Biology ชีววิทยา เลม่ 1 หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 1 หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 2 หน่วยการเรยี นรู้ที่ 3 ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 5 กลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์ หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 4 Slide PowerPoint_สื่อประกอบการสอน นายสัมพันธ์ อรุณเจริญกจิ
4หน่วยการเรียนรทู้ ี่ การตอบสนองของพืช ผลการเรียนรู้ • สบื คน้ ข้อมูล อธบิ ายบทบาทและหนา้ ที่ของออกซิน ไซโทไคนนิ จบิ เบอเรลลนิ เอทิลีน และกรดแอบไซซิก และอภิปรายเกี่ยวกับการนาไปใชป้ ระโยชนท์ างการเกษตร • สบื คน้ ข้อมลู ทดลอง และอภิปรายเกี่ยวกบั สงิ่ เร้าภายนอกทีม่ ีผลต่อการเจรญิ เติบโตของพชื
0 1 การตอบสนองของพืชตอ่ สารเคมี ความเขม้ ข้นของออกซนิ ทม่ี ีผลต่อราก ตา และลาตน้ ออกซนิ (auxins) เป็นฮอร์โมนพชื ทช่ี ว่ ยเพิ่มขนาดและความยาวของเซลล์ เปอ ์รเ ็ซนต์การเจริญเติบโต ลาตน้ การเจรญิ ของลาต้นและราก การขยายขนาดของใบและผล แหลง่ สรา้ งของออกซิน สรา้ งจากเน้ือเย่ือเจริญบริเวณปลายยอดออ่ น ของต้นกลา้ และใบออ่ น แล้วแพร่กระจายจากยอดผ่านมัดทอ่ ลาเลียงไป ยังสว่ นตา่ ง ๆ ของพชื ราก ตา -100 ความเข้มขน้ ของออกซิน (ppm) ความเขม้ ขน้ ของออกซนิ สงู ความเขม้ ขน้ ของออกซินต่า
0 2 การตอบสนองของพชื ต่อสารเคมี ไซโทไคนิน (cytokinins) เป็นฮอร์โมนพืชทก่ี ระตนุ้ การแบง่ เซลล์ การเปลี่ยนแปลงรูปร่างของเซลล์ และเกี่ยวข้องกับกระบวนการทาง สรีรวทิ ยา ไซโทไคนนิ มีผลตอ่ การเจรญิ เตบิ โตของพชื ในดา้ นอนื่ ๆ เชน่ ทาใหเ้ มล็ดงอกได้เรว็ ขึ้น, ควบคุมการเปิดปดิ ของปากใบ, เรง่ การเจรญิ ของราก, ชะลอความแก่ของพชื แหลง่ สร้างของไซโทไคนิน แหล่งสรา้ งหลักอยู่ทีบ่ ริเวณเนอ้ื เย่ือเจริญปลายราก ความเข้มข้นของออกซินและไซโทไคนนิ ที่มผี ลต่อการเปลย่ี นแปลงเนอื้ เย่ือพชื ออกซนิ เนื้อเยอื่ พืช เกดิ แคลลัส เกดิ ยอด เกิดราก ไซโทไคนนิ 0 mg/l 2 mg/l 0.02 mg/l 2 mg/l 0.2 mg/l 0.2 mg/l 0.02 mg/l 1 mg/l
0 3 การตอบสนองของพชื ตอ่ สารเคมี จบิ เบอเรลลิน (gibberellin) เป็นฮอร์โมนพชื ทคี่ วบคมุ การเจริญเตบิ โตบริเวณขอ้ และมีอทิ ธพิ ลต่อพฒั นาการของพืช รวมท้งั การยดื ของข้อ การงอก การพักตวั การออกดอก การแสดงเพศ การชกั นาการสร้างเอนไซม์ แหล่งสรา้ งของจิบเบอเรลลิน พบไดใ้ นเมลด็ ขณะที่พัฒนาปลายยอด ปลายรากอบั เรณู ผล พชื ปกติ เชอื้ รา Gibberella fujikuroi พชื ทไ่ี ดร้ ับจบิ เบอเรลลนิ มากกว่าปกติ
0 4 การตอบสนองของพืชต่อสารเคมี เอทิลนี (ethylene) เป็นฮอร์โมนพชื ทีอ่ ยู่ในสถานะแก๊ส ผลไม้ใกล้สกุ จะมแี ก๊สเอทิลีนปรมิ าณมาก และกระตุน้ ผลไมท้ ่ีอยใู่ กล ้ ๆ ให้สกุ ได้เร็วข้ึน ชว่ ยกระตนุ้ การร่วงของใบ กระตุ้นการเกิดรากฝอยและรากแขนง แหลง่ สร้างของเอทลิ ีน ได้แก่ ดอก ใบ ลาต้น ราก หวั เมลด็ เอทิลนี มีปรมิ าณน้อย เอทิลนี มีปริมาณมาก
0 5 การตอบสนองของพืชตอ่ สารเคมี กรดแอบไซซิก (abscisic acid; ABA) เก่ยี วขอ้ งกบั การเจริญเติบโตและการพฒั นาของพืช ทาหนา้ ทเ่ี ป็นสญั ญาณเตอื นว่าพชื เขา้ สูก่ าร เสื่อมตามอายุ กรดแอบไซซกิ มบี ทบาทในการทาให้พชื ดารงชวี ิตภายใต้สภาพแวดลอ้ มทไี่ มเ่ หมาะสม เช่น ทาใหป้ ากใบปดิ เมื่ออย่ใู น สภาวะขาดน้า ทาใหป้ ากใบปิด ทาใหพ้ ชื ทนต่อสภาวะเค็มได้ ABA จะทาให้โพแทสเซียมไอออน (K+) กรดแอบไซซิกชว่ ยกระตนุ้ ใหม้ กี าร เคลื่อนท่ีออกจากเซลลค์ มุ ทาใหป้ ากใบปิด สร้างโปรตีนพเิ ศษ (ออสโมติน) เพ่ือป้องกันไมใ่ หน้ า้ ระเหยออกจากพชื
0 1 การตอบสนองของพืชตอ่ สิ่งแวดล้อม การเคล่ือนไหวแบบทรอปิกหรือการเบน เป็นการตอบสนองของพืชต่อส่งิ เรา้ ภายนอกทมี่ ีทศิ ทางสมั พันธก์ ับส่งิ เรา้ ส่งผลใหพ้ ืชเข้าหา หรอื เบนออกจากส่งิ เร้า การเคล่อื นไหวทต่ี อบสนอง การเคลือ่ นไหวทตี่ อบสนองต่อสารเคมี ต่อแรงโน้มถว่ ง น้าและธาตุอาหาร เม่อื เรณูตกลงบนยอดเกสรเพศเมีย รงั ไข่จะผลติ รากพืชเจริญเขา้ หาแรงโน้มถว่ งของโลก โปรตนี LURE เปน็ ส่งิ เรา้ มากระต้นุ ให้เรณงู อก น้าหรอื ความช้ืน และบรเิ วณท่มี ีธาตุอาหาร หลอดเรณเู ข้าไปในรงั ไข่ได้ การเคลื่อนไหวทต่ี อบสนองต่อแสง ออกซนิ ท่บี ริเวณปลายยอดเคลอื่ นทหี่ นแี สง สง่ ผลให้เซลลบ์ รเิ วณท่ีไมไ่ ดร้ บั แสงยืดยาวกว่า ปลายยอดพืชจึงโคง้ หาแสง
0 2 การตอบสนองของพืชต่อส่ิงแวดลอ้ ม การตอบสนองตอ่ การสัมผัสสง่ิ เรา้ เปน็ การตอบสนองของพืชบางชนดิ ที่มีการสัมผสั กบั สิ่งเร้าเปน็ ตัวกาหนดการเคลอ่ื นไหวของพืช เช่น ต้นองนุ่ ตน้ ตาลึง พืชตระกูลแตง มอื เกาะ (tendril) เซลล์ภายในมอื เกาะ ดา้ นทส่ี มั ผัสกบั วตั ถจุ ะหยดุ การขยายขนาด ด้านทไี่ มไ่ ด้สมั ผัสกบั วตั ถจุ ะเจรญิ ขยายขนาด ทาใหม้ ือเกาะมว้ นเปน็ วงรอบวตั ถุ เพอ่ื ค้าจนุ ยึดเกาะกับวัตถุอ่นื เพ่อื พยุงลาตน้
0 3 การตอบสนองของพชื ตอ่ ส่งิ แวดล้อม การเคลอ่ื นไหวแบบแนสติก (nastic movement) เปน็ การเคลอื่ นไหวทม่ี ที ศิ ทางไมส่ ัมพันธก์ บั สงิ่ เรา้ สง่ ผลให้ส่วนต่าง ๆ ของพชื เจริญไม่เทา่ กนั การหุบและกางของต้นไมยราบ เมือ่ สมั ผัสกับใบ ทาใหก้ ลมุ่ เซลลท์ อ่ี ยบู่ รเิ วณโคนใบ เมื่อเวลาผา่ นไป นา้ จะออสโมซสิ กลบั เขา้ สเู่ ซลล์พลั ไวนสั (กลมุ่ เซลลพ์ ลั ไวนสั ) ทาให้ความเต่งของเซลล์ลดลง ทาใหค้ วามเต่งของเซลล์เพิ่มขน้ึ ใบจงึ กางออก ส่งผลใหใ้ บหบุ กลุ่มเซลล์พลั ไวนัสสญู เสยี นา้ ใบจึงหบุ น้าจากเซลล์ขา้ งเคยี งออสโมซสิ เขา้ กลุ่ม เซลลพ์ ัลไวนัส ใบจงึ กางออก
0 4 การตอบสนองของพืชตอ่ สิง่ แวดล้อม การเคลอื่ นไหวแบบอัตโนมตั ิ แบง่ ออกเป็น 2 ประเภท 1 การเคลื่อนไหวแบบส่ายหรอื นูเทชันมฟู เมนต์ 2 การเคล่อื นไหวแบบบิดเป็นเกลยี ว เป็นการเคลือ่ นไหวท่ีเกดิ เฉพาะสว่ นยอดของพืช เปน็ การเคลือ่ นไหวทป่ี ลายยอดค่อย ๆ บิดเปน็ เกลยี วขนึ้ ไป เนื่องจากเนอ้ื เยอ่ื ท้งั สองดา้ นของยอดเจรญิ ไม่เท่ากนั เม่ือพืชเจริญเติบโตขน้ึ เนอื่ งจากเซลล์บรเิ วณลาต้นท้ังสองด้าน ทาใหย้ อดพืชโยกไปมา เจริญเตบิ โตไมเ่ ทา่ กนั ทาให้ลาต้นบดิ เปน็ เกลียวพันรอบขน้ึ ไป
Search
Read the Text Version
- 1 - 14
Pages: