Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Multimedia

Multimedia

Published by sirjimmie, 2018-06-09 00:20:35

Description: Multimedia

Keywords: Multimedia,Education

Search

Read the Text Version

Multimedia

มัลติมีเดีย คือ ระบบสอ่ื สารขอ้ มูลขา่ วสารหลายชนดิ โดยผ่านสื่อทางคอมพวิ เตอรซ์ ง่ึ ประกอบด้วย ขอ้ ความฐานขอ้ มูล ตวั เลข กราฟิก ภาพ เสยี ง และวดี ิทศั น์

มลั ติมเี ดีย คอื การใชค้ อมพิวเตอรส์ อ่ื ความหมายโดยการผสมผสานสือ่ หลายชนดิ เชน่ ข้อความ กราฟ ภาพศลิ ป์ (GraphicArt) เสียง (Sound) ภาพเคลอ่ื นไหว (Animation) และวดี ิทัศน์เป็นต้น ถา้ ผู้ใช้สามารถควบคมุ สอ่ื เหลา่ นี้ให้แสดงออกมาตามตอ้ งการไดร้ ะบบนี้จะเรียกวา่ มัลติมีเดยี ปฏสิ ัมพันธ์ (InteractiveMultimedia)

มัลติมีเดีย คือ โปรแกรมซอฟต์แวร์ท่อี าศัยคอมพิวเตอร์เป็นสอ่ืในการนาเสนอโปรแกรมประยุกต์ ซ่ึงรวมถึงการนาเสนอขอ้ ความสสี นั ภาพ กราฟฟกิ (Graphic images)ภาพเคลื่อนไหว (Animation) เสียง (Sound)และภาพยนตรว์ ีดิทัศน์ (Full motion Video) ส่วนมัลตมิ ีเดียปฏิสัมพนั ธ์ (Interactive Multimedia) จะเป็นโปรแกรมประยกุ ตท์ ่ีรบั การตอบสนองจากผู้ใชโ้ ดยใชค้ ีย์บอรด์ (Keyboard) เมาส์(Mouse) หรือตัวชี้ (Pointer) เปน็ ตน้

Text Multimedia GraphicAnimation Sound video

การใชม้ ลั ตมิ เี ดยี ในลกั ษณะปฏิสมั พนั ธก์ ็เพอ่ื ช่วยให้ผ้ใู ช้สามารถเรยี นรหู้ รือทากิจกรรม รวมถงึ ดสู ือ่ ต่าง ๆ ดว้ ยตนเอง ส่ือต่าง ๆ ทีน่ ามารวมไวใ้ นมลั ตมิ เี ดยี เช่น ภาพเสยี ง วีดทิ ศั น์ จะชว่ ยใหเ้ กดิ ความหลากหลาย น่าสนใจและเร้าความสนใจ เพ่มิ ความสนุกสนานในการเรยี นรู้มากยง่ิ ข้ึน

องคป์ ระกอบ1. ขอ้ ความหรือตวั อักษร (Text)2. ภาพนง่ิ (Still Image)3. ภาพเคลื่อนไหว (Animation)4. เสยี ง (Sound)5. ภาพวิดโี อ (Video)

หลกั การทางานของ Multimedia เนื่องจากประสทิ ธภิ าพของสื่อมลั ตมิ เี ดยี ที่สามารนาเสนอได้ทงั้ ขอ้ ความภาพนิง่ ภาพเคล่ือนไหว เสยี ง วดี ทิ ัศน์ และอื่นๆท่จี ะเกดิ ขน้ึ ในอนาคตผนวกกับระบบตดิ ตอ่ ผู้ใช้ (GUI: Graphics User Interface) ทีท่ าใหผ้ ้ใู ช้มคี วามสะดวกในการใช้งาน สรา้ งสรรคง์ าน ทาใหบ้ ทบาทของสื่อฯ มีมากขึ้นตามลาดบั มีการนาส่ือมลั ติมเี ดีย มาประยกุ ตใ์ ชก้ ับงานต่างๆ มากมาย เชน่การเรยี นการสอน การถ่ายทอดความรู้ การนาเสนอขอ้ มูลการประชาสัมพันธ์เปน็ ต้น

การประเมนิ และเเก้ไข การประกอบเอกสารประกอบ การสรา้ งและเขียนโปรแกรม การสร้าง story board การเขยี น Flow chart การออกแบบการจดั เตรยี ม

การสร้างส่ือมัลติมีเดียไม่ว่าจะเปน็ รปู แบบใดๆกต็ ามก็จะเร่มิ ท่กี ารกาหนดหัวเร่อื ง,เป้าหมาย,วตั ถปุ ระสงค์และกลมุ่ เปา้ หมายผใู้ ช้ จากน้นั ทาการวิเคราะห์,ออกแบบ,พัฒนาสร้างส่ือ,ประเมนิ ผลและนาเผยแพรต่ อ่ ไป การสรา้ งสอ่ื มัลติมีเดียมี 7 ข้นั ตอน ดังน้ี1.การจดั เตรยี ม-การกาหนดเป้าหมายและวัตถปุ ระสงค์-รวบรวมขอ้ มลู-เนื้อหาสาระ-การพฒั นาออกแบบ-สื่อในการนาเสนอ

2.ขนั้ ตอนการออกแบบ-ทบทวนความคดิ-วิเคราะหแ์ ละแนวความคดิ-ออกแบบข้นั แรก-ประเมนิ และแกไ้ ขการออกแบบ3.ขัน้ ตอนการเขยี นผังงานเปน็ การนาเสนอลาดับขนั้ โครงสรา้ งของงาน4.ขั้นตอนการสร้าง story boardเปน็ การเตรียมนาเสนอขอ้ ความ ภาพ รปู แบบมลั ตเิ ดยี ตา่ งๆ

5.ขัน้ ตอนการสรา้ งและเขยี นโปรแกรมเปน็ กระบวนการเปล่ียนสตอรีใ่ หเ้ ปน็ ช้นิ งาน6.ขนั้ ตอนการประกอบเอกสารประกอบแบง่ เป็น-คู่มอื การใช้-คู่มอื สาหรบั การแกป้ ัญหาเทคนิคตา่ งๆ-เอกสารประกอบเพ่ิมเติมท่วั ไป7.ขั้นตอนการประเมินและเเกไ้ ขจะประเมินในการนาเสนอซึง่ ผทู้ ่ีมีการออกแบบจะสงั เกตหลงั จากใชง้ าน

โปรแกรมท่ใี ชส้ ร้างงานมลั ตมิ เี ดยี

CBL:Classroom-Based Learning CAL:Computer Aided Learning / e-Traning การดู TV ฟังวทิ ยุ เล่นเกม หรือรอ้ งเพลง Video Conferencing E-Product (ผลิตภัณฑ์อเิ ล็กทรอนิกส์) E-News / E-Advertising / Live BroadcastingCyberspace /อปุ กรณ์ VR

ขอ้ ความหรือตวั อักษร (Text) ข้อความหรอื ตวั อกั ษรถือวา่ เป็นองค์ประกอบพื้นฐานทส่ี าคัญของมลั ติมีเดีย ระบบมลั ติมเี ดยี ท่นี าเสนอผ่านจอภาพของเครือ่ งคอมพิวเตอร์ นอกจากจะมรี ปู แบบและสขี องตัวอักษรใหเ้ ลอื กมากมายตามความตอ้ งการแลว้ ยังสามารถกาหนดลกั ษณะของการปฏสิ ัมพนั ธ์(โตต้ อบ)ในระหว่างการนาเสนอไดอ้ กี ดว้ ย

ภาพนงิ่ (Still Image) ภาพนิ่งเป็นภาพที่ไม่มีการเคลือ่ นไหว เชน่ ภาพถา่ ย ภาพวาดและภาพลายเสน้ เป็นตน้ ภาพนงิ่ นับวา่ มบี ทบาทตอ่ ระบบงานมัลตมิ เี ดยี มากกว่าข้อความหรือตวั อกั ษร ท้งั น้เี นอ่ื งจากภาพจะใหผ้ ลในเชิงการเรียนรู้หรือรับร้ดู ว้ ยการมองเหน็ ไดด้ ีกวา่ นอกจากนยี้ งัสามารถถ่ายทอดความหมายไดล้ ึกซ่งึ มากกวา่ ข้อความหรอื ตวั อักษรนัน่ เองซึ่งขอ้ ความหรือตวั อกั ษรจะมขี อ้ จากัดทางด้านความแตกต่างของแต่ละภาษา แต่ภาพน้ันสามารถสื่อความหมายได้กับทุกชนชาติภาพนง่ิ มักจะแสดงอยู่บนสอ่ื ชนิดตา่ งๆ เช่น โทรทศั น์ หนังสอื พิมพ์หรอื วารสารวิชาการ เป็นตน้

ภาพเคล่อื นไหว (Animation) ภาพเคล่ือนไหว หมายถึง ภาพกราฟิกที่มีการเคลื่อนไหวเพื่อแสดงขั้นตอนหรือปรากฏ การณ์ต่างๆ ที่เกิดข้ึนอย่างต่อเน่ือง เช่นการเคล่ือนท่ีของอะตอมในโมเลกุล หรือการเคลื่อนท่ีของลูกสูบของเครอ่ื งยนต์ เปน็ ตน้ ท้งั น้เี พอ่ื สร้างสรรค์จินตนาการใหเ้ กดิ แรงจูงใจจากผู้ชม การผลิตภาพเคลื่อนไหวจะต้องใช้โปรแกรมท่ีมีคุณสมบัติเฉพาะทางซง่ึ อาจมปี ัญหาเกิดขึ้นอยู่บ้างเก่ยี วกบั ขนาดของไฟล์ที่ต้องใช้พื้นท่ีในการจัดเก็บมากกวา่ ภาพน่งิ หลายเท่าน่ันเอง

เสยี ง (Sound) เสียงเป็นองค์ประกอบหนึ่งท่ีสาคัญของมัลติมเี ดีย โดยจะถกูจดั เก็บอยใู่ นรูปของสญั ญาณดจิ ิตอลซ่ึงสามารถเล่นซ้ากลบั ไปกลบั มาได้โดยใช้โปรแกรมที่ออกแบบมาโดยเฉพาะสาหรับทางานด้านเสียง หากในงานมัลติมีเดียมีการใช้เสียงที่เร้าใจและสอดคล้องกับเน้ือหาในการนาเสนอ จะช่วยให้ระบบมลั ติมเี ดียน้ันเกิดความสมบูรณ์แบบมากย่ิงขึ้นนอกจากนี้ยังช่วยสร้างความน่าสนใจและน่าติดตามในเร่ืองราวต่างๆไดเ้ ปน็ อยา่ งดี ท้งั นีเ้ นือ่ งจากเสียงมีอิทธิพลต่อผู้ใช้มากกว่าข้อความหรือภาพนิ่งน่ันเอง ดังนั้น เสียงจึงเป็นองค์ประกอบที่จาเป็นสาหรับมัลติมีเดียซ่งึ สามารถนาเข้าเสียงผ่านทางไมโครโฟน แผ่นซีดี ดีวีดี เทปและวทิ ยุ เปน็ ต้น

วดี โี อ (Video) วดิ ีโอเปน็ องคป์ ระกอบของมลั ตมิ ีเดยี ทม่ี ีความสาคญั เป็นอยา่ งมาก เน่อื งจากวดิ โี อในระบบดิจติ อลสามารถนาเสนอข้อความหรือรูปภาพ (ภาพนิง่ หรือภาพเคลอ่ื นไหว) ประกอบกับเสยี งไดส้ มบูรณ์มากกวา่ องค์ประกอบชนิดอ่นื ๆ อยา่ งไรก็ตาม ปัญหาหลกั ของการใช้วดิ โี อในระบบมัลตมิ เี ดยี กค็ อื การสิน้ เปลอื งทรพั ยากรของพนื้ ทบ่ี นหนว่ ยความจาเปน็ จานวนมาก เน่อื งจากการนาเสนอวดิ โี อด้วยเวลาที่เกิดข้นึ จรงิ (Real-Time) จะต้องประกอบดว้ ยจานวนภาพไม่ต่ากวา่30 ภาพต่อวินาที (Frame/Second)

ถ้าหากการประมวลผลภาพดังกล่าวไม่ได้ผ่านกระบวนการบีบอัดขนาดของสัญญาณมาก่อน การนาเสนอภาพเพียง 1 นาทีอาจต้องใช้หน่วยความจามากกว่า 100 MB ซึ่งจะทาให้ไฟล์มีขนาดใหญ่เกินขนาดและมีประสิทธิภาพในการทางานที่ด้อยลง ซ่ึงเม่ือมีการพัฒนาเทคโนโลยีท่ีสามารถบีบอัดขนาดของภาพอย่างต่อเนื่องจนทาให้ภาพวิดีโอสามารถทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นและกลายเป็นสื่อที่มบี ทบาทสาคัญต่อระบบมลั ตมิ เี ดยี (Multimedia System)

ไฟลว์ ดี ีโอรปู แบบหนึง่ ทพ่ี ัฒนาโดยบรษิ ัท Apple จะนามาใช้กับงานดา้ นมัลติมเี ดีย และเวปไซต์เปน็ ส่วนใหญ่ทงั้ น้ีตอ้ งติดต้ังPlug In ไว้ท่เี วปเบราเซอร์ (IE , Netscape) กอ่ นที่จะนาไฟล์มลั ตมิ เี ดียประเภทนี้ (หาดาวนโ์ หลดได้ท่ี www.apple.com)นอกจากนี้ยงั เปน็ รปู แบบทเี่ ครอ่ื ง Macintosh สามารถนาเสนองานรูปแบบนไ้ี ด้ดีอกี ดว้ ยซึ่งสามารถเปดิ ผ่านโปรแกรม Quick TimeMOV (Movie)

เปน็ ไฟล์วีดโี อเช่นเดยี วกัน โดยฟอรแ์ มตนีจ้ ะถกู ใชง้ านบนเครือ่ ง พีซี เชน่ เมือ่ โหลดภาพจากกล้องวีดีโอเข้ามาทเ่ี คร่ืองคอมก็จะต้องทาเปน็ ฟอรแ์ มต AVI ขอ้ เสยี ของมนั ก็คือขนาดใหญ่มากไฟล์วีดีโอแค่ 1 นาที อาจจะตอ้ งใช้พื้นทเ่ี กบ็ ประมาณ 5 – 10 MBมักจะนาไฟลร์ ูปแบบนีไ้ ปใชห้ รือทาการแปลงเปน็ ไฟล์รูปแบบอื่นๆเช่น Quick Time , MPEG และอนื่ ๆ ได้อกี ดว้ ยคุณภาพของการแปลงไฟล์ ภาพและเสยี งจะแตกตา่ งกนั เล็กน้อย AVI( Audio Video Interleave )

MPEG( Motion Picture Expert Group ) เ ป็ น รู ป แ บ บ ข อ ง ก า ร บี บ อั ดไฟล์ข้อมูลเสียงหรือไฟล์ วีดีโอให้มีขนาดเล็กลง มักจะใช้ในการสร้างแผ่นVideoCD – VCD SVCD DVD หรือKaraOk(ไฟล์ท่ีมีนามสกุล *.mpg)จ ะ ต้ อ ง เ ปิ ด ด้ ว ย โ ป ร แ ก ร ม เ ฉ พ า ะอยา่ งเชน่ Power DVD, XingMpeg

MPEG -1ถือกาเนิดขนึ้ มาในปี 2535 ซ่งึ เป็นรปู แบบของไฟลท์ ่เี ขา้ รหสั มาดว้ ยการบีบอดั ใหไ้ ด้ไฟล์ท่ีมี ขนาดเลก็ เพื่อสาหรับการสรา้ งวิดโี อแบบ VCD โดยจะมีการบีบอดั ข้อมลู สูง มีค่าบิตเรตอยู่ท่ี 1.5 Mb/s ซง่ึ มคี ุณภาพใกลเ้ คยี งกบั เทปวิดโี อ MPEG -2ถอื กาเนิดขึ้นในปี 2538 ซึ่งเปน็ รปู แบบของไฟลท์ เ่ี ข้ารหัสมาเพ่ือการสรา้ งภาพยนตร์โดยเฉพาะ โดยสามารถสรา้ งเป็น SVCDหรือ DVD กไ็ ด้ ซึ่งอัตราการบบี อดั ขอ้ มลู จะนอ้ ยกว่า MPEG-1ไฟล์ทไี่ ด้จึงมีขนาดใหญก่ วา่ และไดค้ ณุ ภาพสูงกว่าด้วยอีกทัง้ คา่ บติ เรตกไ็ ม่ตายตวั ทาใหส้ ามารถกาหนดอตั ราการบบี อัดข้อมูลได้เอง

MPEG -3ถกู พัฒนาไปในรูปแบบของเสยี งทีร่ ้จู ักกนั ดีคือ MP3 MPEG -4เปน็ รูปแบบของไฟล์แบบใหม่ทีถ่ ือกาเนดิ ข้ึนในเดือนตลุ าคม 2541จากความร่วมมือกนั ของวศิ วกรท่วั โลกและไดเ้ ป็นมาตรฐานของนานาชาติเมื่อปี 2542 ซึ่งถือเปน็ การปฏวิ ัติวงการดจิ ิตอลวดิ โี อเพราะมีรปู แบบการบีบอัดทดี่ ีกวา่ MPEG-1 และ MPEG-2โดยไฟล์ประเภทนจ้ี ะมคี ุณภาพของวดิ ีโอสงู สามารถสรา้ งรหสั ภาพวดิ โี อได้อย่างมีประสิทธภิ าพโดยมจี ดุ ประสงค์เพอ่ื การใช้งานอยู่ 3ประเภท คือ ระบบโทรทศั น์แบบดิจิตอล งานดา้ นแอพพลิเคชันกราฟิกและมลั ติมีเดียต่างๆ ปจั จบุ นั mp4 ใช้มากในส่ือบนโลกออนไลน์

รายละเอยี ดของเทคโนโลยี MPEGมาตรฐานวิดีโอ MPEG-1 MPEG-2 MPEG-4ความละเอียดสูงสดุ 352 x 288 1920 x 1152 720 x 576มาตรฐานในระบบ PAL 352 x 288 720 x 576 720 x 576มาตรฐานในระบบ NTSC 352 x 288 640 x 480 640 x 480ความถ่ขี องคลืน่ เสียงสงู สุด 48 kHz 96 kHz 96 kHzชอ่ งสัญญาณเสียงสูงสุดจานวนเฟรมต่อวินาทใี นระบบ PAL 2 8 8จานวนเฟรมตอ่ วนิ าทใี นระบบ NTSC 25 25 25คณุ ภาพของวิดีโอ 30 30 30ประสทิ ธภิ าพของระบบ พอใช้ ดีถงึ ดีมาก ดีมาก ตา่ สูง สูงมาก

RM,RPM เป็นรูปแบบหนึ่งของไฟลม์ ัลติมเี ดียท่ี พัฒนาขนึ้ โดย RealNetwork Inc. จะมรี ปู แบบเฉพาะตัวในการเลน่ ไฟล์ มลั ติมเี ดียภาพและเสยี งอยา่ งตอ่ เนื่อง ที่ เรยี กวา่ Streaming โดยเฉพาะมี โปรแกรมสาหรับเปดิ ไฟล์ปะเภทนี้ ไดแ้ ก่ RealPlayer RealAudio สามารถนาเสนองานบนอินเตอรเ์ น็ต ได้เป็นอย่างดี

Shockwave Flashเทคโนโลยีท่ีนาทงั้ ภาพและเสยี งและยังจะโตต้ อบกับผู้ ใชง้ านได้ด้วยเช่นการกดป่มุ การเปลย่ี นภาพเมื่อคลิก้ ท่ี Flash สามารถเล่นเกมสไ์ ด้หลายอย่าง อย่างท่เี ราคุน้ เคยในรูปของเกมส์ Flash นามสกลุ .swf

มาตรฐานของวิดโี อแบบตา่ ง ๆ

มาตรฐานของวดิ ีโอมีอยดู่ ว้ ยกนั 4รูปแบบ คอื VCD SVCD DVDและ BD ซง่ึ คุณภาพของ วิดีโอก็มคี วามแตกตา่ งกนั ไปตามแตล่ ะประเภท โดยแต่ละรปู แบบก็มีคุณสมบตั ิดงั นี้

VCD ( Video Compact Disc )VCD เป็นรูปแบบของวดิ โี อทไี่ ด้รบั ความนยิ มกันโดยท่วั ไปประกอบด้วยภาพและเสียงแบบดิจิตอล ความจขุ องแผ่น VCD โดยปกตจิ ะอยูท่ ่ี 74/80 นาทีหรือประมาณ 650/700 เมกกะไบต์ โดยได้รบั การเข้ารหสั มาจากเทคโนโลยีของ MPEG – 1 มคี วามละเอยี ดของภาพอยทู่ ี่ 352 x 288 พิกเซลในระบบ PAL และ 352 x 240 พิกเซลในระบบ NTSC คุณภาพของวดิ ีโอใกล้เคยี งกบั เทป VHS ซ่ึงสามารถเล่นได้กบั เคร่อื งเล่นวซี ดี โี ดยท่ัวไปหรือจากไดรฟ์ซดี รี อมของเครื่องคอมพวิ เตอร์ และแผ่นซดี ีทใี่ ช้เขียน VCD ไดก้ ็จะมีอยู่ 2 แบบคอื แผน่ CD-R ซ่งึ เป็นชนดิ ท่ีเขยี นข้อมลู ไดค้ ร้ังเดยี ว และแผน่ CD-RW ท่สี ามารถเขยี นและลบเพอ่ื เขยี นขอ้ มลู ลงไปใหมไ่ ด้ แต่แผ่น CD-RW มักจะอา่ นไม่ไดจ้ ากจากเครอื่ งเล่น VCD หลายๆ รุน่

SVCD( Super Video Compact Disc )SVCD เป็นรูปแบบของวิดีโอท่ีคล้ายกบั VCD แต่จะให้คุณภาพของวิดีโอท้ังในด้านภาพและเสียงท่ีดีกว่า โดยเข้ารหัสมาจากเทคโนโลยีของ MPEG – 2 จะมีความละเอียดของภาพอยู่ที่482 x 576 พิกเซลในระบบ PAL และ 480 x 480 พิกเซลในระบบ NTSC ซึ่งแผน่ ประเภทน้ยี งั มีเคร่ืองเล่น VCD หลาย ๆ รุ่นท่ี อ่ า น ไ ม่ ไ ด้ โ ด ย จ า เ ป็ น ต้ อ ง อ่ า น จ า ก เ ค รื่ อ งเล่น DVD หรือ VCD บางรุ่นท่ีสนับสนุนหรือเล่นจาก CD –ROM จากเครื่องคอมพวิ เตอรเ์ ท่านัน้

DVD ( Digital Versatile Disc )DVD เป็นรูปแบบการเก็บขอ้ มูลแบบใหมท่ ี่ใหค้ ณุ ภาพของวดิ โี อสงู ทั้งดา้ นภาพและเสียงซงึ่ มากกว่ารปู แบบของ VCD หลายเทา่ ตวั โดยให้ความละเอยี ดของภาพอยู่ที่ 720 x 480 พิกเซลในระบบ PAL และ 720 x 576 พิกเซลในระบบ NTSC โดยมาตรฐานของแผ่น DVD กม็ หี ลายประเภท เชน่ DVD + R/RW, DVD – R/RW , DVD + RDL และ DVD + RAM ซง่ึ ความจุของแผน่ DVD กม็ ีใหเ้ ลอื กใชต้ ามชนดิ ของแผน่ โดยมีตั้งแต่ 4.7 กกิ ะไบต์ไปจนถึง 17 กิกะไบต์ ทาให้สามารถบนั ทกึภาพยนตร์ทง้ั เรื่องไดอ้ ย่างสบาย ซึ่งคาดการณ์กันวา่ สอ่ืประเภท DVD คงจะเข้ามาแทนท่ี VCD ได้ในไมช่ ้า

BD ( Blu-ray Disc )มาตรฐานของบลูเรยพ์ ัฒนาโดย กลมุ่ ของบริษทั ที่เรียกวา่ Blu-rayDisc Association ซ่งึ นาโดย ฟิลปิ ส์ และ โซนี เปรียบเทียบกับ HD-DVD ทีม่ ลี กั ษณะและการพัฒนาใกล้เคียงกนั บลูเรย์มคี วามจุ 25 GBในแบบเลเยอร์เดยี ว (Single-Layer) และ 50 GB ในแบบสองเลเยอร์(Double-Layer) ขณะท่ี เอ็ชดดี ีวดี แี บบเลเยอรเ์ ดยี ว มี 15 GB และสองเลเยอรม์ ี 30 GB ความจขุ องบลูเรย์ดิสค์ ซง่ึ ปกติแผน่ บลูเรยน์ ัน้ จะมลี กั ษณะคลา้ ยกบั แผ่น ซดี ี/ดวี ีดี โดยแผ่นบลูเรย์จะมลี ักษณะแบบหนา้เดยี ว และสองหนา้ โดยแตล่ ะหน้าสามารถรองรบั ไดม้ ากถงึ 2 เลเยอร์

อาทิ แผ่น BD-R (SL) หมายถงึ Blu-Ray Disc ROM แบบ SingleLayer แบบหน้าเดียว มคี วามจุ 25 GB แผน่ BD-R (DL) หมายถงึ Blu-Ray Disc ROM แบบ Double Layer แบบหน้าเดียว มีความจุ 50 GBแผน่BD-R (2DL) หมายถงึ Blu-Ray Disc ROM แบบ Double Layer แบบสองหนา้ มีความจุ 100 GB ส่วนความเรว็ ในการอา่ นหรอื บันทกึ แผ่นBlu-Ray ที่มีคา่ 1x, 2x, 4x ในแต่ละ 1x จะมคี วามเรว็ 36 เมกะบิต ตอ่วนิ าที นัน่ หมายความว่า 4x นั่นจะสามารถบันทกึ ไดเ้ รว็ ถึง 144 เมกะบติต่อ วินาที โดยมี นกั วิทยาศาสตร์จาก NASA เปน็ ผพู้ ัฒนาต่อจาก ระบบบนั ทกึ ขอ้ มลู ทใ่ี ช้ในโครงการอวกาศ

ชนดิ ของภาพ

รปู แบบชนิดของภาพแบ่งออกเปน็ 2 ชนดิ คอืภาพแบบ บิตแมป( Bitmap ) หรือ ราสเตอร์( Raster ) คอื ภาพท่ีเกิดจากหนว่ ยภาพเล็กๆมารวมกนั จนเป็นภาพใหญค่ ลา้ ยจ๊ิกซอร์สามารถดไู ดโ้ ดยการซมู ภาพเข้าไปกล่าวคอื ภาพเหลา่ นยี้ งิ่ ซูม(ขยาย)ยง่ิ แตก จนดไู มร่ เู้ รอื่ ง เชน่ ภาพนามสกลุ .JPEG, .TIFF,.GIF และ PNGเปน็ ตน้

ภาพแบบเวคเตอร์( Vector ) คือภาพท่เี กดิ จากเส้นโคง้ , เสน้ ตรง และคณุ สมบัตสิ ขี องเส้นนน้ั ๆทีเ่ กดิ จากการคานวณทางคณติ ศาสตร์(ทเี่ รามองไมเ่ ห็นด้วยตา)กลา่ วคอื ท่จี ุดๆหนงึ่ ของภาพทเี่ ราซมู เข้าไปมนั จะเกดิ จากการกาหนดคณุ สมบัติไว้ว่าภาพเกดิ จากเสน้ ตรง หรือเส้นโค้งทเ่ี อียงก่ีองศา เกบ็ ค่ารหสั สีอะไรไว้ เมื่อเราซูมขยายภาพไมว่ า่ จะขนาดเท่าไหร่ก็ตามภาพมันจะไมแ่ ตก(ไมส่ ยู เสียความละเอยี ดไป) เพราะการซูมภาพเป็นการคูณจานวนเทา่ ลงไปที่คุณสมบตั ิภาพน่นั เองดังนัน้ ถา้ เราแก้ไขภาพก็คือไปแกไ้ ขคุณสมบัติทางคณิตศาสตร์ ไมว่ า่ จะยอ่ หรอื ขยายก่ีครงั้ภาพแบบน้ีจะยังคมชัดเท่าเดิมภาพ Vector เหล่านไี้ ดแ้ ก่- ภาพ .wmf (Clipart ที่เราไวต้ กแต่งใน Microsoft Office นั่นเอง)-ภาพใน Adobe Illustrator, Macromedia Freehand

BMP (Bitmap) จุดเด่น จุดด้อย•ภาพจะมีรายละเอียดที่สมบรู ณ์ •ใช้เนื้อทใ่ี นการเก็บจานวนมาก ทา ให้ขนาดของไฟล์ภาพมขี นาดใหญ่

JPEG( Joint Graphics Expert Group ) จดุ เดน่ จดุ ดอ้ ย•สนับสนุนสไี ด้มากถึง 24 bit •ไม่สนับสนนุ ภาพเคลือ่ นไหวเพราะไมส่ ามารถ•สามารถกาหนดคุณภาพและต้ังค่าการบบี เก็บภาพหลายๆภาพไวด้ ว้ ยกนั ได้อดั ไฟลภ์ าพได้•ใชใ้ น Internet (Worl Wild Web) มีนามสกลุ .jpg•มโี ปรแกรมสนบั สนนุ การสรา้ งจานวนมาก•เรียกดูภาพได้ใน Graphic Browser ทกุ ตัว

GIF( Graphics Interchange Format ) จดุ เด่น จดุ ด้อย•เปน็ ทน่ี ยิ มมากที่สดุ สาหรับภาพทีจ่ ะแสดงบน •แสงภาพได้เพยี ง 256 สเี ท่าน้ันWeb/Internet •ไม่เหมาะสาหรบั การนาเสนอ•มขี นาดเล็กมาก ภาพถ่ายหรอื งานที่ต้องการความ•สามารถทาพื้นให้เปน็ แบบโปรง่ ใสได้ คมชดั สงู(Transparent/Opacity)•สามารถทาเป็นภาพเคลอ่ื นไหวบน WebPage ได้โดยใช้เครือ่ งมอื ช่วยสรา้ งเช่น JAVA, Flash•มีโปรแกรมสนบั สนนุ ในการสรา้ งจานวนมาก•สามารถเรยี กดภู าพไดใ้ น Graphic Browser ทุกตัว

PNG (Portable Network Graphics) JPG GIF PNGจุดเดน่ จุดดอ้ ย•เอาคุณสมบตั ิของ(JPEG+GIF) มาใชค้ ือ สมี ากกวา่ •ไมส่ นบั สนุนภาพเคลื่อนไหวเพราะไม่สามารถเกบ็ ภาพหลายๆภาพไวด้ ว้ ยกันได้256สีและโปร่งใสได(้ Transparent)•PNG มีการบีบอดั ข้อมลู โดยไม่เสยี คณุ ภาพ•ทาใหโ้ ปรง่ ใสได(้ Transparency)และยงั สามารถควบคุมองศาของความโปรง่ ใส(Opacity)ได้ด้วย•เก็บบันทึกภาพดว้ ยสจี ริง(True Color) ได้เช่นเดียวกับตารางสี(Pallete) และสเี ทา(Grayscale)แบบ GIF

TIFF ( Tagged Image File Format )คือการเกบ็ ไฟล์ภาพในลกั ษณะเดยี วกบั ไฟล์แบบ BMP แตใ่ นไฟล์มีTagged File ซ่ึงเปน็ สัญลกั ษณ์ทชี่ ่วยโปรแกรมควบคุมการแสดงภาพเชน่ การแสดงหรือไม่แสดงภาพบางส่วนได้ ภาพท่เี กบ็ ไว้ในลักษณะของ TIFF จึงมีความพเิ ศษกว่าการเกบ็ แบบอนื่ ทก่ี ล่าวมา นอกจากน้ียงั มีไฟลภ์ าพแบบตา่ งๆ อกี หลายแบบ โดยแตล่ ะแบบจะมีจุดเด่นแตกตา่ งกนั ไป มักนยิ มใช่ในงานกราฟิกการพมิ พ์

ระบบการส่งสญั ญาณโทรทศั น์ระบบการสง่ สญั ญาณโทรทัศนม์ ีอยูด่ ้วยกนั 4 ระบบได้แก่ * ระบบ NTSC (National Televion Standards Committee) * ระบบ PAL (Phase Alternation Line) * ระบบ SECAM (SEQuentiel A Memorie(\"memory sequential\") * ระบบ HDTV (High-definition television)

NTSC(National Televion Standards Committee) เปน็ ระบบโทรทศั น์สรี ะบบแรกท่ใี ชง้ านในประเทศสหรฐั อเมริกา ตง้ั แตป่ ีค.ศ.1953 ประเทศทใี่ ช้ระบบนตี้ อ่ ๆ มาไดแ้ ก่ ญปี่ นุ่ แคนาดา เปอเตอริโก้ และเมก็ ซิโก เป็นต้น

ขอ้ ดี ขอ้ เสยี•สามารถมองเหน็ ภาพได้ 30 ภาพ/วนิ าที •เส้นสแกนภาพมจี านวนน้อย หากใชจ้ อภาพทาให้การสั่นไหวของภาพลดน้อยลง เครือ่ งรับโทรทัศนท์ ่มี ีขนาดใหญร่ ับภาพจะทาให้ รายละเอียดภาพมนี อ้ ย ดังนัน้ ภาพจึงขาด ความคมชดั และถา้ ใชเ้ ครอื่ งรบั โทรทศั น์ขาว-ดา สญั ญาณสที ีค่ วามถ่ี 3.58 MHz จะเกิดการรบกวนสัญญาณขาว-ดา ทาให้เกิด ความผิดเพ้ียนของสี

PAL(Phase Alternation Line)เป็นระบบโทรทัศนท์ ่พี ฒั นามาจากระบบ NTSCทาให้มกี ารเพี้ยนของสีนอ้ ยลง เร่ิมใชง้ านมาตัง้ แต่ปคี .ศ.1967ในประเทศทางแถบยุโรป คือ เยอรมันตะวนั ตก องั กฤษออสเตรเลีย เบลเยย่ี ม บราซลิ เดนมารก์ นอรเ์ วย์ สวีเดนสวิตเซอรแ์ ลนด์ และมหี ลายประเทศในแถบเอเซียทใี่ ชก้ นั คือสงิ คโปร์ มาเลเซีย รวมไปถึงประเทศไทยก็ใช้ระบบน้ี

ข้อดี ขอ้ เสยี•เป็นระบบท่ีให้รายละเอยี ดของภาพสูง •ข้อเสียคือภาพทมี่ องเหน็ มีความสั่นไหวไมม่ ีความผิดเพี้ยนของสี ภาพที่ได้เปน็ มากกวา่ ระบบ NTSC เนือ่ งจากภาพที่ธรรมชาติ ความเขม้ ของภาพสูง (High มองเหน็ 25 ภาพ/วนิ าทีContrast)

SECAM (SEQuentiel A Memorie(\"memory sequential\")เป็นระบบโทรทัศน์อีกระบบหนงึ่ คิดคน้ ข้ึนโดย Dr.Henry D.Franceเร่ิมใชม้ าต้งั แตป่ ีค.ศ.1967 นยิ มใชก้ นั อย่หู ลายประเทศแถบยโุ รปตะวันออก ไดแ้ ก่ ฝรั่งเศส อลั จีเรยี เยอรมนั ตะวันออก ฮังการีตูนเี ซยี รูมาเนีย และรัสเซีย เป็นต้น

ข้อดี ขอ้ เสยี•เปน็ ระบบทีไ่ มม่ ีความผิดเพี้ยนของสี •ภาพจะมีการส่นั ไหวเหมอื นระบบ PAL •เกดิ มสี ีรบกวนในขณะรับชมรายการได้ รายละเอียดของภาพมีคุณภาพสงู เทยี บเทา่ กันระบบ PAL ข้อเสยี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook