Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คิงบุคล่าสุดทดลองแบบเสร็จ

คิงบุคล่าสุดทดลองแบบเสร็จ

Published by earnkung2546, 2021-02-27 15:22:11

Description: คิงบุคล่าสุดทดลองแบบเสร็จ

Search

Read the Text Version

พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจา้ อยหู่ วั พระราชประวตั ิ พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นพระราชโอรส พระองคเ์ ดียวในพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร และสมเด็จพระนางเจ้าสิรกิ ิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง เสด็จพระราชสมภพ ณ พระที่น่ัง อัมพรสถาน พระราชวังดุสิต เม่ือวันจันทร์ที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2495 ได้รับพระราชทานพระนามว่า สมเด็จพระเจ้าลูกยา เธอ เจ้าฟ้าวชิราลงกรณ ขึ้นทรงราชย์เป็นพระมหากษัตริย์ รัชกาลใหม่ ต้ังแต่วันท่ี 13 ตุลาคม 2559 ตามบทบัญญัติของ รัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย (ฉบบั ช่ัวคราว) พระราชกรณยี กจิ ครั้งดารงตาแหน่งสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ในด้านการสาธารณสุข โปรดให้ สร้างโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชขึ้น เพื่อให้การ รักษาพยาบาลผู้เจ็บป่วยในถ่ินทุรกันดาร พระองค์ ทรงเป็นองค์นายกกิตติมศักด์ิของมูลนิธิโรงพยาบาล สมเดจ็ พระยุพราช เมือ่ วนั ที่ 11 สงิ หาคม พ.ศ. 2560 พระราชทานเงนิ จานวน 100 ล้านบาท ซึ่งเป็นรายได้จากการจาหน่ายสมุดไดอารี่ภาพการ์ตูนฝีพระหัตถ์ เพ่ือสมทบทุนสร้างอาคาร นวมินทรบพิตร 84 พรรษา โรงพยาบาลศิริราช คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหดิ ลทางการแพทย์ 01

สมเด็จพระนางเจา้ สิรกิ ติ ิ์ พระบรมราชนิ ีนาถ พระบรมราชชนนพี ันปหี ลวง พระราชประวัติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราช ชนนีพันปีหลวง ทรงมีพระนามเดิมว่า หม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ กิ ติ ย า ก ร ซ่ึ ง พ ร ะ น า ม \" สิ ริ กิ ต์ิ \" ไ ด้ รั บ พ ร ะ ร า ช ท า น จ า ก พระบาทสมเด็จพระปกเกลา้ เจ้าอยู่หัว มีความหมายว่า \"ผู้เป็นศรี แห่งกิติยากร“ วันท่ี 5 ธันวาคม พ.ศ. 2499 อันเป็นปีที่ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมีพระราช ประสงค์จะผนวชเป็นพระภิกษุ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ิ พระบรมราชินีเป็นผู้สาเร็จ ราชการแทนพระองคใ์ นระหวา่ งท่ีผนวชและทรงพระราชดาริว่า สมเดจ็ พระนางเจา้ สริ กิ ติ ิ์ พระบรม ราชินีได้ทรงดารงตาแหน่งผู้สาเร็จราชการแทนพระองค์ในระหว่างท่ีผนวชและ ไดปฏิบัติพระราช ภารกิจแทนพระองค์ด้วยพระปรีชา จึงทรงกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เฉลิมพระนามาภิไธย สมเด็จพระนาง เจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชนิ วี า่ สมเด็จพระนางเจ้าสริ กิ ิต์ิ พระบรมราชินีนาถ พระราชกรณยี กจิ ปฏิบัติพระราชภารกิจมากมาย โดยเฉพาะอย่างในการส่งเสริม คณุ ภาพชีวิต อาชีพ และความเปน็ อย่ขู องบคุ คลผู้ยากไร้ และประชาชน ใน ชนบทห่างไกลในแผ่นดินไทยนี้โครงการที่มีสาขาขยายกว้างขวาง ไปทั่วประเทศโครงการหนึ่งก็คือ โครงการส่งเสรมิ ศิลปาชีพ ภายหลัง ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้ก่อต้ัง เป็นรูปมูลนิธิ พระราชทานนาม ว่า \"มูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพพิเศษในพระบรม ราชินูปถัมภ์ และเม่ือ พ.ศ. 2528 ได้เปล่ียนช่ือ เป็น มูลนิธิ ส่งเสริมศิลปาชีพในสมเด็จพระ นางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ เป็นการสง่ เสริมอาชีพและ อนุรักษ์ และส่งเสริมงานศิลปะ พ้ืนบ้านท่ีมีความงดงามหลายสาขา เช่น การปน้ั การทอ การจกั สาน เปน็ ต้น 02

พระบาทสมเดจ็ พระปินเกลา้ เจา้ อยูห่ วั พระราชประวัติ พระบาทสมเด็จพระป่ินเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติเมื่อวันท่ี 4 กันยายน พ.ศ. 2351 ทรงเป็นพระราชโอรสองค์ที่ 50 ของ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย พระราชมารดา คือ สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี มีพระนามเดิมว่า เ จ้ า ฟ้ า จุ ฑ า ม ณี ห รื อ เ ป็ น ท่ี รู้ จั ก อ ย่ า ง ดี คื อ เ จ้ า ฟ้ า น้ อ ย พระองค์ทรงเป็นพระอนุชาของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ พระองค์ท่ี 2 ในรัชกาลของ พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ จ อ ม เ ก ล้ า เ จ้ า อ ยู่ หั ว รั ช ก า ล ท่ี 4 ทรงได้รับพระบวรราชาภิเษกเป็นพระเจ้าแผ่นดิน เมื่อวันอาทิตย์ท่ี 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2391 เมื่อทรงมีพระชนมพรรษาได้ 43 พรรษา พระราชกรณียกจิ พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงใฝ่พระราชหฤทัยในวิชาการด้านจักรกลมากเหตุ ท่ี พ ร ะ อ ง ค์ โ ป ร ด ก า ร ท ห า ร ท า ใ ห้ จึ ง ส น พ ร ะ ร า ช ห ฤ ทั ย เ กี่ ย ว กั บ อ า วุ ธ ยุ ท ธ ภั ณ ฑ์ เ ป็ น พิ เ ศ ษ เท่าที่ค้นพบพระบรมฉายาลักษณ์ของพระองค์นั้นมักจะ ทรงฉลองพระองค์เคร่ืองแบบทหาร และ เป็นเครื่องแบบทหารเรือด้วย แต่เป็นท่ีน่าเสียดายว่าไม่มีการบันทึกพระราชประวัติในส่วนท่ีทรง สร้างหรือวางแผนงานเกี่ยวกับกิจการทหารใดๆไว้บ้างเลยแม้ในพระราชพงศาวดา หรือใน จดหมายเหตุต่าง ๆ ก็ไม่มีการบันทึกผลงานพระราชประวัติในส่วนน้ีเลย แม้พระองค์เองก็ไม่โปรด การบันทกึ ไมม่ พี ระราชหัตถเลขา แตถ่ ึงกระน้นั ก็ยงั มงี านเด่นทีม่ หี ลกั ฐานทั้งของฝรง่ั และไทยกลา่ ว ไวแ้ ม้จะนอ้ ยนิดแต่กแ็ สดงใหเ้ หน็ ถึงการริเรมิ่ ท่ีลา้ หนา้ กวา่ ประเทศเพ่อื นบ้าน 03

กรมพระราชวงั บวรวิไชยชาญ พระราชประวตั ิ เป็นพระราชโอรสพระองค์ใหญ่ใน “พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้า เจ้าอยู่หัว” เม่ือแรกประสูติพระองค์มีพระอิสริยยศที่ \"หม่อมเจ้า\" โดย พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว พระราชทานพระนามว่า \"ยอร์ช วอชิงตัน \" ต่อมาพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระราชทานพระนามให้ใหมว่ ่า \"พระองคเ์ จ้ายอดยิ่งยศ บวรราโชรสรัตน ราชกุมาร\" และได้รับการสถาปนาเป็นพระองค์เจ้าต่างกรมท่ีกรมหม่ืน บวรวิไชยชาญ เมื่อปี 2404 แลได้รับพระราชทานอุปราชาภิเษกเป็น “กรมพระราชวังบวรสถานมงคล” ในรชั สมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเมื่อปลายสมัย พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ก่อนท่ีจะสวรรคต 1 วัน ได้มีการประชุมพระญาติวงศ์และขุน นาง ที่ประชุมจึงตกลงท่ีจะแต่งตั้ง กรมหม่ืนบวรวิไชยชาญเป็น “กรมพระราชวังบวรสถานมงคล” ตามคาเสนอของพระเจ้าน้องยาเธอ กรมหลวงเทเวศรว์ ัชรนิ ทร์ พระราชกรณยี กจิ ก ร ม พ ร ะ ร า ช วั ง บ ว ร วิ ไ ช ย ช า ญ ท ร ง เ ป็ น เ จ้ า น า ย ท่ี มี ความสามารถหลายด้าน ด้านนาฏกรรม ทรงพระปรีชาเล่นหุ่นไทย หุ่นจีน เชิดหนัง และงิ้ว ด้านการช่างทรงชานาญเครื่องจักรกล ทรงต่อเรือกาป่ัน ทรงทาแผนท่ีแบบสากล ทรงสนพระทัยในแร่ธาตุ ถึ ง กั บ ท ร ง ส ร้ า ง โ ร ง ถ ลุ ง แ ร่ ไ ว้ ใ น พ ร ะ ร า ช วั ง บ ว ร ส ถ า น ม ง ค ล เ ม่ื อ พ.ศ. 2426 ทรงได้รับประกาศนียบัตรจากฝรั่งเศสในฐานะผู้เชี่ยวชาญ สาขาวิชาช่าง 04

สมเด็จพระศรีพชั รินทราบรมราชนิ นี าถ พระบรมราชชนนพี ันปหี ลวง พระราชประวตั ิ มีพระนามเดิมว่า พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าหญิงเสาวภาผ่อง ศรี เป็นพระราชธิดาลาดับที่ 66 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว ซึ่งประสูติแต่สมเด็จพระปิยมาวดีศรีพัชรินทรมาตา พระ ร า ช ส ม ภ พ เ มื่ อ วั น ท่ี 1 ม ก ร า ค ม พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2406 เมื่อมีพระชนมายุ 15 พรรษา ทรงดารงตาแหน่งพระอัครมเหสีใน พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจา้ อยูห่ วั พระราชกรณยี กิจ ทรงสนพระทัยในการพัฒนาสตรี ทรงบริจาคพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์จัดตั้งโรงเรียนสาหรับ เด็กหญิงแห่งท่ีทรงพระราชทานชื่อว่า “โรงเรียนสตรีบารุงวิชา” ในปี พ.ศ. 2447 ทรงเปิดโรงเรียน สาหรบั กุลธิดาของข้าราชสานักและบคุ คลชนั้ สูงคือ “โรงเรยี นสุนนั ทาลยั ” ใหก้ ารอบรมด้านการบา้ นการเรอื นกริ ิยามารยาท และวิชาการ ทง้ั ทรงจ่ายเงินเดอื นครแู ละคา่ ใช้สอย ต่าง ๆ สาหรับเป็นคา่ เล่าเรยี น แก่กุลบตุ รกลุ ธดิ าของข้าราชการใหญน่ ้อยและราษฎรอีกจานวนมาก ทรงบริจาคพระราชทรพั ย์สว่ นพระองค์ให้ตั้งโรงเรียน ทรงมีความห่วงใยความเจ็บไข้ได้ป่วยของราษฎร และทหาร โดยทรงสนับสนุนการก่อต้ังโรงพยาบาล ศิริราชเป็นโรงพยาบาลแห่งแรกของประเทศไทย และพระราชทานทรัพย์ส่วนพระองค์ต้ังโรงเรียน แพทยผ์ ดงุ ครรภ์ขึ้นในโรงพยาบาลแหง่ น้ีสาหรบั เปน็ สถานศึกษาวชิ าพยาบาลและผดงุ ครรภ์ 05

พระวภิ าคภูวดล การทาแผนที่แบบตะวันตกในประเทศไทย เร่ิมตั้งแต่นายแมคคาร์ทีเข้ารับราชการ ไทย ได้ใช้ หลักมูลฐานขนาดมิติทรงวงรี เอเวอเรสต์ ในการสารวจทาแผนท่ีตลอดมา ช่ือทรงวงรี \"เอเวอเรสต์\" มาจากชื่อของนายพันเอกเอเวอเรสต์ นายทหารช่างชาวอังกฤษ ผู้เปน็ หัวหน้าสถาบันการแผนท่ีอินเดยี ในสมยั ทีอ่ ินเดยี ยังขึ้นกบั อังกฤษการทาแผนท่ี ซึง่ ไดจ้ ดั ทากอ่ นสถาปนาเปน็ กรมแผนท่ีเร่ิมแรกในตอนปลาย พ.ศ. ๒๔๒๔ เป็นการสารวจสาหรับวางแนวทางสายโทรเลขระหวา่ ง กรุงเทพฯ และมะละแหม่ง (Moulmein) ผา่ นระแหง (ตาก) ในการนี้ นายแมคคาร์ทไี ดท้ าการสารวจสามเหลีย่ มเลก็ โยงยดึ กบั สายสาม เหลี่ยมของอนิ เดียทย่ี อดเขาซง่ึ อยทู่ างตะวนั ตกของระแหงไว้ 3 แหง่ งานแผนทีท่ ี่ใช้ สารวจมีการวดั ทางดาราศาสตรแ์ ละการวางหมุด หลักฐานวงรอบ (traverse) 06

พอ่ ขุนศรอี นิ ทราทติ ย์ พระราชประวตั ิ พ่อขนุ ศรีอินทราทิตย์ ทรงเป็นพระมหากษตั ริย์ รัชกาลที่ ๑ แหง่ ราชวงศ์พระรว่ งกรงุ สุโขทัย พระนามเดมิ คือพ่อขุนบางกลางหาว มีมเหสีคอื นางเสอื ง มพี ระราชโอรส ๓ พระองค์ พระราชธิดา ๒ พระองค์ พ่อขุนศรีอินทราทิตย์เมื่อคร้ังยังเป็นพ่อขุน บางกลางหาวได้ร่วมมือกับพ่อขุนผาเมือง เจา้ เมอื งราดแห่งราชวงศศ์ รีนาวนาถุมรวมกาลงั พลกันกระทารัฐประหารขอมสบาด โขลญลาพง โดยพ่อขุนบางกลางหาวตีเมืองศรีสัชนาลัยและเมืองบางขลงได้ และยกท้ังสองเมืองให้พ่อขุนผา เมือง ส่วนพ่อขุนผาเมืองตีเมืองสุโขทัยได้ก็ได้มอบเมืองสุโขทัยให้พ่อขุนบางกลางหาว พร้อมพระขรรค์ชัยศรแี ละพระนาม \"ศรีอนิ ทราทิตย์\" ซ่ึงได้นามาใช้เป็นพระนาม ภายหลังได้คลาย เป็นศรีอินทราทิตย์ การเข้ามาครองสุโขทัยของพระองค์ส่งผลให้ราชวงศ์พระร่วงเข้ามา มีอิทธิพลในเขตนครสุโขทัยเพิ่มมากข้ึนและได้แผ่ขยายดินแดนกว้างขวางมากออกไป 07

พอ่ ขุนรามคาแหงมหาราช พระราชประวัติ พอ่ ขุนรามคาแหงมหาราชเป็นพระราชโอรสของพอ่ ขุนศรีอินทราทิตย์ ปฐมกษตั ริยแ์ ห่งกรงุ สุโขทัย เม่ือพ่อขุนศรีอินทราทิตย์ทรงขจัดอิทธิพลของเขมร ออกไปจากกรุงสุโขทัยได้ในปลาย พุทธศตวรรษท่ี 18 การปกครองของกษัตริย์สุโขทัยได้ใช้ระบบปิตุ ราชา ธิปไตยหรือ \"พ่อปกครองลูก\" ดังข้อความในศิลาจารึกพ่อขุนรามคาแหงว่า “....เม่ือชั่วพ่อกู กูบาเรอแก่พ่อกู กูได้ตัวเน้ือตัวปลา กูเอามาแก่พ่อกู กูได้หมากส้มหมากหวาน อันใดกินอร่อยดี กูเอามาแก่พ่อกู กูไปตีหนังวังช้างได้ กูเอามาแก่พ่อกู กูไปท่อบ้านท่อเมืองได้ช้างได้งวง ได้ปั่วได้นาง ได้เงือน ได้ทอง กูเอามาเวนแกพ่ อ่ กู..\" พอ่ ขนุ รามคาแหงมหาราช ทรงรวมเปน็ พระมหากษตั รยิ ์ที่ทรงอจั ฉริยภาพ ทง้ั ดา้ นการปกครอง เศรษฐกิจ ศาสนาและศลิ ปวิทยาต่าง ๆ ทส่ี าคัญยงิ่ คือ พระองค์ได้ทรงประดิษฐอ์ ักษรไทยขนึ้ เม่ือประมาณ พ.ศ. ๑๘๒๖ ซ่ึงเป็นต้นกาเนดิ ของอกั ษรไทยท่ใี ชอ้ ยใู่ นปัจจบุ นั 08

พระมหาธรรมราชาท่ี 1 พระราชประวัติ ทรงเป็นพระโอรสพระยาเลอไทและพระราชนัดดา ของพ่อขุนรามคาแหงมหาราช ทรงเป็นพระมหากษัตรยิ ์ของอาณาจกั รสุโขทยั ราชวงศ์พระร่วงลาดบั ท่ี 5 เปน็ กษตั รยิ อ์ งค์ที่ 6 แหง่ กรงุ สุโขทยั ข้นึ ครองราชยต์ ่อพระยางั่วนาถม ทรงเลื่อมใสในพระพุทธศาสนามาก นโยบายการปกครองท่ีใช้ศาสนาเป็นหลักรวมความ เป็นปึกแผ่นจึงเป็นนโยบายหลักในรัชสมัยนี้ ด้วยทรงดาริว่าการจะขยาย อาณาเขตต่อไป พระองค์จึงทรงมีพระราชประสงค์ที่จะปกครองบ้านเมืองเช่นเดียวกับพระเจ้าอโศกมหาราช สง่ เสรมิ พระพุทธศาสนาและส่ังสอนชาวเมืองให้ตง้ั อยู่ในศีลธรรม คือวิธีรกั ษาเมืองให้ย่ังยนื อยู่ ได้ทรงสร้างเจดีย์ที่เมืองนครชุม และอออกผนวชในพระพุทธศาสนานับว่าทาความม่ันคง ให้พุทธศาสนา หลังรัชสมัยพ่อขุนรามคาแหงมหาราช บ้านเมืองแตกแยก วงการสงฆ์เอง ก็แตกแยก แต่ละสานักแต่ละเมืองก็ปฏิบัติแตกต่างกันออกไป เมื่อผู้นาทรงมีศรัทธาแรงกล้า ถึงขั้นออกบวชพสกนิกรท้ังหลายก็คล้อยตามหันมาเลื่อมใสตามพระองค์ พระพุทธศาสนาใน สุโขทัยจึงเลื่องลือไปไกล พระสงฆ์ชั้นผู้ใหญ่ได้ออกไปเผยแพร่ ธรรมในแควน้ ต่าง ๆ 09

สมเด็จพระรามาธิบดีท่ี 1 พระราชประวตั ิ สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 หรอื พระเจ้าอู่ทอง ทรง เปน็ พระปฐมบรมกษัตรยิ แ์ หง่ อาณาจักรอยธุ ยา เสด็จพระราชสมภพเมอ่ื พ.ศ. 1893 ทรงสถาปนา กรงุ ศรีอยธุ ยาเป็นราชธานขี องอาณาจักรอยธุ ยา สมเด็จพระรามาธิบดีท่ี 1 (พระเจ้าอู่ทอง) ทรงสถาปนากรงุ ศรอี ยุธยาเป็นราชธานีเม่ือ วันศุกร์ ข้ึน 6 ค่าเดือน 5 ปีขาล จุลศักราช 712 ตรงกับวันท่ี 4 มีนาคม พ.ศ. 1893 ชีพ่อพราหมณ์ถวายพระนามว่า สมเด็จพระรามาธิบดี แล้วโปรดให้ขุนหลวงพะงั่ว ซึ่งเป็น พระเชษฐาของพระมเหสีเป็น สมเด็จพระบรมราชาธิราชเจ้าไปครองเมืองสุพรรณบุรี สว่ น พระราเมศวร รชั ทายาทใหไ้ ปครองเมืองลพบรุ ี ตรากฎหมาย สมเด็จพระรามาธิบดีท่ี 1 ทรงประกาศใชก้ ฎหมายถึง 10 ฉบับ 10

พระบรมไตรโลกนาถ พระราชประวตั ิ สมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ หรือ สมเดจ็ พระราเมศวรบรมไตรโลกนาถบพิตร มีพระนามเดมิ วา่ สมเดจ็ พระราเมศวร ทรงพระราชสมภพ พ.ศ. 1974 ทรงขน้ึ ครองราชย์ พ.ศ.1991 เปน็ กษตั รยิ ร์ ชั กาลท่ี 8 แหง่ กรงุ ศรีอยธุ ยา สวรรคต เมื่อ พ.ศ.2031. พระราชกรณียกิจพระบรมไตรโลกนาถด้านการปกครองประกอบด้วยการจัดระเบียบ การปกครองส่วนกลางและส่วนภูมิภาค อันเป็นแบบแผนซึ่งยึด สืบต่อกันมาจนถึงรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและการตราพระราชกาหนดศักดินา ทาให้มีการ แบ่งแยกสิทธิ และหน้าท่ีของแต่ละบุคคลแตกต่างกันไป โดยทรงเห็นว่ารูปแบบการปกครอง นับต้ังแต่รัชสมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 มีความหละหลวมหัวเมืองต่าง ๆ เบียดบังภาษี อากร และปัญหาการแข็งเมืองในบางชว่ งท่ี พระมหากษัตริย์อ่อนแอ สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ทรงตราพระราชกาหนดศักดนิ าขึ้น เป็นกฎเกณฑ์ของสงั คม ทาให้มกี ารแบง่ ประชากรออกเป็นหลายชนชั้น สมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ ทรงปฏริ ูปการ ปกครองโดยมกี าร แบง่ งานฝา่ ยทหารและฝา่ ยพลเรอื นออกจากกันอย่างชดั เจน ให้สมุหพระกลาโหมดูแลฝา่ ยทหาร และให้สมหุ นายกดูแลฝา่ ย พลเรือน รวมท้งั จตุสดมภ์ในราชธานี 11

สมเดจ็ พระสรุ โิ ยทยั พระราชพงศาวดาร ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) ระบุว่า เม่ือวันท่ี 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2090 สมเด็จพระมหาจักรพรรดิเสด็จออกไปดูกาลังข้าศึกท่ี ภูเขาทอง พระสุริโยทัยพร้อมด้วยพระราชโอรสพระราชธิดารวม 4 พระองค์ ตามเสด็จด้วย โดยพระองค์ทรงแต่งกายอย่างพระมหาอุปราชทรงช้างพลาย ทรงสุริยกษัตริย์สูง 6 ศอก คร้ันยกกองทัพออกไปบริเวณทุ่งภูเขาทอง กองทัพอยุธยาปะทะกับกองทัพพระเจ้าแปร ซ่ึงเป็นทัพหน้าของพม่า ช้างทรง ข อง สม เ ด็ จ พ ระ ม ห า จั ก รพ รรดิ เกิ ด เ สีย ที หัน ห ลั ง ห นี จ า ก ข้ า ศึ ก พระ เ จ้ า แ ป ร ก็ทรงขบั ชา้ งไล่ตามมาอยา่ งกระชนั้ ชิด พระสุริโยทัยทอดพระเนตรเห็นพระราชสวามีกาลังอยู่ในอันตรายจึง รีบขับช้างเข้าขวางพระเจ้าแปร ทาให้ทรงไม่สามารถติดตามต่อไปได้พระ เจ้าแปรจึงทายุทธหัตถีกับพระสุริโยทัย เนื่องจากพระนางอยู่ในลักษณะ เสียเปรียบ ช้างพระเจ้าแปรได้เสยช้างพระสุริโยทัยจนเท้าหน้าทั้งสองลอย พ้นพื้นดิน แล้วพระเจ้าแปรจึงฟันพระสุริโยทัยด้วยพระแสงของ้าวต้อง พระอังสาขาดถึงราวพระถัน ส่วนพระราชพงศาวดารกรุงเก่าฉบับหลวง ประเสริฐอักษรนิต์ิ ระบุวา่ มพี ระราชธดิ า สิ้นพระชนมบ์ นคอช้างด้วย 12

พระนเรศวรมหาราช ในปี พ.ศ. 2135 พระเจ้านันทบุเรง โปรดให้พระมหาอุปราชานากองทัพทหารมาตี กรงุ ศรอี ยธุ ยาหมายจะชนะศึกในครัง้ น้ีสมเด็จพระนเรศวรทรงทราบว่าพม่าจะยกทัพใหญ่ มาตีจึงทรงเตรียมไพร่พล มีกาลังหนึ่งแสนคนเดินทางออกจากบ้านป่าโมกไปสุพรรณบุรี ข้ามน้าตรงท่าท้าวอู่ทองและต้ังค่ายหลวงบริเวณหนองสาหร่าย เช้าของวันจันทร์ แรม 2 ค่า เดือนยี่ ปีมะโรง พ.ศ. 2135 สมเด็จ พระนเรศวรและสมเด็จพระเอกาทศรถ ทรงเครื่องพิชัยยุทธ สมเด็จพระนเรศวรทรงช้างนามว่า เจ้าพระยาไชยานุภาพ ส่วนสมเด็จพระเอกาทศรถทรงช้างนามว่า เจา้ พระยาปราบไตรจักร ช้างทรงของทั้งสอง พระองค์นั้นเป็นช้างชนะงา คือช้างมีงาท่ีได้รับการฝึกให้รู้จักการต่อสู้มาแล้วหรือเคย ผา่ นสงครามชนชา้ งชนะช้างตวั อนื่ มาแล้วซึ่งเป็นชา้ งทีก่ าลงั ตกมัน ระหว่างการรบจึงวิ่งไล่ตามพม่าหลงเข้าไปในแดน พม่า มี เพี ยง ท หา ร รักษ า พ ระอ ง ค์แ ละจ า ตุร ง ค์บ า ท เท่า นั้นท่ี ติดต า ม ไ ปทั น สมเด็จพระนเรศวทอดพระเนตรเห็นพระมหาอุปราชาทรงพระคชสารอยู่ใน ร่มไมก้ บั เหล่าเท้าพระยาจงึ ทราบได้ว่าชา้ งทรงของสองพระองค์หลงถลาเข้า มาถึงกลางกองทัพและตกอยู่ในวงล้อมข้าศึกแล้ว แต่ด้วยพระปฏิภาณไหว พริบของสมเด็จพระนเรศวร ทรงเห็นว่าเป็นการเสียเปรียบข้าศึกจึงไสช้าง เข้าไปใกล้ แล้วตรัสถามด้วยคุ้นเคยมาก่อนแต่วัยเยาว์ว่า พระเจ้าพ่ีเราจะยืน อยู่ใยในร่มไม้เล่า เชิญออกมาทายุทธหัตถีด้วยกันให้เป็นเกียรติยศไว้ใน แผ่นดินเถิด ภายหนา้ ไปไมม่ พี ระเจ้าแผน่ ดนิ ทจี่ ะได้ยทุ ธหตั ถีแล้ว 13

พระนารายณ์มหาราช เ ป็ น พ ร ะ ม ห า ก ษั ต ริ ย์ ผู้ เ ป็ น ท่ี เ ลื่ อ ง ลื อ พระเกียรติยศในพระราโชบายทางคบค้าสมาคมกับ ชาวต่างประเทศ รักษาเอกราชของชาติให้พ้นจาก ก า ร เ บี ย ด เ บี ย น ข อ ง ช า ว ต่ า ง ช า ติ แ ล ะ รั บ ผลประโยชน์ทั้งทางวิทยาการและเศรษฐกิจที่ชน ต่างชาตินาเข้ามา นอกจากนี้ยังได้ทรงอุปถัมภ์ บารุงกวีและงานด้านวรรณคดีอัน เป็นศิลปะที่ รุ่งเรืองท่ีสุดในยุคนั้น เม่ือสมเด็จพระนารายณ์เสด็จเถลิงถวัยราชสมบัติ ณ ราชอาณาจักรศรีอยุธยาแล้ว ปัญหากิจการบ้านเมืองในรัชสมัยของ พระองค์เป็นไปในทางเกี่ยวข้องกับชาวต่างประเทศเป็นส่วนใหญ่ด้วยใน ขณะน้ันมีชาวต่างประเทศเข้ามาค้าขายและอยู่ในราชอาณาจักรไทยมา กวา่ ทเ่ี คยเปน็ มาในกาลกอ่ นทีส่ าคัญมาก คือ ชาวยโุ รปซึ่งเป็นชาติใหญ่มี กาลังทรัพย์กาลังอาวุธและผู้คนตลอดจนมีความท่ีสาคัญมาก คือ ชาวยุโรปซึ่งเป็นชาติใหญ่ มีกาลังทรัพย์ กาลังอาวุธและผู้คนตลอดจนมีความเจริญรุ่งเรืองทางวิทยาการต่าง ๆ เหนือกว่าชาวเอเชียมาก และชาวยุโรปเหล่าน้ีกาลังอยู่ในสมัยขยายการค้า ศาสนาคริสต์และ อานาจทางการเมืองของพวกตนมาสู่ดินแดนตะวันออก ยกตัวอย่าง เช่นในปี พ.ศ. 2230 (ค.ศ. 1687) ออกญาพระเสด็จสุเรนทราธิบดีพระยาพระคลังและออกพระศรีพิพัทธ์ รตั นราชโกษาได้ลงนามในสนธสิ ัญญาทางการคา้ กับประเทศฝรั่งเศส 14

พระบาทสมเด็กพระพุทธเลศิ หลา้ นภาลยั ใ น รั ช ส มั ย ข อ ง พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ พุ ท ธ เ ลิ ศ ห ล้ า นภาลัยได้รับการยกย่องว่าเป็นยุคทองของวรรณคดีด้าน กาพย์ กลอนเจริญสูงสุด ในรัชกาลท่ี 2 น้ันกวีท่ีมีชื่อเสียง นอกจากพระองค์เองแล้วยังมีกรมหมื่นเจษฎาบดินทร์ (รัชกาลที่ 3) สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุ ชิตชิโนรส สุนทรภู่ พระยาตรัง และนายนรินทรธิเบศร์ (อิน) เป็นต้น พระองค์มีพระราชนิพนธ์ที่เป็นบทกลอน มากมาย ทรงเป็นยอดกวีด้านการแต่งบทละครท้ังละคร ในและละครนอก มี หลายเร่อื งทมี่ ีอยู่เดิมและทรงนามา แต่งใหม่เพ่ือให้ใช้ในการแสดงได้ เช่น รามเกียรต์ิ อุณรุท และอิเหนา โดยเรื่องอิเหนานี้เร่ือง เดิมมคี วามยาวมากได้ทรงพระราชนิพนธ์ใหม่ตงั้ แต่ต้นจนจบ เป็นเรอ่ื งยาวท่ีสุดของพระองค์ วรรณคดีสโมสรในรัชกาลท่ี 6 ไ ด้ ย ก ย่ อ ง ใ ห้ เ ป็ น ย อ ด บ ท ล ะ ค ร รา ท่ี แ ต่ ง ดี ย อ ด เ ยี่ ย ม ทั้งเนื้อความ ทานองกลอน และกระบวนการเล่นทงั้ รอ้ งและรา นอกจากน้ียังมลี ะครนอกอืน่ ๆ เชน่ ไกรทอง สงั ข์ทอง ไชยเชษฐ์ หลวิชัยคาวี มณีพิชัย สังข์ศิลป์ชัย ได้ทรงเลือกเอาของเก่ามาทรงพระราชนิพนธ์ขึ้นใหม่ บางตอน และยังทรงพระราชนิพนธ์บทพากย์โขนอีกหลายชุด เช่น ชุดนางลอย ชุดนาคบาศ และชุดพรหมาสตร 15

สมเด็จพระเจา้ ตากสินมหาราช โปรดเกล้าใหช้ าระกฎหมายทีห่ ายไปหลังกรุงแตกฉบบั ใด ยงั เหมาะแกก่ าลสมัยก็โปรดฯ ให้คงไว้ ฉบบั ใดไม่เหมาะ กโ็ ปรดให้แกไ้ ขเพ่ิมเติม ยกเลกิ ไปกม็ ี ตราขน้ึ ใหม่กม็ ี เช่นโปรด ฯ ใหแ้ กไ้ ขกฎหมายว่าดว้ ยการพนันให้อานาจ การ ตัดสนิ ลงโทษขึ้นแก่ศาลแทนนายตราสิทธขิ์ าด และยงั ห้ามนายตรานายบอ่ นออกเงินทดลองใหผ้ ู้เลน่ เกาะกมุ ผกู มัดจาจองเร่งรดั ผูเ้ ลน่ กฎหมายพิกดั ภาษี อากรกเ็ กือบไม่มี และเปดิ โอกาสใหร้ าษฎรไดเ้ ฝ้าแหน ตามรายทาง โดยไม่มพี นักงานตารวจแม่นปนื คอย ยิงราษฎร ซง่ึ แมแ้ ตช่ าวตา่ งประเทศ ก็ยังชนื่ ชมในพระราชอธั ยาศัยนี้ 16

พระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟา้ จฬุ าโลกมหาราช พระราชกรณยี กิจ ประการแรกคอื การโปรดเกลา้ โปรดกระหมอ่ ม ใหต้ ง้ั กรุงรัตนโกสินทร์เปน็ ราชธานใี หม่ กรงุ ธนบรุ ี ดว้ ยเหตุผลวา่ กรงุ ธนบุรตี ้งั อยบู่ น สองฝงั่ แม่นา้ ทาใหก้ ารลาเลยี งอาวุธ ยทุ ธภัณฑ์ และการรักษาพระนคร เปน็ ไปไดย้ าก อกี ทั้งพระราชวังเดิมไมส่ ามารถ ขยายได้ เน่อื งจากตดิ วัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวหิ ารและวัดโมลโี ลกยา รามราชวรวิหาร ส่วนทางฝง่ั กรงุ รตั นโกสนิ ทรน์ ัน้ มีความเหมาะสม กวา่ ตรงท่มี ี ชยั ภูมเิ หมาะสมและสามารถรับศกึ ไดเ้ ปน็ อยา่ งดี การ สร้างราชธานใี หม่นน้ั ใช้เวลา ท้ังส้ิน 3 ปี โดยทรงประกอบพธิ ยี กเสาร์หลกั เมอื งเมื่อวันอาทิตย์ ขึ้น 10 ค่า เดอื น 6 ปขี าล จ.ศ. 1144 ตรงกับ วนั ท่ี 21 เมษายน พ.ศ. 2325 และโปรดเกลา้ โปรดกระหม่อมให้ สรา้ งพระบรมมหาราชวัง และสรา้ งพระอารามหลวงใน เขตพระบรมมหาราชวังตามแบบกรงุ ศรอี ยุธยา นอกจากน้ียงั โปรดเกลา้ ให้สรา้ งปอ้ มปราการอีกดว้ ย 17

พระบาทสมเด็จพระน่ังเกลา้ เจา้ อยหู่ วั เมือ่ คร้ังท่ีทรงกากับราชการกรมท่า (ในสมยั รัชกาลที่ 2) ได้ทรงแต่งสาเภา บรรทุกสินค้าออกไปค้าขายในต่างประเทศ มรี ายได้ในท้องพระคลังเป็นอันมาก พระราชบิดาทรงเรียกพระองค์ว่า \"เจ้าสัว\" เมื่อรัชกาลที่ 2 เสด็จสวรรคต มิได้ตรัสมอบราชสมบัติแก่ผู้ใด ขุนนาง และพระราชวงศ์ต่างมีความเห็นว่า พระองค์ (ขณะทรง ดารงพระราชอิสริยยศเป็นกรมหม่ืนเจษฏาบดินทร์) ข ณ ะ นั้ น มี พ ร ะ ช น ม า ยุ 3 7 พ ร ร ษ า ท ร ง ร อ บ รู้ กิ จ ก า ร บ้ า น เ มื อ ง ดี ทรงปราดเปรื่องในทางกฎหมาย การค้าและ การปกครอง จึงพร้อมใจกัน อญั เชญิ ครองราชย์เป็น รัชกาลท่ี 3 18

พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยหู่ วั เม่ือ พ.ศ. 2411 พระองค์ทรงคานวณว่า จะสามารถเห็นสุริยุปราคาเต็มดวงได้ในประเทศ สยาม ณ หมู่บ้านหว้ากอ ตาบลคลอง วาฬ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ พระองค์จึงโปรดให้ตั้ง พลับพลาเพ่ือเสด็จ พระราชดาเนินทอดพระเนตร สุริยุปราคา ท่ีตาบลหว้ากอ ซ่ึงเม่ือถึง เวลา ที่พระองค์ ทรงคานวณก็เกิดสุริยุปราคาเต็ม ดวงดังที่ทรงได้คานวณไว้ พระองค์เสด็จประทับ อ ยู่ ท่ี ห ว้ า ก อ เ ป็ น ร ะ ย ะ เ ว ล า ป ร ะ ม า ณ 9 วั น จึงเสด็จกลับกรุงเทพมหานคร พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าเจา้ อยูห่ วั ประทับ ณ เกยหน้าพลบั พลาทีป่ ระทับ โปรดให้ฉายพระรูปกบั คณะแขกเมือง ณ ค่ายหลวงบา้ นหวา้ กอ 19

พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา้ เจ้าอยู่หวั 20

พระราชกรณยี กจิ พระราชกรณียกิจทีส่ าคัญของรัชกาลที่ 5 ได้แก่ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ใหม้ กี าร เลิกทาสและไพรใ่ นประเทศไทย การปอ้ งกนั การเป็นอาณานิคมของจกั รวรรดฝิ รั่งเศสและ จกั รวรรดอิ งั กฤษได้มีการประกาศออกมาใหม้ ีการนบั ถือศาสนาโดยอสิ ระในประเทศ โดยบุคคลศาสนาครสิ ตแ์ ละศาสนาอิสลาม สามารถปฏิบัติศาสนกิจได้อยา่ งอสิ ระ นอกจากนไ้ี ด้มีการนาระบบจากทางยุโรปมาใช้ในประเทศไทย ไดแ้ ก่ระบบการใชธ้ นบตั รและเหรยี ญบาท ใชร้ ะบบเขตการปกครองใหมเ่ ช่น มณฑลเทศาภิบาล จงั หวดั และอาเภอ และไดม้ ีการสรา้ งรถไฟสายแรก คอื กรุงเทพฯ ถงึ อยุธยา ลงวนั ที่ 1 มีนาคม ร.ศ.109 ซ่งึ ตรงกับพทุ ธศักราช 2433 นอกจากนไี้ ด้มีงาน พระราชนิพนธ์ท่ีสาคัญ การกอ่ ตงั้ การประปา การไฟฟ้า ไปรษณีย์โทรเลข โทรศัพท์ การส่ือสาร การรถไฟ ส่วนการคมนาคม ให้มีการ ขุดคลองหลายแห่ง เชน่ คลองประเวศบุรรี มย์ คลองสาโรง 21

แหลง่ อ้างองิ




Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook