Page |1 บันทึกข้อความ ส่วนราชการ โรงเรยี นบ้านทา่ อาจ อาเภอแมส่ อด จังหวัดตาก ท่ี /256๖ วันท่ี ๓๐ มนี าคม พ.ศ. 256๖ เรอ่ื ง รายงานการจัดสง่ วิจัยในชั้นเรียน ประจาภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 256๕ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… เรียนผู้อานวยการโรงเรยี นบา้ นทา่ อาจ ข้าพเจ้า นายดนัย พันธ์พนมไพร ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ - โรงเรียนบ้านท่าอาจ ได้จัดทาวิจัยใน ชั้นเรียน เรื่อง ผลของการใช้ชุดฝึกทักษะเร่ืองการบวก การลบ การคูณและการหารที่มีต่อผลสัมฤทธ์ิทางการ เรียนของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4/1 ซึ่งเป็นการแก้ไขปัญหาและพัฒนาคุณภาพผู้เรียนในวิชาคณิตศาสตร์ รหสั วชิ า ค 14101 ช้ันประถมศกึ ษาปีที 4 ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖5 ได้รับมอบหมายให้ทาการเรียนการสอนในรายวิชา คณติ ศาสตร์ ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 4 กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ จงึ เรยี นมาเพ่ือโปรดทราบและพิจารณา ลงชอ่ื ....................................................... ( นายดนยั พันธ์พนมไพร ) ผ้จู ดั ทาวิจัย ๑. ความคดิ เหน็ ของหัวหน้างานวิจยั ในชนั้ เรียน ๓. คาสัง่ ผู้อานวยการโรงเรยี น ทราบ................................................................... ................................................................................................................................ อนุมัติ.................................................................... ................................................................................................................................ ................................................................................................................................ ลงช่ือ........................................................ ลงช่อื ................................................ ( นางสาวกณิการ์ ปรือปรงั ) ( นายกิชสณพนธ์ เฉลมิ วิสุตม์กลุ ) หวั หนา้ งานวจิ ัยในช้ันเรียน ผู้อานวยการโรงเรยี นบ้านท่าอาจ ๒.ความคดิ เหน็ รองผู้อานวยการ ................................................................................................................................ ................................................................................................................................ ................................................................................................................................ ลงชอ่ื ........................................................ ( นางสาววรากร ทองทวี ) รองผู้อานวยการโรงเรียนบา้ นทา่ อาจ โรงเรียนบา้ นท่าอาจ สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาตาก เขต 2
Page |1 บทท่ี 1 บทนำ ควำมเป็นมำและควำมสำคัญของงำนวิจัย ในการเรียนวิชาคณิตศาสตร์น้ัน สิ่งแรกที่เราเริ่มเรียนกันก็คือ ตัวเลข ต่อมาเราก็จะได้เรียนการบวก การลบ การคูณและการหาร ซ่ึงรวมเรียกว่าการคิดคานวณ จะเห็นได้ว่า การคิดคานวณนั้นเป็นพื้นฐานอย่าง หนึ่งในวิชาคณิตสาสตร์ ยกตัวอย่างเช่น นักเรียนต้องแก้โจทย์ปัญหา 1 ข้อ สิ่งท่ีได้จากโจทย์ก็คือ ประโยค สัญลกั ษณ์ ( 5+3 = □ ) แตส่ ิ่งท่ีตอ้ งทาตอ่ ไปนั้นคอื การบวก ถา้ นกั เรยี นคิดคานวณไดถ้ ูกต้อง นกั เรยี นกจ็ ะได้ คะแนน แต่ถ้านักเรียนคิดคานวณผิด ก็จะไม่ได้คะแนน จะเห็นว่า การคิดคานวณ เป็นสิ่งสุดท้าย ในการทา โจทย์คณติ สาสตรท์ ่ที าใหไ้ ด้คะแนนหรือไม่ได้คะแนน ไมว่ ่านักเรียนจะเรียนวิชาคณิตศาสตร์ชน้ั ใด ระดบั ใด จะงา่ ยหรอื จะยากมากแค่ไหน รบั รองว่า ทกุ คน จะได้คิดคานวณแน่นอน ถ้าในตอนนี้ นักเรียนมีทักษะที่ไม่ดี ย่ิงเรียนในระดับที่สูงข้ึน บทเรียนก็จะย่ิงยากข้ึน ตัวเลขในการคิดคานวณก็จะมากขึ้น การคานวณก็จะยากขึ้นด้วย แต่ถ้าในเวลาน้ีนักเรียนมีพื้นฐานทักษะการ คิดคานวณท่ดี ี การพฒั นาให้ดียงิ่ ขึ้น ก็จะเป็นไปได้ง่าย นอกจากการคิดคานวณจะมีความสาคัญในวชิ าคณิตสาสตร์ ที่นักเรียนได้เรียนอยู่แล้ว การคิดคานวณ ยงั มปี ระโยชน์ในชีวติ ประจาวันของทุกคนด้วย เชน่ การซ้อื ของ การฝากเงนิ ในธนาคาร หรอื ทกุ เรือ่ งทเ่ี กยี่ วข้อง กบั เงนิ ถ้าเราคดิ คานวณไม่เปน็ เรากจ็ ะถกู หลอกไดง้ า่ ย ดังน้นั คณะผู้วิจยั จงึ ไดพ้ ยายามหาแนวทางที่จะช่วยให้ นักเรียนมีทกั ษะการคดิ คานวณท่ดี ขี น้ึ สามารถนาไปใช้ในการเรียนและในชวี ติ ประจาวนั ได้ จุดมงุ่ หมำย ให้นักเรียนตระหนักถึงความสาคัญและประโยชน์ของการคิดคานวณ สามารถคิดคานวณได้อย่าง คล่องแคล่วและถูกต้อง ซ่ึงสามารถนาไปใชไ้ ดจ้ ริงในชวี ิตประจาวัน ตวั แปรทีศ่ กึ ษำ ตวั แปรตน้ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4/1 จานวน 30 คน ตัวแปรตำม 1. แบบฝกึ หัดการคิดคานวณ โดยใชก้ จิ กรรมการเขียน 2. ระดบั ผลสัมฤทธข์ิ องคะแนน ก่อนเรียนและหลังเรียน ประโยชนท์ ีค่ ำดว่ำจะได้ 1. นกั เรียนสามารถคดิ คานวณได้อยา่ งคล่องแคลว่ และถูกต้อง 2. นักเรยี นสามารถนาไปใชไ้ ด้จริงในชวี ิตประจาวัน โรงเรียนบา้ นทา่ อาจ สังกดั สานกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาตาก เขต 2
Page |2 บทที่ 2 เอกสำรและงำนวจิ ยั อ้ำงองิ งานวจิ ัยท่ใี ช้อ้างองิ ไม่สามารถหาได้ โรงเรียนบา้ นทา่ อาจ สงั กัดสานกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาตาก เขต 2
Page |3 บทที่ 3 วธิ ดี ำเนนิ กำรวจิ ัย ขอบเขตของกำรวิจยั ในการศึกษาวิจัยครั้งน้ีเป็นการสาร้างแบบฝึกหัด เกี่ยวกับการคิดคานวณ โดยใช้กิจกรรมการเขียน เพ่ือพัฒนาทักษะการคิดคานวณของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4/1 และได้กาหนดขอบเขตของการวิจัยไว้ ดังนี้ 1. ประชากร คือ นักเรียนระดับช้ันประถมศึกษาปีที 4/1 ปีการศึกษา 2565 โรงเรียนบ้านท่า อาจ จานวน 30 คน 2. เน้อื หาทใ่ี ช้ในการทาวิจัย เฉพาะในเรื่องของการบวก การลบ การคูณ การหาร วิธดี ำเนนิ กำรวจิ ัย ระยะเวลำในกำรดำเนินงำน 1 กรกฏาคม 2565 – 2 มนี าคม 2566 ตำรำงดำเนนิ กำรวิจัย วนั /เดือน/ปี กิจกรรม/ข้นั ตอนการดาเนนิ งาน หมายเหตุ 1 - 5 ก.ค. 65 6 - 31 ก.ค. 65 วางแผนการดาเนนิ งาน 1 - 31 ส.ค. 65 จดั เตรยี มเอกสารแบบทดสอบและแบบฝึกหัดการคดิ คานวณ โดยใช้แบบ 1 ก.ย. 65 2 ก.ย. 65 ทดสอบ กอ่ นเรยี นและหลังเรียนชดุ เดยี วกัน 3 ก.ย. 65 - 19 ก.พ. 66 ปรบั แผนการสอนใหส้ อดคลอ้ งกบั งานวิจัย 3 ก.ย. 65 - 19 ก.พ. 66 เตรียมการสอนตามตามแผนการสอนทปี่ รบั เปลี่ยน 20 - 24 ก.พ. 66 25 - 28 ก.พ. 66 ทาการทดสอบก่อนเรียน บันทึกคะแนน 1 - 2 ม.ี ค. 66 สอนโดยเร่ิมจากทักษะที่ง่ายไปหายาก และสอดแทรกเทคนิคคิดเลขเร็ว โดย ทาการสอนในชว่ ง 10 นาทสี ดุ ท้ายของแตล่ ะคาบเรยี น ทาแบบฝึกหัดที่เตรียมไว้ โดยทาแบบฝกึ หดั ในช่วง 10 นาทีสุดท้ายของแตล่ ะ บนั ทกึ คะแนน คาบเรียน ทาการทดสอบหลังเรียน บนั ทึกคะแนน รวบรวมและวเิ คราะหข์ อ้ มลู สรปุ ผลการวิจยั โรงเรยี นบ้านท่าอาจ สังกดั สานกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาตาก เขต 2
Page |4 เคร่ืองมือที่ใชใ้ นกำรวิจัย 1. แบบทดสอบก่อนเรียน หลังเรียน จานวน 10 ขอ้ 2. แบบฝกึ หดั การคิดคานวณ จานวน 12 ชดุ ชุดละ 5 ข้อ ชดุ ที่ 1 - 3 เร่อื งการบวก ชดุ ที่ 4 - 6 เร่อื งการลบ ชุดที่ 7 - 9 เรือ่ งการคูณ ชุดท่ี 10 - 12 เรอ่ื งการหาร โรงเรยี นบา้ นท่าอาจ สงั กดั สานักงานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาตาก เขต 2
Page |5 บทที่ 4 ผลกำรวิจยั สถิติที่ใชใ้ นกำรวิจัย 1. การหาคา่ เฉลยี่ 2. การหาค่าร้อยละ กำรวิเครำะห์ข้อมูล จากการศึกษาวิจัยในชนั้ เรียนและศึกษาจากกลุ่มนกั เรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4/1 ปีการศึกษา 2565 โรงเรียนบ้านท่าอาจ จานวน 30 คน คณะผู้วิจัย ได้ใช้แบบทดสอบทาการทดสอบก่อนเรียน จานวน 10 ข้อ หลงั จากนนั้ ไดส้ อนหลกั การคิดคานวณ พร้อมกับทาแบบฝึกหัดท้ังหมด 12 ชดุ ๆ ละ 5 ขอ้ และใช้แบบทดสอบ ทาการทดสอบหลังเรียน จานวน 10 ข้อ โดยสามารถวเิ คราะหผ์ ลไดด้ ังนี้ ผลคะแนนนกั เรียนชน้ั ป.4/1 ชื่อ – นำมสกลุ Pretest Posttest แบบฝกึ หัด แบบฝกึ หัด แบบฝึกหดั แบบฝกึ หดั (10 คะแนน) (10 คะแนน) ท่ี 1-3 ท่ี 4-6 ท่ี 7-9 ท่ี 10 –12 เด็กชายอ่องทะซอ 10 9 8 เดก็ ชายจ่อแอพ้ อ 3 6 9 8 10 9 เด็กชายละมแิ หง่ 4 7 14 13 13 9 เด็กชายขา่ นโป่โป่ทนู 5 9 11 12 10 14 เด็กชายสิ่นสนิ่ ส่อ 3 7 10 11 9 11 เดก็ ชายตะวนั จรัสเรอื งรองกุล 4 7 12 10 11 13 เด็กชายเหนเ่ ท็ดหนา่ ย 4 7 9 10 9 11 เด็กชายซายสา่ หน่ี 3 6 12 11 13 11 เดก็ ชายจ่อส่นิ ทนุ 4 8 9 8 9 10 เด็กชายตา่ แอ้โซ 4 6 11 12 11 7 เดก็ ชายแทะวยี า 3 7 13 14 14 10 เดก็ ชายเยมิวอ่อง 5 9 12 11 10 12 เด็กชายเฮเมงโก่ 4 7 12 12 11 11 เด็กชายอ่องหน่ายโซ 5 8 13 14 13 13 เด็กชายเซ่มีนหน่าย 5 9 15 15 15 15 6 10 15 โรงเรียนบ้านทา่ อาจ สงั กดั สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาตาก เขต 2
Page |6 ช่อื – นำมสกลุ Pretest Posttest แบบฝกึ หดั แบบฝกึ หดั แบบฝึกหัด แบบฝึกหัด (10 คะแนน) (10 คะแนน) ท่ี 1-3 ท่ี 4-6 ที่ 7-9 ท่ี 10 –12 เดก็ ชายชายโกโก่ 14 14 13 เดก็ หญิงข่ายตะสิน่ 6 9 5 6 4 15 เดก็ หญงิ ทิพย์ 2 4 11 10 12 7 เดก็ หญิงไวเซอร์ 4 7 12 13 11 9 เดก็ หญิงซหุ ยาดี่ 6 8 12 11 10 13 เดก็ หญิงติด่าโม 4 7 14 13 13 11 เดก็ หญงิ โมตะสิน่ ไป่ 5 9 8 8 8 14 เด็กหญิงนลิ ะวิน 2 5 11 12 11 6 เด็กหญงิ หน่อเอต่าโซ 3 7 13 12 13 10 เด็กหญงิ รักสนา 4 8 13 14 14 11 เด็กหญิงหนานอิหนานดา 5 9 15 15 15 12 เด็กหญงิ อผิ วิ่ วนิ 4 10 11 12 12 15 เด็กหญิงน้ามนต์ 3 7 7 8 8 13 เดก็ หญิงนิลนิลเว่ 2 5 8 9 9 8 เด็กหญงิ มนรดา 3 6 15 15 15 10 6 10 15 ตำรำงแสดงกำรเปรยี บเทยี บคะแนนทดสอบก่อนเรยี นและคะแนนทดสอบหลงั เรียน หอ้ ง คะแนนทดสอบก่อนเรียน (%) คะแนนทดสอบหลังเรยี น (%) ควำมก้ำวหนำ้ (%) ป.4/1 43.67 78 34.33 โรงเรียนบ้านท่าอาจ สงั กดั สานกั งานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 2
100 จากตารางและกราฟจะเหน็ วา่ นกั เรียนทกุ ห้องของชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 4/1 มีคะแนนทดสอบหลัง เด็กชายอ่องทะซอ ทดสอบก่อนเรยี น - หลงั เรยี น 90 เรียนมากขึ้นกว่าคะแนนทดสอบก่อนเรียน ดังจะเหน็ ได้จากเปอรเ์ ซน็ ตค์ วามก้าวหนา้ ท่ีไม่มคี ่าติดลบ เด็กชายจ่อแอพ้ อ 80 เด็กชายละมแิ หง่ 10 P a g e | 7 70 ตารางแสดงความสามารถในการทาแบบฝึกหดั แตล่ ะเรือ่ ง เด็กชายข่านโป่ โป่ ทนู 60 เดก็ ชายส่นิ ส่นิ สอ่ 9 50 กำรบวก กำรลบ กำรคณู กำรหำร เด็กชายตะวนั จรสั เรืองรองกลุ 8 40 (%) (%) (%) (%) เด็กชายเหน่เทด็ หน่าย 7 30 79.11 79.33 77.56 78.89 เด็กชายซายสา่ หน่ี 6 20 เดก็ ชายจอ่ สน่ิ ทนุ 5 10 เด็กชายตา่ แอโ้ ซ 4 0 เด็กชายแทะวียา 3 การบวก เด็กชายเยมิวออ่ ง 2 เด็กชายเฮเมงโก่ 1 โรงเรียนบ้านทา่ อาจ ชดุ การสอนเสรมิ Pretest Posttest เดก็ ชายออ่ งหนา่ ยโซ 0 สังกดั สานักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาตาก เขต 2 เดก็ ชายเซ่มนี หนา่ ย การลบ การคณู เด็กชายชายโกโก่ เดก็ หญิงข่ายตะส่นิ การหาร เดก็ หญิงทพิ ย์ เด็กหญิงไวเซอร์ เดก็ หญิงซุหยาด่ี เดก็ หญิงตดิ า่ โม เดก็ หญิงโมตะสน่ิ ไป่ เดก็ หญิงนิละวิน เด็กหญิงหน่อเอตา่ โซ เด็กหญิงรกั สนา เดก็ หญิงหนานอิหนานดา เด็กหญิงอผิ ่วิ วนิ เดก็ หญิงนา้ มนต์ เดก็ หญิงนลิ นลิ เว่ เด็กหญิงมนรดา
Page |8 จากตารางและกราฟพบวา่ นกั เรยี นในระดบั ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 4/1 มีความสามารถในการลบได้มาก ที่สดุ อันดบั สอง คือ การบวก อันดบั สาม คือ การหาร และท่ที าคะแนนได้น้อยท่ีสดุ คือการคูณ โรงเรียนบ้านทา่ อาจ สงั กัดสานกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษาตาก เขต 2
Page |9 บทที่ 5 สรปุ ผลกำรวจิ ยั จำกผลกำรวิจัยสรุปได้ดังน้ี คือ จาการศึกษาวิจัยในเร่ืองการส่งเสริมความสามรถในการคิดคานวณทางคณิตศาสตร์ ระดับช้ัน ประถมศกึ ษาปีท่ี 4/1 ปกี ารศกึ ษา 2565 โรงเรยี นบ้านทา่ อาจ จะเหน็ ไดว้ ่านักเรียนมีทักษะในการคดิ คานวณดี ขึ้น ดังจะเห็นได้จาก คะแนนทดสอบหลังเรียนท่ีมากกว่าคะแนนทดสอบก่อนเรียนของนักเรียนแต่ละคน แต่ จากคะแนนของนักเรียนแต่ละคนก็ยงั มีนักเรยี นบางคนที่ได้คะแนนไม่ผา่ นคร่ึง แตโ่ ดยส่วนมากแล้วนักเรียนจะ มคี ะแนนสูงขึน้ ทาให้ค่าเฉล่ียของคะแนนสงู เพ่มิ ขนึ้ ด้วย และในการศึกษาวิจัยคร้ังนี้ยังพบอีกว่า นักเรียนในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4/1 มีความสามารถใน การลบไดม้ ากทส่ี ดุ อันดับสอง คือ การบวก อนั ดบั สาม คอื การหาร และทท่ี าคะแนนไดน้ ้อยท่ีสุด คือการคูณ ถงึ แมว้ ่านักเรียนจะทาคะแนนไดส้ ูงขึน้ กจ็ ริง แต่ควรมีการพฒั นาในส่วนของการทาโจทยร์ ะคนใหด้ ยี งิ่ ข้นึ เพราะ ในระดบั ทีส่ งู ขึน้ กว่านเี้ ราจะพบโจทย์ระคนเปน็ สว่ นมาก ข้อคิดทไ่ี ดจ้ ำกกำรวจิ ยั 1. ควรมกี ารวัดระดบั ความสามารถในการคิดคานวณในทกุ ระดบั ช้นั เนอ่ื งจากการคิดคานวณเปน็ พื้นฐาน ในวิชาคณิตศาสตร์ ถ้านักเรียนในระดับเล็กไม่เข้าใจจนถึงระดับที่สงู ขึ้นการแก้ปัญหาจะเป็นไปได้ยาก เพราะในระดับสูงผู้สอนจะไม่กวดขันในเรื่องการคิดคานวณแล้ว แต่จะเน้นในส่วนของบทเรียน มากกว่า 2. ควรจัดเวลาเพม่ิ ใหก้ ับนกั เรียน โดนเน้นเฉพาะเร่ืองการคิดคานวณ โรงเรยี นบ้านทา่ อาจ สงั กดั สานกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 2
Search
Read the Text Version
- 1 - 12
Pages: