Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คิงบุคล่าสุด่่่าาาาาาาาาาา

คิงบุคล่าสุด่่่าาาาาาาาาาา

Published by earnkung2546, 2021-02-26 20:25:38

Description: คิงบุคล่าสุด่่่าาาาาาาาาาา

Search

Read the Text Version

พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจา้ อยหู่ วั พระราชประวตั ิ พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นพระราชโอรส พระองคเ์ ดียวในพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร และสมเด็จพระนางเจ้าสิรกิ ิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง เสด็จพระราชสมภพ ณ พระที่น่ัง อัมพรสถาน พระราชวังดุสิต เม่ือวันจันทร์ที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2495 ได้รับพระราชทานพระนามว่า สมเด็จพระเจ้าลูกยา เธอ เจ้าฟ้าวชิราลงกรณ ขึ้นทรงราชย์เป็นพระมหากษัตริย์ รัชกาลใหม่ ต้ังแต่วันท่ี 13 ตุลาคม 2559 ตามบทบัญญัติของ รัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย (ฉบบั ช่ัวคราว) พระราชกรณยี กจิ ครั้งดารงตาแหน่งสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ในด้านการสาธารณสุข โปรดให้ สร้างโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชขึ้น เพื่อให้การ รักษาพยาบาลผู้เจ็บป่วยในถ่ินทุรกันดาร พระองค์ ทรงเป็นองค์นายกกิตติมศักด์ิของมูลนิธิโรงพยาบาล สมเดจ็ พระยุพราช เมือ่ วนั ที่ 11 สงิ หาคม พ.ศ. 2560 พระราชทานเงนิ จานวน 100 ล้านบาท ซึ่งเป็นรายได้จากการจาหน่ายสมุดไดอารี่ภาพการ์ตูนฝีพระหัตถ์ เพ่ือสมทบทุนสร้างอาคาร นวมินทรบพิตร 84 พรรษา โรงพยาบาลศิริราช คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหดิ ลทางการแพทย์ 01

สมเด็จพระนางเจา้ สิรกิ ติ ิ์ พระบรมราชนิ ีนาถ พระบรมราชชนนพี ันปหี ลวง พระราชประวัติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราช ชนนีพันปีหลวง ทรงมีพระนามเดิมว่า หม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ กิ ติ ย า ก ร ซ่ึ ง พ ร ะ น า ม \" สิ ริ กิ ต์ิ \" ไ ด้ รั บ พ ร ะ ร า ช ท า น จ า ก พระบาทสมเด็จพระปกเกลา้ เจ้าอยู่หัว มีความหมายว่า \"ผู้เป็นศรี แห่งกิติยากร“ วันท่ี 5 ธันวาคม พ.ศ. 2499 อันเป็นปีที่ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมีพระราช ประสงค์จะผนวชเป็นพระภิกษุ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ิ พระบรมราชินีเป็นผู้สาเร็จ ราชการแทนพระองคใ์ นระหวา่ งท่ีผนวชและทรงพระราชดาริว่า สมเดจ็ พระนางเจา้ สริ กิ ติ ิ์ พระบรม ราชินีได้ทรงดารงตาแหน่งผู้สาเร็จราชการแทนพระองค์ในระหว่างท่ีผนวชและ ไดปฏิบัติพระราช ภารกิจแทนพระองค์ด้วยพระปรีชา จึงทรงกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เฉลิมพระนามาภิไธย สมเด็จพระนาง เจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชนิ วี า่ สมเด็จพระนางเจ้าสริ กิ ิต์ิ พระบรมราชินีนาถ พระราชกรณยี กจิ ปฏิบัติพระราชภารกิจมากมาย โดยเฉพาะอย่างในการส่งเสริม คณุ ภาพชีวิต อาชีพ และความเปน็ อย่ขู องบคุ คลผู้ยากไร้ และประชาชน ใน ชนบทห่างไกลในแผ่นดินไทยนี้โครงการที่มีสาขาขยายกว้างขวาง ไปทั่วประเทศโครงการหนึ่งก็คือ โครงการส่งเสรมิ ศิลปาชีพ ภายหลัง ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้ก่อต้ัง เป็นรูปมูลนิธิ พระราชทานนาม ว่า \"มูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพพิเศษในพระบรม ราชินูปถัมภ์ และเม่ือ พ.ศ. 2528 ได้เปล่ียนช่ือ เป็น มูลนิธิ ส่งเสริมศิลปาชีพในสมเด็จพระ นางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ เป็นการสง่ เสริมอาชีพและ อนุรักษ์ และส่งเสริมงานศิลปะ พ้ืนบ้านท่ีมีความงดงามหลายสาขา เช่น การปน้ั การทอ การจกั สาน เปน็ ต้น 02

พระบาทสมเดจ็ พระปินเกลา้ เจา้ อยูห่ วั พระราชประวัติ พระบาทสมเด็จพระป่ินเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติเมื่อวันท่ี 4 กันยายน พ.ศ. 2351 ทรงเป็นพระราชโอรสองค์ที่ 50 ของ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย พระราชมารดา คือ สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี มีพระนามเดิมว่า เ จ้ า ฟ้ า จุ ฑ า ม ณี ห รื อ เ ป็ น ท่ี รู้ จั ก อ ย่ า ง ดี คื อ เ จ้ า ฟ้ า น้ อ ย พระองค์ทรงเป็นพระอนุชาของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ พระองค์ท่ี 2 ในรัชกาลของ พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ จ อ ม เ ก ล้ า เ จ้ า อ ยู่ หั ว รั ช ก า ล ท่ี 4 ทรงได้รับพระบวรราชาภิเษกเป็นพระเจ้าแผ่นดิน เมื่อวันอาทิตย์ท่ี 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2391 เมื่อทรงมีพระชนมพรรษาได้ 43 พรรษา พระราชกรณียกจิ พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงใฝ่พระราชหฤทัยในวิชาการด้านจักรกลมากเหตุ ท่ี พ ร ะ อ ง ค์ โ ป ร ด ก า ร ท ห า ร ท า ใ ห้ จึ ง ส น พ ร ะ ร า ช ห ฤ ทั ย เ กี่ ย ว กั บ อ า วุ ธ ยุ ท ธ ภั ณ ฑ์ เ ป็ น พิ เ ศ ษ เท่าที่ค้นพบพระบรมฉายาลักษณ์ของพระองค์นั้นมักจะ ทรงฉลองพระองค์เคร่ืองแบบทหาร และ เป็นเครื่องแบบทหารเรือด้วย แต่เป็นท่ีน่าเสียดายว่าไม่มีการบันทึกพระราชประวัติในส่วนท่ีทรง สร้างหรือวางแผนงานเกี่ยวกับกิจการทหารใดๆไว้บ้างเลยแม้ในพระราชพงศาวดา หรือใน จดหมายเหตุต่าง ๆ ก็ไม่มีการบันทึกผลงานพระราชประวัติในส่วนน้ีเลย แม้พระองค์เองก็ไม่โปรด การบันทกึ ไมม่ พี ระราชหัตถเลขา แตถ่ ึงกระน้นั ก็ยงั มงี านเด่นทีม่ หี ลกั ฐานทั้งของฝรง่ั และไทยกลา่ ว ไวแ้ ม้จะนอ้ ยนิดแต่กแ็ สดงใหเ้ หน็ ถึงการริเรมิ่ ท่ีลา้ หนา้ กวา่ ประเทศเพ่อื นบ้าน 03

กรมพระราชวงั บวรวิไชยชาญ พระราชประวตั ิ เป็นพระราชโอรสพระองค์ใหญ่ใน “พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้า เจ้าอยู่หัว” เม่ือแรกประสูติพระองค์มีพระอิสริยยศที่ \"หม่อมเจ้า\" โดย พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว พระราชทานพระนามว่า \"ยอร์ช วอชิงตัน \" ต่อมาพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระราชทานพระนามให้ใหมว่ ่า \"พระองคเ์ จ้ายอดยิ่งยศ บวรราโชรสรัตน ราชกุมาร\" และได้รับการสถาปนาเป็นพระองค์เจ้าต่างกรมท่ีกรมหม่ืน บวรวิไชยชาญ เมื่อปี 2404 แลได้รับพระราชทานอุปราชาภิเษกเป็น “กรมพระราชวังบวรสถานมงคล” ในรชั สมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเมื่อปลายสมัย พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ก่อนท่ีจะสวรรคต 1 วัน ได้มีการประชุมพระญาติวงศ์และขุน นาง ที่ประชุมจึงตกลงท่ีจะแต่งตั้ง กรมหม่ืนบวรวิไชยชาญเป็น “กรมพระราชวังบวรสถานมงคล” ตามคาเสนอของพระเจ้าน้องยาเธอ กรมหลวงเทเวศรว์ ัชรนิ ทร์ พระราชกรณยี กจิ ก ร ม พ ร ะ ร า ช วั ง บ ว ร วิ ไ ช ย ช า ญ ท ร ง เ ป็ น เ จ้ า น า ย ท่ี มี ความสามารถหลายด้าน ด้านนาฏกรรม ทรงพระปรีชาเล่นหุ่นไทย หุ่นจีน เชิดหนัง และงิ้ว ด้านการช่างทรงชานาญเครื่องจักรกล ทรงต่อเรือกาป่ัน ทรงทาแผนท่ีแบบสากล ทรงสนพระทัยในแร่ธาตุ ถึ ง กั บ ท ร ง ส ร้ า ง โ ร ง ถ ลุ ง แ ร่ ไ ว้ ใ น พ ร ะ ร า ช วั ง บ ว ร ส ถ า น ม ง ค ล เ ม่ื อ พ.ศ. 2426 ทรงได้รับประกาศนียบัตรจากฝรั่งเศสในฐานะผู้เชี่ยวชาญ สาขาวิชาช่าง 04

สมเด็จพระศรีพชั รินทราบรมราชนิ นี าถ พระบรมราชชนนพี ันปหี ลวง พระราชประวตั ิ มีพระนามเดิมว่า พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าหญิงเสาวภาผ่อง ศรี เป็นพระราชธิดาลาดับที่ 66 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว ซึ่งประสูติแต่สมเด็จพระปิยมาวดีศรีพัชรินทรมาตา พระ ร า ช ส ม ภ พ เ มื่ อ วั น ท่ี 1 ม ก ร า ค ม พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2406 เมื่อมีพระชนมายุ 15 พรรษา ทรงดารงตาแหน่งพระอัครมเหสีใน พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจา้ อยูห่ วั พระราชกรณยี กิจ ทรงสนพระทัยในการพัฒนาสตรี ทรงบริจาคพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์จัดตั้งโรงเรียนสาหรับ เด็กหญิงแห่งท่ีทรงพระราชทานชื่อว่า “โรงเรียนสตรีบารุงวิชา” ในปี พ.ศ. 2447 ทรงเปิดโรงเรียน สาหรบั กุลธิดาของข้าราชสานักและบคุ คลชนั้ สูงคือ “โรงเรยี นสุนนั ทาลยั ” ใหก้ ารอบรมด้านการบา้ นการเรอื นกริ ิยามารยาท และวิชาการ ทง้ั ทรงจ่ายเงินเดอื นครแู ละคา่ ใช้สอย ต่าง ๆ สาหรับเป็นคา่ เล่าเรยี น แก่กุลบตุ รกลุ ธดิ าของข้าราชการใหญน่ ้อยและราษฎรอีกจานวนมาก ทรงบริจาคพระราชทรพั ย์สว่ นพระองค์ให้ตั้งโรงเรียน ทรงมีความห่วงใยความเจ็บไข้ได้ป่วยของราษฎร และทหาร โดยทรงสนับสนุนการก่อต้ังโรงพยาบาล ศิริราชเป็นโรงพยาบาลแห่งแรกของประเทศไทย และพระราชทานทรัพย์ส่วนพระองค์ต้ังโรงเรียน แพทยผ์ ดงุ ครรภ์ขึ้นในโรงพยาบาลแหง่ น้ีสาหรบั เปน็ สถานศึกษาวชิ าพยาบาลและผดงุ ครรภ์ 05

พระวภิ าคภูวดล การทาแผนที่แบบตะวันตกในประเทศไทย เร่ิมตั้งแต่นายแมคคาร์ทีเข้ารับราชการ ไทย ได้ใช้ หลักมูลฐานขนาดมิติทรงวงรี เอเวอเรสต์ ในการสารวจทาแผนท่ีตลอดมา ช่ือทรงวงรี \"เอเวอเรสต์\" มาจากชื่อของนายพันเอกเอเวอเรสต์ นายทหารช่างชาวอังกฤษ ผู้เปน็ หัวหน้าสถาบันการแผนท่ีอินเดยี ในสมยั ทีอ่ ินเดยี ยังขึ้นกบั อังกฤษการทาแผนท่ี ซึง่ ไดจ้ ดั ทากอ่ นสถาปนาเปน็ กรมแผนท่ีเร่ิมแรกในตอนปลาย พ.ศ. ๒๔๒๔ เป็นการสารวจสาหรับวางแนวทางสายโทรเลขระหวา่ ง กรุงเทพฯ และมะละแหม่ง (Moulmein) ผา่ นระแหง (ตาก) ในการนี้ นายแมคคาร์ทไี ดท้ าการสารวจสามเหลีย่ มเลก็ โยงยดึ กบั สายสาม เหลี่ยมของอนิ เดียทย่ี อดเขาซง่ึ อยทู่ างตะวนั ตกของระแหงไว้ 3 แหง่ งานแผนทีท่ ี่ใช้ สารวจมีการวดั ทางดาราศาสตรแ์ ละการวางหมุด หลักฐานวงรอบ (traverse) 06

พ่อขุนศรอี ินทราทติ ย์ พระราชประวัติ พ่อขุนศรีอนิ ทราทิตย์ ทรงเปน็ พระมหากษัตริย์ รัชกาลท่ี ๑ แห่งราชวงศพ์ ระร่วงกรงุ สุโขทยั พระนามเดมิ คือพ่อขุนบางกลางหาว มีมเหสีคอื นางเสอื ง มพี ระราชโอรส ๓ พระองค์ พระราชธิดา ๒ พระองค์ พ่อขุนศรีอินทราทิตย์เมื่อครั้งยังเป็นพ่อขุน บางกลางหาวได้ร่วมมือกับพ่อขุนผาเมือง เจา้ เมอื งราดแหง่ ราชวงศศ์ รีนาวนาถมุ รวมกาลงั พลกันกระทารฐั ประหารขอมสบาด โขลญลาพง โดยพ่อขุนบางกลางหาวตีเมืองศรีสัชนาลัยและเมืองบางขลงได้ และยกท้ังสองเมืองให้พ่อขุนผา เมือง ส่วนพ่อขุนผาเมืองตีเมืองสุโขทัยได้ก็ได้มอบเมืองสุโขทัยให้พ่อขุนบางกลางหาว พรอ้ มพระขรรค์ชัยศรีและพระนาม \"ศรีอนิ ทราทิตย์\" ซ่ึงได้นามาใช้เป็นพระนาม ภายหลังได้คลาย เป็นศรีอินทราทิตย์ การเข้ามาครองสุโขทัยของพระองค์ส่งผลให้ราชวงศ์พระร่วงเข้ามา มีอิทธิพลในเขตนครสุโขทัยเพิ่มมากขึ้นและได้แผ่ขยายดินแดนกว้างขวางมากออกไป 07

พอ่ ขุนรามคาแหงมหาราช พระราชประวัติ พอ่ ขุนรามคาแหงมหาราชเป็นพระราชโอรสของพอ่ ขุนศรีอินทราทิตย์ ปฐมกษตั ริยแ์ ห่งกรงุ สุโขทัย เม่ือพ่อขุนศรีอินทราทิตย์ทรงขจัดอิทธิพลของเขมร ออกไปจากกรุงสุโขทัยได้ในปลาย พุทธศตวรรษท่ี 18 การปกครองของกษัตริย์สุโขทัยได้ใช้ระบบปิตุ ราชา ธิปไตยหรือ \"พ่อปกครองลูก\" ดังข้อความในศิลาจารึกพ่อขุนรามคาแหงว่า “....เม่ือชั่วพ่อกู กูบาเรอแก่พ่อกู กูได้ตัวเน้ือตัวปลา กูเอามาแก่พ่อกู กูได้หมากส้มหมากหวาน อันใดกินอร่อยดี กูเอามาแก่พ่อกู กูไปตีหนังวังช้างได้ กูเอามาแก่พ่อกู กูไปท่อบ้านท่อเมืองได้ช้างได้งวง ได้ปั่วได้นาง ได้เงือน ได้ทอง กูเอามาเวนแกพ่ อ่ กู..\" พอ่ ขนุ รามคาแหงมหาราช ทรงรวมเปน็ พระมหากษตั รยิ ์ที่ทรงอจั ฉริยภาพ ทง้ั ดา้ นการปกครอง เศรษฐกิจ ศาสนาและศลิ ปวิทยาต่าง ๆ ทส่ี าคัญยงิ่ คือ พระองค์ได้ทรงประดิษฐอ์ ักษรไทยขนึ้ เม่ือประมาณ พ.ศ. ๑๘๒๖ ซ่ึงเป็นต้นกาเนดิ ของอกั ษรไทยท่ใี ชอ้ ยใู่ นปัจจบุ นั 08

พระมหาธรรมราชาท่ี 1 พระราชประวัติ ทรงเป็นพระโอรสพระยาเลอไทและพระราชนัดดา ของพ่อขุนรามคาแหงมหาราช ทรงเป็นพระมหากษัตรยิ ์ของอาณาจกั รสุโขทยั ราชวงศ์พระร่วงลาดบั ท่ี 5 เปน็ กษตั รยิ อ์ งค์ที่ 6 แหง่ กรงุ สุโขทยั ข้นึ ครองราชยต์ ่อพระยางั่วนาถม ทรงเลื่อมใสในพระพุทธศาสนามาก นโยบายการปกครองท่ีใช้ศาสนาเป็นหลักรวมความ เป็นปึกแผ่นจึงเป็นนโยบายหลักในรัชสมัยนี้ ด้วยทรงดาริว่าการจะขยาย อาณาเขตต่อไป พระองค์จึงทรงมีพระราชประสงค์ที่จะปกครองบ้านเมืองเช่นเดียวกับพระเจ้าอโศกมหาราช สง่ เสรมิ พระพุทธศาสนาและส่ังสอนชาวเมืองให้ตง้ั อยู่ในศีลธรรม คือวิธีรกั ษาเมืองให้ย่ังยนื อยู่ ได้ทรงสร้างเจดีย์ที่เมืองนครชุม และอออกผนวชในพระพุทธศาสนานับว่าทาความม่ันคง ให้พุทธศาสนา หลังรัชสมัยพ่อขุนรามคาแหงมหาราช บ้านเมืองแตกแยก วงการสงฆ์เอง ก็แตกแยก แต่ละสานักแต่ละเมืองก็ปฏิบัติแตกต่างกันออกไป เมื่อผู้นาทรงมีศรัทธาแรงกล้า ถึงขั้นออกบวชพสกนิกรท้ังหลายก็คล้อยตามหันมาเลื่อมใสตามพระองค์ พระพุทธศาสนาใน สุโขทัยจึงเลื่องลือไปไกล พระสงฆ์ชั้นผู้ใหญ่ได้ออกไปเผยแพร่ ธรรมในแควน้ ต่าง ๆ 09

สมเด็จพระรามาธิบดีท่ี 1 พระราชประวตั ิ สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 หรือ พระเจา้ อู่ทอง ทรง เปน็ พระปฐมบรมกษัตรยิ ์แห่งอาณาจักรอยุธยา เสด็จพระราชสมภพเมอ่ื พ.ศ. 1893 ทรงสถาปนา กรงุ ศรีอยธุ ยาเปน็ ราชธานขี องอาณาจกั รอยุธยา สมเด็จพระรามาธิบดีท่ี 1 (พระเจ้าอู่ทอง) ทรงสถาปนากรงุ ศรีอยุธยาเป็นราชธานีเม่ือ วันศุกร์ ข้ึน 6 ค่าเดือน 5 ปีขาล จุลศักราช 712 ตรงกับวันท่ี 4 มีนาคม พ.ศ. 1893 ชีพ่อพราหมณ์ถวายพระนามว่า สมเด็จพระรามาธิบดี แล้วโปรดให้ขุนหลวงพะง่ัว ซึ่งเป็น พระเชษฐาของพระมเหสีเป็น สมเด็จพระบรมราชาธิราชเจ้าไปครองเมืองสุพรรณบุรี สว่ น พระราเมศวร รชั ทายาทใหไ้ ปครองเมอื งลพบรุ ี ตรากฎหมาย สมเด็จพระรามาธิบดีท่ี 1 ทรงประกาศใชก้ ฎหมายถึง 10 ฉบับ 10

พระบรมไตรโลกนาถ พระราชประวตั ิ สมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ หรอื สมเด็จพระราเมศวรบรมไตรโลกนาถบพติ ร มพี ระนามเดมิ ว่าสมเด็จพระราเมศวร ทรงพระราชสมภพ พ.ศ. 1974 ทรงขึน้ ครองราชย์ พ.ศ.1991 เปน็ กษตั รยิ ร์ ชั กาลท่ี 8 แหง่ กรงุ ศรอี ยธุ ยา สวรรคต เมื่อ พ.ศ.2031. พระราชกรณียกิจพระบรมไตรโลกนาถด้านการปกครองประกอบด้วยการจัดระเบียบ การปกครองส่วนกลางและส่วนภูมิภาค อันเป็นแบบแผนซ่ึงยึด สืบต่อกันมาจนถึงรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและการตราพระราชกาหนดศักดินา ทาให้มีการ แบ่งแยกสิทธิ และหน้าที่ของแต่ละบุคคลแตกต่างกันไป โดยทรงเห็นว่ารูปแบบการปกครอง นับต้ังแต่รัชสมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 มีความหละหลวมหัวเมืองต่าง ๆ เบียดบังภาษี อากร และปัญหาการแขง็ เมืองในบางชว่ งท่ี พระมหากษัตรยิ ์อ่อนแอ สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ทรงตราพระราชกาหนดศักดนิ าข้นึ เป็นกฎเกณฑ์ของสังคม ทาใหม้ กี ารแบง่ ประชากรออกเป็นหลายชนช้ัน สมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ ทรงปฏิรูปการ ปกครองโดยมีการ แบ่งงานฝา่ ยทหารและฝา่ ยพลเรอื นออกจากกนั อย่างชัดเจน ใหส้ มุหพระกลาโหมดูแลฝา่ ยทหาร และให้สมุหนายกดูแลฝา่ ย พลเรอื น รวมท้งั จตุสดมภใ์ นราชธานี 11

สมเด็จพระเจา้ ตากสินมหาราช โปรดเกล้าใหช้ าระกฎหมายทีห่ ายไปหลังกรุงแตกฉบบั ใด ยงั เหมาะแกก่ าลสมัยก็โปรดฯ ให้คงไว้ ฉบบั ใดไม่เหมาะ กโ็ ปรดให้แกไ้ ขเพ่ิมเติม ยกเลกิ ไปกม็ ี ตราขน้ึ ใหม่กม็ ี เช่นโปรด ฯ ให้แกไ้ ขกฎหมายว่าดว้ ยการพนันให้อานาจ การ ตัดสนิ ลงโทษขึ้นแก่ศาลแทนนายตราสิทธขิ์ าด และยงั ห้ามนายตรานายบอ่ นออกเงินทดลองใหผ้ ู้เลน่ เกาะกมุ ผกู มัดจาจองเร่งรดั ผเู้ ลน่ กฎหมายพิกดั ภาษี อากรกเ็ กือบไม่มี และเปดิ โอกาสให้ราษฎรไดเ้ ฝ้าแหน ตามรายทาง โดยไม่มพี นักงานตารวจแม่นปนื คอย ยิงราษฎร ซง่ึ แมแ้ ต่ชาวตา่ งประเทศ ก็ยังชนื่ ชมในพระราชอัธยาศัยนี้ 15

พระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟา้ จฬุ าโลกมหาราช พระราชกรณยี กิจ ประการแรกคอื การโปรดเกลา้ โปรดกระหมอ่ ม ใหต้ ง้ั กรุงรัตนโกสินทร์เปน็ ราชธานใี หม่ กรงุ ธนบรุ ี ดว้ ยเหตุผลวา่ กรงุ ธนบุรตี ้งั อยบู่ น สองฝงั่ แม่นา้ ทาใหก้ ารลาเลยี งอาวุธ ยทุ ธภัณฑ์ และการรักษาพระนคร เปน็ ไปไดย้ าก อกี ทั้งพระราชวังเดิมไมส่ ามารถ ขยายได้ เน่อื งจากตดิ วัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวหิ ารและวัดโมลโี ลกยา รามราชวรวิหาร ส่วนทางฝง่ั กรงุ รตั นโกสนิ ทรน์ ัน้ มีความเหมาะสม กวา่ ตรงท่มี ี ชยั ภูมเิ หมาะสมและสามารถรับศกึ ไดเ้ ปน็ อยา่ งดี การ สร้างราชธานใี หม่นน้ั ใช้เวลา ท้ังส้ิน 3 ปี โดยทรงประกอบพธิ ยี กเสาร์หลกั เมอื งเมื่อวันอาทิตย์ ขึ้น 10 ค่า เดอื น 6 ปขี าล จ.ศ. 1144 ตรงกับ วนั ท่ี 21 เมษายน พ.ศ. 2325 และโปรดเกลา้ โปรดกระหม่อมให้ สรา้ งพระบรมมหาราชวัง และสรา้ งพระอารามหลวงใน เขตพระบรมมหาราชวังตามแบบกรงุ ศรอี ยุธยา นอกจากน้ียงั โปรดเกลา้ ให้สรา้ งปอ้ มปราการอีกดว้ ย 16

สมเด็จพระสุรโิ ยทัย 12

สมเด็จพระสุรโิ ยทัย 12


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook