Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Performance Agreement : PA ปี 2566

Performance Agreement : PA ปี 2566

Published by ดนัย พันธ์พนมไพร, 2023-04-17 04:15:15

Description: วิทยฐานะแบบ ว.PA เกิดจาก “ประสิทธิภาพเชิงประจักษ์ Performance ของครู”และ ผลของการพัฒนาสมรรถนะ Competency ของผู้เรียน ที่จะทำให้เกิดผลการเรียนการสอนออกมาดีที่สุด ตรงตามตัวชี้วัดที่ตกลงกันไว้แล้ว ส่งผลกับวิทยฐานะของครู และผลของการพัฒนาสมรรถนะของนักเรียน

Search

Read the Text Version

คำอธิบำยข้อตกลงในกำรพฒั นำงำน (PA) คำชี้แจงกำรจัดทำข้อตกลงในกำรพฒั นำงำน (PA) ข้อตกลงในการพัฒนางาน” (Performance Agreement : PA) หมายความว่า ข้อตกลงท่ีข้าราชการครู ได้ เสนอตอ่ ผู้อานวยการสถานศึกษา เพื่อแสดงเจตจานงว่าภายในรอบการประเมินจะพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ ของผเู้ รียน เพื่อใหผ้ ้เู รียนมีความรู้ ทกั ษะ คุณลักษณะประจาวชิ า คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงคแ์ ละสมรรถนะทสี่ าคัญตามหลักสูตรให้ สูงขึ้น โดยสะท้อนใหเ้ ห็นถงึ ระดับการปฏิบัติท่ีคาดหวงั ของตาแหน่งและวิทยฐานะทด่ี ารงอยู่และสอดคลอ้ งกับเป้าหมาย และบริบทสถานศึกษา นโยบายของส่วนราชการและกระทรวงศึกษาธิการ โดยผู้อานวยการสถานศึกษาได้เห็นชอบให้ เปน็ ขอ้ ตกลงในการพฒั นางาน ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาที่ดารงตาแหน่งครูทุกคน ต้องจัดทาข้อตกลงในการพัฒนางาน ตาม แบบที่ ก.ค.ศ. กาหนด ทกุ ปงี บประมาณ เสนอตอ่ ผ้อู านวยการสถานศึกษา เพ่อื พิจารณาให้ความเห็นชอบ โดยข้อตกลง ในการพฒั นางาน ประกอบด้วย 2 ส่วน ดงั ต่อไปนี้ สว่ นที่ 1 ข้อตกลงในการพัฒนางานตามมาตรฐานตาแหนง่ 1) การปฏิบัติงานตามมาตรฐานตาแหน่งครู และมีภาระงานตามท่ี ก.ค.ศ. กาหนด 2) ผลการปฏบิ ัติงาน ดา้ นการจดั การเรียนรู้ ดา้ นการสง่ เสริมและสนบั สนุนการจัดการเรียนรู้ และด้าน การพฒั นาตนเองและวชิ าชีพ ส่วนท่ี 2 ข้อตกลงในการพัฒนางานท่ีเสนอเป็นประเด็นท้าทายในการพัฒนาผลลพั ธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน โดย ต้องแสดงให้เห็นถึงการปรับประยุกต์ การแก้ปัญหา ริเร่ิม พัฒนา คิดค้น ปรับเปล่ียนหรือการสร้างการเปล่ียนแปลง ทั้งนี้ ขอ้ ตกลงในการพฒั นางานต้องมีความสอดคล้องกับเป้าหมายและบริบทสถานศึกษา นโยบายของสว่ นราชการและ กระทรวงศึกษาธกิ าร การจัดทาข้อตกลงในการพัฒนางาน ควรกาหนดการดาเนินการในแต่ละกิจกรรมให้ชัดเจน เพ่ือให้สามารถ ประเมินผลการพัฒนางานตามข้อตกลงได้อย่างชดั เจนและเป็นธรรม ทั้งน้ีในระหว่างการดาเนินการตามข้อตกลงในการ พัฒนางาน กรณีท่ีข้าราชการครูย้าย รักษาการในตาแหน่งผู้อานวยการสถานศึกษา ได้รับมอบหมายให้ทาการสอนต่าง วิชา/กลมุ่ สาระการเรียนรทู้ ่ีทาขอ้ ตกลงไว้เดมิ ให้ดาเนนิ การดังนี้ 1. กรณีท่ีข้าราชการครูย้ายสถานศึกษาระหว่างปีงบประมาณให้จัดทาข้อตกลงในการพัฒนางานกับ ผอู้ านวยการสถานศกึ ษาคนใหมใ่ นสถานศึกษาท่ยี า้ ยไปดารงตาแหน่ง 2. กรณีท่ีข้าราชการครูได้รับการแต่งต้ังให้รักษาการในตาแหน่งผู้อานวยการสถานศึกษา ให้จัดทาข้อตกลงใน การพัฒนางานในตาแหนง่ ครกู ับผอู้ านวยการสานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษา 3. กรณีที่ข้าราชการครูได้รับมอบหมายให้ทาการสอนต่างวิชา/กลุ่มสาระการเรียนรู้ท่ีทาข้อตกลงไว้เดิม ให้ ขา้ ราชการครจู ัดทารายละเอยี ดข้อตกลงในการพัฒนางานในวชิ า/กลมุ่ สาระการเรียนรตู้ ามท่ีไดร้ บั มอบหมายใหม่

แบบขอ้ ตกลงในกำรพฒั นำงำน (PA) สำหรบั ขำ้ รำชกำรครูและบุคลำกรทำงกำรศึกษำ ตำแหน่งครู (ไมม่ วี ทิ ยฐำนะ) ประจำปงี บประมำณ พ.ศ. 2566 ระหวำ่ งวันท่ี 1 เดือน ตุลำคม พ.ศ. 2565 ถึงวนั ท่ี 30 เดือน กนั ยำยน พ.ศ. 2566 ผู้จัดทำขอ้ ตกลง ชอ่ื นายดนัย นามสกลุ พนั ธ์พนมไพร ตาแหนง่ ครู สถานศกึ ษา โรงเรียนบ้านทา่ อาจ สงั กัด สานกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 2 รบั เงนิ เดอื นในอันดับ คศ.1 อัตราเงนิ เดือน 19,860 บาท ประเภทหอ้ งเรยี นท่จี ัดกำรเรียนรู้ (สามารถระบไุ ด้มากกวา่ 1 ประเภทหอ้ งเรียน ตามสภาพการจดั การเรยี นร้จู ริง)  ห้องเรยี นวชิ าสามัญหรอื วิชาพื้นฐาน หอ้ งเรยี นปฐมวัย ห้องเรียนการศกึ ษาพเิ ศษ หอ้ งเรยี นสายวิชาชพี หอ้ งเรยี นการศึกษานอกระบบ / ตามอธั ยาศยั ข้าพเจา้ ขอแสดงเจตจานงในการจดั ทาข้อตกลงในการพัฒนางาน ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ - ซึ่งเป็นตาแหนง่ ท่ี ดารงอยู่ในปัจจุบันกบั ผ้อู านวยการสถานศึกษา ไว้ดงั ต่อไปน้ี ส่วนท่ี 1 ขอ้ ตกลงในกำรพัฒนำงำนตำมมำตรฐำนตำแหนง่ ภำคเรียนที่ 2 ปีกำรศึกษำ 2564 1. ภาระงาน จะมภี าระงานเป็นไปตามที่ ก.ค.ศ. กาหนด 1.1 ชว่ั โมงสอนตามตารางสอน รวมจานวน 20 ชวั่ โมง/สปั ดาห์ ดงั นี้ กลุ่มสาระการเรียนร้/ู รายวิชา คณติ ศาสตร์พืน้ ฐาน จานวน 15 ชวั่ โมง/สปั ดาห์ ชมุ นุมเกมคณติ ศาสตร์ จานวน 1 ชั่วโมง/สปั ดาห์ ลูกเสอื -เนตรนารี จานวน 1 ช่วั โมง/สัปดาห์ กจิ กรรมสังคมและสาธารณประโยชน์ จานวน 1 ชว่ั โมง/สปั ดาห์ 1.2 งานสง่ เสริมและสนบั สนุนการจดั การเรยี นรู้ จานวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ 1.3 งานพัฒนาคุณภาพการจดั การศกึ ษาของสถานศึกษา จานวน 1 ชว่ั โมง/สปั ดาห์ 1.4 งานตอบสนองนโยบายและจุดเน้น จานวน ช่ัวโมง/สปั ดาห์

ภำคเรยี นท่ี 1 ปกี ำรศกึ ษำ 2565 (คำดกำรณ์) 1. ชั่วโมงสอนตามตารางสอน รวมจานวน 20 ชั่วโมง/สปั ดาห์ ดังน้ี กลุ่มสาระการเรยี นร/ู้ รายวชิ า คณิตศาสตร์พนื้ ฐาน จานวน 15 ชวั่ โมง/สปั ดาห์ ชว่ั โมง/สัปดาห์ ชมุ นมุ เกมคณติ ศาสตร์ จานวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ ชวั่ โมง/สัปดาห์ ลกู เสือ-เนตรนารี จานวน 1 ชว่ั โมง/สัปดาห์ ชั่วโมง/สัปดาห์ กิจกรรมสงั คมและสาธารณประโยชน์ จานวน 1 ชว่ั โมง/สัปดาห์ 1.2 งานส่งเสริมและสนบั สนุนการจดั การเรยี นรู้ จานวน 1 1.3 งานพฒั นาคุณภาพการจดั การศกึ ษาของสถานศึกษา จานวน 1 1.4 งานตอบสนองนโยบายและจดุ เนน้ จานวน 2. งานที่จะปฏิบตั ิตามมาตรฐานตาแหนง่ ครู ( ใหร้ ะบุรำยละเอยี ดของงำนท่ีจะปฏิบตั ิในแต่ละด้ำน วำ่ จะดำเนินกำรอย่ำงไร โดยอำจระบรุ ะยะเวลำทีใ่ ชใ้ นกำรดำเนนิ กำรดว้ ยก็ได้ ) ตวั ชี้วัด (Indicators) งำน (Tasks) ผลลัพธ์ (Outcomes) ทจี่ ะเกิดข้ึนกบั ผู้เรยี น ลักษณะงำนท่ีปฏบิ ตั ิ ทจี่ ะดาเนนิ การพัฒนา ของงานตามข้อตกลงท่ี ท่แี สดงให้เหน็ ถึงการ ตำมมำตรฐำนตำแหนง่ ตามข้อตกลง ใน 1 รอบการประเมิน คาดหวงั ให้เกิดข้ึน กับ เปลยี่ นแปลงไปในทางท่ี (โปรดระบุ) ผ้เู รียน (โปรดระบุ) ดีขนึ้ หรอื มีการพัฒนา มากขน้ึ หรือผลสมั ฤทธ์ิ สงู ข้ึน (โปรดระบุ) 1. ดำ้ นกำรจัดกำรเรยี นรู้ 1. วิเคราะหห์ ลกั สตู รและจัดทาหนว่ ย 1. ผ้เู รยี นเกดิ การเรียนรู้และ 1. ผู้เรียนร้อยละ 70 มี ลักษณะงานท่ีเสนอให้ การเรยี นรู้จากมาตรฐานการเรียนรู้ สนุกสนานในการร่วม ส่วนรว่ มในการจัด ครอบคลุมถงึ การสรา้ งและ ตวั ชี้วัดนาไปจดั ทาหน่วยการเรยี นรู้ที่ กจิ กรรมการเรยี นการสอน กิจกรรมการเรียนการ หรือพัฒนาหลักสูตรการ สอดคลอ้ งกบั มาตรฐานการเรียนร้แู ละ และบรรลุผลตามมาตรฐาน สอนแบบ Active - ออกแบบการจัดการเรียน ตัวชว้ี ัด และตัวชว้ี ัดทก่ี าหนด Learning รู้การจัดกิจกรรมการเรียน 2. จดั ทาแผนการจัดการเรยี นรู้โดยใช้ 2. ผเู้ รยี นมีคุณลักษณะอนั 2. ผ้เู รียนรอ้ ยละ 70 มี รู้การสร้างและหรือพัฒนา กระบวนการเรยี นรู้ทห่ี ลากหลายตรง พึงประสงค์ คุณลักษณะอันพึง สื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยี กบั ความแตกต่างระหวา่ งบุคคล ประสงคส์ งู กว่าที่ และแหล่งเรียนรู้ การวัด โรงเรยี นกาหนด และประเมนิ ผลการจัดการ

ตัวช้วี ัด (Indicators) งำน (Tasks) ผลลพั ธ์ (Outcomes) ทจี่ ะเกิดขึน้ กับผู้เรียน ลักษณะงำนที่ปฏิบัติ ท่จี ะดาเนินการพฒั นา ของงานตามข้อตกลงท่ี ทแ่ี สดงใหเ้ ห็นถึงการ ตำมมำตรฐำนตำแหน่ง ตามข้อตกลง ใน 1 รอบการประเมนิ คาดหวังให้เกิดขนึ้ กับ เปลย่ี นแปลงไปในทางที่ (โปรดระบุ) ผ้เู รียน (โปรดระบุ) ดีขน้ึ หรือมีการพัฒนา มากขนึ้ หรือผลสัมฤทธ์ิ สูงขึ้น (โปรดระบ)ุ เรียนรกู้ ารศึกษา วเิ คราะห์ 3. จัดทาแบบฝกึ เสรมิ ทักษะ/สื่อการ 3. ผูเ้ รยี นเกดิ การพัฒนา 3. ผู้เรยี นร้อยละ 70 สังเคราะห์ เพื่อแก้ปัญหา สอนท่มี าจากปัญหาการเรยี นรขู้ อง ทักษะการคิดและกระบวน สามารถคดิ และกระบวน หรือพัฒนาการเรียนรู้ การ ผเู้ รยี นทีต่ รงกับความต้องการตาม การคิดคานวณ ทาง การคดิ คานวณทาง จัดบรรยากาศท่ีส่งเสริม ความแตกต่างระหว่างบุคคลท่ี คณติ ศาสตร์ได้ถูกต้อง คณิตศาสตร์และนาไป และพัฒนาผู้เรียนและการ สอดคลอ้ งกบั การวดั ผลประเมินผลและ ประยุกต์ใชใ้ นชวี ิต อ บ ร ม แ ล ะ พั ฒ น า คุ ณ วจิ ยั เพอ่ื พัฒนาผู้เรียน ประจาวนั ได้ถูกต้อง ลกั ษณะท่ดี ีของผเู้ รียน 4. จัดบรรยากาศในการจดั กจิ กรรม 4. ผูเ้ รยี นเกิดความพึงพอใจ 4. ผเู้ รยี นรอ้ ยละ 70 มี การเรยี นการสอนโดยใชก้ ารจัดการ ตอ่ การเรียนวิชาคณิตศาสตร์ ความพึงพอใจตอ่ การ เรยี นรู้แบบ Active Learning เน้นให้ มากย่งิ ขนึ้ และมีสว่ นร่วมใน เรียนวชิ าคณิตศาสตร์ นกั เรียนเรยี นรโู้ ดยการปฏบิ ัติจรงิ ใช้ส่ือ การจดั กิจกรรมการเรียน มากและมีสว่ นร่วมใน ใกล้ตวั อยา่ งหลากหลาย โดยผู้เรยี นมี การสอนรูปแบบ Active การจัดกิจกรรมการเรยี น สว่ นร่วมเพ่อื ใหน้ ่าสนใจทเ่ี อ้ือตอ่ การ Learning การสอนรปู แบบ เรยี นรู้ของผเู้ รียน Active Learning 5. ปรับประยกุ ต์รปู แบบการสอน ผู้เรยี นสามารถเรยี นรผู้ า่ น 5. ผูเ้ รยี นรอ้ ยละ 60 ออนไลนโ์ ดยใชก้ ารเรียนรูแ้ บบ On การจัดการเรยี นการสอนใน รว่ มในกิจกรรมการเรยี น Line On Hand On Demand ผ่าน รปู แบบ On Line , On การสอนแบบ แอฟพลิเคช่ันตา่ งๆเพื่อใช้ในการจดั Hand , On Demand โดย On Line , On Hand , กจิ กรรมการเรียนการสอนในช่วง การใช้แอฟพลเิ คชน่ั ต่าง ๆ On Demand ผ่านแอฟ สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโด ในการจดั การเรียนรู้ พลิเคช่นั ต่าง ๆ เป็น วิด 2019 อย่างดี 6. ฝกึ ฝนความเป็นระเบยี บวินัย/การ ผเู้ รยี นมีระเบียบวนิ ยั พร้อม 6. ผเู้ รียนร้อยละ 60 มี อบรมคุณธรรม จริยธรรมจากการใช้ ทั้งมคี ุณธรรม จรยิ ธรรมใน ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน ทกั ษะชวี ิต โดยการแลกเปล่ยี นเรียนรู้ การดารงชีวิต วิชาคณิตศาสตรส์ ูงขึ้น

ลกั ษณะงำนท่ีปฏิบัติ งำน (Tasks) ผลลัพธ์ (Outcomes) ตัวชว้ี ัด (Indicators) ตำมมำตรฐำนตำแหนง่ ที่จะดาเนินการพัฒนา ของงานตามข้อตกลงท่ี ทจี่ ะเกิดขึ้นกบั ผเู้ รยี น ตามข้อตกลง ใน 1 รอบการประเมิน คาดหวังให้เกดิ ขนึ้ กับ ที่แสดงใหเ้ หน็ ถึงการ 2. ดำ้ นกำรสง่ เสรมิ และ เปล่ยี นแปลงไปในทางท่ี สนับสนนุ กำรจัดกำร (โปรดระบ)ุ ผเู้ รยี น (โปรดระบ)ุ ดีขนึ้ หรือมีการพัฒนา เรยี นรู้ มากขนึ้ หรือผลสัมฤทธิ์ 1. จดั ทารายงานข้อมูลสารสนเทศ 1. ผเู้ รยี นใช้ข้อมูล สงู ขน้ึ (โปรดระบ)ุ ลักษณะงานท่ีเสนอให้ ผเู้ รียนรายบุคคลและข้อมูลรายวิชาท่ี สารสนเทศตรวจสอบและ 1. ผเู้ รียนรอ้ ยละ 80 ได้ ค ร อ บ ค ลุ ม ถึ ง ก า ร จั ด ท า สอนผา่ นระบบออนไลน์ Line รายงานผลระบบดูแล ใช้ประโยชนจ์ าก ข้อมูลสารสนเท ศ ข อ ง Meetting หรอื Zoom Meetting ช่วยเหลอื ผูเ้ รยี นผ่านระบบ สารสนเทศในระบบดแู ล ผู้เรียนและรายวิชาการ หรือใช้โปรแกรมแบบ ปพ.5 School Health hero ของ ชว่ ยเหลือผเู้ รียนด้วย ดาเนินการตามระบบดูแล ตนเอง หรือ โปรแกรมแบบ ระบบ School Health ช่ว ยเหลือผู้เรียน การ 2. การออกเยยี่ มบ้าน คัดกรองนักเรยี น ปพ.5 hero หรือโปรแกรม ปฏิบัติงานวิชาการ และ รวมไปถึงผูป้ กครองเข้ามามสี ่วนร่วมใน แบบ ปพ.5 งานอ่ืน ๆ ของสถานศึกษา การใหค้ วามช่วยเหลอื ตามระบบดแู ล 2. ผเู้ รียนและผปู้ กครองมี และการประสานความ ชว่ ยเหลือผู้เรยี น สว่ นรว่ มกบั ครผู ูส้ อนในการ 2. ครูผู้ปกครองและผู้ที่ ร่วมมือกับผู้ปกครองภาคี แกไ้ ขปญั หาผเู้ รียนในด้าน เก่ยี วขอ้ งร้อยละ 70 เครือข่าย และหรือสถาน 3. ปฏบิ ตั ิหน้าทง่ี านฝ่ายบริหารงาน การเรียนรู้และระบบดแู ล สามารถรบั รูค้ วามกา้ ว ประกอบการ วชิ าการ งานฝ่ายบรหิ ารทั่วไปและ ชว่ ยเหลือผู้เรียนรายบุคคล หน้าพฒั นาการของ หัวหน้าฝ่ายงานวัดผลและประเมนิ ผล ผเู้ รยี นและสามารถ 3. ด้ำนกำรพฒั นำตนเอง หรืองานอนื่ ๆ ท่ไี ด้รบั มอบหมาย 3. ผ้เู รยี นไดร้ ับการ ช่วยเหลือนักเรยี นได้ และวิชำชพี 1. การเขา้ ร่วมการอบรม/การประชมุ ช่วยเหลือเมอื่ เกดิ ปัญหาใน อย่างท่วั ถึง รูปแบบต่าง ๆ ทั้งแบบ On Line และ ระบบดูแลช่วยเหลอื ผ้เู รียน 3. ผเู้ รยี นรอ้ ยละ 100 ลักษณะงานท่ีเสนอให้ แบบเข้ารว่ มอบรม ท่ีสามารถนา เช่น การแนะแนว ได้รับการคัดกรอง ครอบคลุมถึงการพัฒนา ความรมู้ าพฒั นาการจดั การศึกษาให้ 1. นาทกั ษะและองคค์ วามรู้ ชว่ ยเหลือ 90% มาบูรณาการสอดแทรกใน เนื้อหาสาระวิชาในการ 1. ผู้เรียนร้อยละ 60 มี จดั การเรยี นรู้หรอื ปรบั ผลสัมฤทธิร์ ายวชิ า คณิตศาสตร์ในระดับ คณุ ภาพ 3 ข้ึนไป

ลักษณะงำนท่ีปฏิบตั ิ งำน (Tasks) ผลลพั ธ์ (Outcomes) ตัวชว้ี ัด (Indicators) ตำมมำตรฐำนตำแหน่ง ทีจ่ ะดาเนนิ การพฒั นา ของงานตามขอ้ ตกลงที่ ทจี่ ะเกิดขน้ึ กับผู้เรียน ตามข้อตกลง ใน 1 รอบการประเมิน คาดหวังให้เกิดข้นึ กบั ทแี่ สดงใหเ้ หน็ ถึงการ เปลยี่ นแปลงไปในทางที่ (โปรดระบ)ุ ผเู้ รยี น (โปรดระบุ) ดีข้ึนหรือมีการพฒั นา มากขึน้ หรือผลสัมฤทธ์ิ ตนเองอย่างเป็นระบบและ ทนั กับการเปลีย่ นแปลงในสถานการณ์ ประยกุ ตแ์ ละพฒั นา สูงขึน้ (โปรดระบุ) ต่อเน่ือง การมีส่วนร่วมใน ปัจจุบนั นวตั กรรมการเรยี นรใู้ ห้ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทาง สอดคลอ้ งกบั ความแตกต่าง 2. ผู้เรียนร้อยละ 60 วิ ช า ชี พ เ พื่ อ พั ฒ น า ก า ร ระหว่างบุคคล ไดร้ ับการพฒั นาทักษะ จัดการเรียนรู้และการนา 2. การทากจิ กรรมชุมชนแห่งการ 2. รว่ มกิจกรรมชุมชนการ การคิด คานวณ จาก ค ว า ม รู้ ค ว า ม ส า ม า ร ถ เรียนรู้ทางวชิ าชพี กบั กลุ่มสาระอน่ื ๆ เรียนรทู้ างวชิ าชพี นวัตกรรมท่ีครูผสู้ อน ทักษะท่ีได้จากการพัฒนา เพ่อื แลกเปลย่ี นเรยี นรู้ปญั หาการ แลกเปลย่ี นปัญหาในการ ประยกุ ต์ใช้ เชน่ ชดุ แบบ ตนเองและวิชาชีพมาใช้ใน เรียนรขู้ องผเู้ รยี นในแต่ละชนั้ ที่ จัดการเรยี นการสอนของ ฝึกนอกเวลา เป็นต้น การพัฒนาการจั ด การ รับผดิ ชอบ ผู้เรยี นท่หี ลากหลาย เรียนรู้ การพัฒนาคุณภาพ ผู้เรียน และการพัฒนา 3. นกั เรียนที่มปี ญั หาในการ 3. นกั เรียนรอ้ ยละ 100 น วั ต ก ร ร ม ก า ร จั ด ก า ร เรียนรู้ เรียนรูไ้ ด้รับการแก้ไขด้วย ของกลุ่มนกั เรียนทมี่ ี 3. มีส่วนในการเปน็ เข้าร่วมชุมชนการ สื่อ นวัตกรรมท่ีไดจ้ ากการ ปญั หาในการเรยี นรู้ มีผล เรียนรทู้ างวชิ าชีพ กลมุ่ สาระการ เรียนร้คู ณิตศาสตร์ ในการแลกเปลีย่ น เขา้ รว่ มชมุ ชนการเรียนรู้ทาง การเรียนรู้ผ่านเกณฑ์ที่ เรียนรทู้ างวิชาชพี ผ่านกจิ กรรมนเิ ทศ การจดั การเรยี นรู้ และนาผลจากการ วิชาชพี หรือ PLC กาหนด ประชมุ PLC ไปสรา้ งเป็นส่ือ นวัตกรรม เพื่อนามาใชใ้ นการพฒั นา คณุ ภาพผ้เู รียน หรือแก้ไขนกั เรียนท่ีมี ผลการเรียนรูไ้ ม่ผ่านเกณฑ์ทก่ี าหนด

หมำยเหตุ 1. รูปแบบการจัดทาขอ้ ตกลงในการพฒั นางาน. ตามแบบใหเ้ ป็นไปตามบริบท และสภาพการจัดการเรยี นรู้ของ แตล่ ะสถานศกึ ษา โดยความเห็นชอบรว่ มกันระหวา่ งผูอ้ านวยการสถานศึกษา และข้าราชการครูผูจ้ ดั ทาข้อตกลง 2. งาน (Tasks) ท่ีเสนอเป็นข้อตกลงในการพัฒนางาน ต้องเป็นงานในหน้าท่ีความรับผิดชอบหลักท่ีส่งผล โดยตรงต่อผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน และให้นาเสนอรายวิชาหลักท่ีทาการสอน โดยเสนอในภาพรวม ของรายวิชา หลักท่ที าการสอนทกุ ระดับช้นั ในกรณที สี่ อนหลายรายวิชา สามารถเลือกรายวิชาใดวิชาหนึง่ ได้ โดยจะตอ้ งแสดงให้เห็น ถงึ การปฏิบตั งิ านตามมาตรฐานตาแหน่ง และคณะกรรมการประเมินผลการพัฒนางาน ตามข้อตกลงสามารถประเมินได้ ตามแบบการประเมนิ PA 2 3. การพัฒนางานตามข้อตกลง ตามแบบ PA 1 ให้ความสาคัญกับผลลัพธ์การเรยี นรู้ ของผู้เรียน (Outcomes) และตัวชี้วัด (Indicators) ที่เป็นรูปธรรม และการประเมินของคณะกรรมการประเมิน ผลการพัฒนางานตามข้อตกลง ใหค้ ณะกรรมการดาเนนิ การประเมนิ ตามแบบ PA 2 จากการปฏิบตั ิงานจรงิ สภาพการจดั การเรียนรู้ในบรบิ ทของแต่ละ สถานศึกษา และผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียนท่ีเกิดจากการพัฒนางานตามข้อตกลงเป็นสาคัญ โดยไม่เน้นการประเมิน จากเอกสาร ส่วนที่ 2 ข้อตกลงในกำรพัฒนำงำนท่เี ปน็ ประเดน็ ท้ำทำยในกำรพัฒนำผลลัพธ์กำรเรียนรู้ของผเู้ รียน ประเด็นท่ีท้าทายในการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน ของผู้จัดทาข้อตกลง ซ่ึงปัจจุบันดารง ตาแหน่งครู ( ยังไม่มีวิทยฐานะ ) ต้องแสดงให้เห็นถึงระดับการปฏิบัติที่คาดหวัง คือ กำรปรับประยุกต์ การ จัดการเรียนรู้และการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีข้ึนหรือมีการ พัฒนามากข้นึ ( ทงั้ น้ี ประเดน็ ท้าทายอาจจะแสดงใหเ้ ห็นถึงระดับการปฏบิ ตั ทิ ค่ี าดหวังท่ีสงู กวา่ ได้ ) ประเดน็ ท้ำทำย เร่อื ง การพัฒนาทักษะการคดิ คานวนและกระบวนการทางคณิตศาสตรโ์ ดยใช้แบบฝึก เสรมิ ทักษะ 1. สภำพปัญหำของผูเ้ รยี นและกำรจัดกำรเรยี นรู้ สภาพปญั หาของผเู้ รียนด้านคณติ ศาสตร์ ยังพบปญั หาอยา่ งมากในการคิดคานวณให้ถูกต้องตามหลักการทาง คณิตศาสตร์ ซึ่งผู้เรียนขาดทักษะพ้ืนฐานสาคัญในการคิดคานวณและทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ใน การแก้ปัญหาโจทย์คณิตศาสตร์ผิดบ่อยคร้ังจึงส่งผลให้ผู้เรียนไม่สามารถคิดคานวณโจทย์คณิตศาสตร์ที่ กาหนดให้ได้เท่าท่ีควร ซ่ึงแนวทางการจัดการเรียนการสอนแบบเดิมยังไม่ส่งผลให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ เท่าที่ควร เน่ืองมาจากบริบทของสิ่งแวดล้อม การเข้าถึงส่ือ/เทคโนโลยีของผู้เรียนค่อนข้างไม่ครอบคลุม จึง ส่งผลให้การจัดการเรียนรู้ต่อผู้เรียนยังไม่เป็นไปตามเป้าหมาย ดังนั้น เพ่ือให้เกิดการพัฒนาทักษะการคิด คานวณและทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ท่ีดีข้ึน ครูผู้สอนจึงใช้วิธีการประยุกต์จากเทคโนโลยีด้วยแบบ

ฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตรแ์ ละการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนในรปู แบบ Active Learning ซ่ึงนวัตกรรมที่ นามาปรับประยุกต์ใช้ในการพัฒนาความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ ควรมีลักษณะเร้าความ สนใจของผู้เรียนท้าทายความสามารถ เข้าใจง่าย มีภาพ ประกอบ วางรูปแบบสวยงามและสามารถฝึกได้ด้วย ตนเอง อันจะส่งผลให้นักเรียนได้พัฒนาทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์และประยุกต์ความรู้ไปใช้ใน ชีวิตประจาวนั ได้ แบบฝกึ ทักษะมีความสาคญั และมปี ระโยชน์ต่อการเรียนการสอนวิชาท่ีเป็นทกั ษะมาก เพราะ เป็นอุปกรณ์ช่วยลดภาระของครู ช่วยให้นักเรียนได้ฝึกทักษะให้ดีขึ้น ส่งเสริมในเร่ืองความแตกต่างระหว่าง บุคคล ทาให้นักเรียนประสบผลสาเรจ็ ในทางจติ ใจมากข้ึน ช่วยเสรมิ ทักษะการคิดคานวณใหค้ งทน รวมทั้งเป็น เคร่ืองมือวัดผลการเรียนหลังจากเรียนบทเรียนแล้ว ตลอดจนนักเรียนสามารถทบทวนได้ด้วยตนเอง ทาให้ครู มองเห็นปัญหาต่าง ๆ ของนักเรียนได้ชัดเจน นักเรียนสามารถฝึกฝนได้เต็มท่ีนอกเหนือจากที่เรียนในเวลาเรียน ซ่ึงทาให้ผู้เรียนเห็นความก้าวหน้าของตนเอง เพ่ือให้กิจกรรมมีความหลากหลาย ส่งผลให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ สามารถนาไปประยุกต์ใช้ได้ อีกท้ังยังเป็นการกระตุ้นให้ผู้เรียนฝึกฝนทักษะได้ทุกเวลาจากเทคโนโลยีซ่ึงทาให้ กิจกรรมนา่ สนใจมากย่งิ ข้ึน 2. วธิ ีกำรดำเนินกำรใหบ้ รรลุผล พัฒนาแบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์กับการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ด้วยการให้ นักเรียนได้มีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ด้วยการฝึกทักษะทางคณิตศาสตร์ ในรายวิชา คณิตศาสตรพ์ ้ืนฐาน ครผู ู้สอนตดิ ตามความกา้ วหน้าจากการทาแบบฝึกเสริมทักษะ โดยพิจารณาจากทักษะการ แก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ให้ถูกต้อง และในระหว่างการพัฒนา ครูผู้สอนนาปัญหาที่เกิดข้ึนกับผู้เรียนมา แลกเปล่ียนเรียนรู้กับผู้บริหาร ครูผู้สอนต่างกลุ่มสาระการเรียนรู้เพื่อที่จะหาแนวทางในการพัฒนาผู้เรียนให้ เป็นไปตามท่ีกาหนดไว้ ลักษณะของกำรจดั กำรเรยี นกำรสอนแบบ Active Learning เปน็ ดงั น้ี 1. เป็นการเรยี นการสอนท่ีพัฒนาศกั ยภาพทางสมอง ได้แก่ การคิด การแก้ปัญหา และการนาความรู้ ไปประยุกต์ใช้ 2. เปน็ การเรียนการสอนทเี่ ปิดโอกาสใหผ้ ู้เรยี นมีส่วนร่วมในกระบวนการเรยี นรสู้ งู สดุ 3. ผ้เู รียนสรา้ งองคค์ วามรู้และจัดกระบวนการเรียนรูด้ ว้ ยตนเอง 4. ผเู้ รียนมสี ว่ นร่วมในการเรยี นการสอนทั้งในดา้ นการสร้างองค์ความรู้ การสร้างปฏิสัมพันธร์ ว่ มกัน ร่วมมอื กันมากกว่าการแข่งขัน 5. ผู้เรียนเรียนรู้ความรบั ผิดชอบรว่ มกนั การมีวินัยในการทางานและการแบง่ หน้าทคี่ วามรบั ผดิ ชอบ 6. เป็นกระบวนการสรา้ งสถานการณใ์ ห้ผู้เรยี นอ่าน พูด ฟงั คดิ อย่างลมุ่ ลึก ผู้เรียนจะเปน็ ผู้จดั ระบบ การเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง

7. เปน็ กิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นทักษะการคิดข้นั สงู 8. เปน็ กิจกรรมทเ่ี ปิดโอกาสใหผ้ ู้เรียนบรู ณาการข้อมูลข่าวสารหรอื สารสนเทศและหลักการความคิด รวบยอด 9. ผสู้ อนจะเปน็ ผู้อานวยความสะดวกในการจดั การเรียนรู้ เพื่อใหผ้ เู้ รยี นเป็นผปู้ ฏิบตั ิดว้ ยตนเอง 10. ความรูเ้ กดิ จากประสบการณ์ การสร้างองค์ความรู้และการสรปุ ทบทวนของผู้เรยี น 3. ผลลัพธก์ ำรพัฒนำท่คี ำดหวัง 3.1 เชงิ ปริมาณ ผู้เรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านท่าอาจ จานวน 23 คน ร้อยละ 70 ท่ีเรียนในรายวิชา คณิตศาสตร์พนื้ ฐานมผี ลการพัฒนาทักษะการเขยี นท่ีถูกต้องและผลสัมฤทธ์ิเพ่ิมสูงขึน้ 3.2 เชิงคณุ ภาพ การปรับประยุกต์/เทคนิค/ส่ือการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดคานวณและทักษะ กระบวนการทางคณิตศาสตร์ กับเทคนิคการสอนแบบ Active Learning รายวิชาคณิตศาสตร์ พนื้ ฐาน โดยใชแ้ บบฝึกเสรมิ ทกั ษะในการพฒั นาผ้เู รยี นใหเ้ กิดการเรยี นรู้ ลงชอื่ ................................................... ( นายดนยั พนั ธ์พนมไพร ) ตาแหนง่ ครู ผูจ้ ัดทาข้อตกลงในการพฒั นางาน ......./......./.......

ควำมเห็นของผู้อำนวยกำรสถำนศึกษำ ( ) เหน็ ชอบใหเ้ ป็นข้อตกลงในการพฒั นางาน ( ) ไม่เห็นชอบให้เป็นข้อตกลงในการพัฒนางาน โดยมีข้อเสนอแนะเพ่ือนาไปแก้ไข และเสนอเพื่อ พิจารณาอกี ครง้ั ดงั นี้ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอ่ื ................................................................... ( นายกิชสณพนธ์ เฉลิมวิสตุ ม์กลุ ) ตาแหนง่ ผูอ้ านวยการโรงเรียนบ้านทา่ อาจ ......./......./........


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook