของรัฐท่ีมีหน้าที่พิจารณาคดีในกรณีท่ีมีข้อ พิพาททางแรงงานเกิดข้ึนระหว่างนายจ้างกับลูกจ้าง และคดีท่ีอยู่ในอานาจ พิจารณาพิพากษาหรือมีคาส่ังของศาลแรงงาน แบ่งออก สี่ กรณดี ้วยกนั คือ 1) คดีแรงงานท่ัวไป ตามมาตรา 8 แห่งพระราชบญั ญตั ิจัดตั้งศาลแรงงาน 2) คดีเลิกจ้างโดยไม่เป็นธรรมต่อลูกจ้าง ตามมาตรา 49 แห่งพระราชบัญญัติ จัดต้ังศาลแรงงาน 3) คดีที่กฎหมายอ่ืนกาหนดให้ฟ้องยังศาลแรงงาน และ 4) คดีศาลแรงงานตามแนวคาวินิฉัยของอธิบดีผู้พิพากษาศาลแรงงานกลาง
Search