1 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 1 หน่วยที่ 1 ชื่อวิชา เพศวถิ ีศึกษา (Sexuality Education) รหัส 2000–1607 เวลาเรียนรวม 36 คาบ ช่ือหน่วย รู้จกั ตนเอง สอนคร้ังที่ 1–3/18ชื่อเรื่อง รู้จกั ตนเอง จานวน 6 คาบหัวข้อเรื่อง กิจกรรมท่ี 1.1 รู้จกั ตนเอง กิจกรรมที่ 1.2 เรียนรู้ร่างกายตนเอง 1.1 รู้จกั เพศศึกษา กิจกรรมท่ี 1.3 การเจริญเติบโตและพฒั นาการ 1.2 รู้จกั ร่างกายตนเอง 1.3 รู้จกั ขอ้ มูลเร่ืองเพศ ของวยั รุ่น 1.4 รู้ตวั ตน กิจกรรมที่ 1.4 การเปลี่ยนแปลงตามวยั ของวยั รุ่น แบบฝึกหดั หน่วยที่ 1แนวคดิ สาคญั การเขา้ ใจวตั ถุประสงคข์ องหลกั สูตร การยอมรับกติกาการเรียนรู้ร่วมกนั ตลอดจนการเคารพซ่ึงกนัและกนั ไวว้ างใจกนั เป็นส่ิงสาคญั สาหรับกระบวนการเรียนรู้เรื่องเพศ เม่ือร่างกายเจริญเติบโตเขา้ สู่วยั รุ่นท้งัหญิงและชาย ย่อมเกิดการเปลี่ยนแปลง ซ่ึงเป็ นพฒั นาการตามธรรมชาติของมนุษย์ ดา้ นร่างกาย จิตใจสังคม และพฒั นาการทางเพศรวมถึงความจาเป็ นท่ีตอ้ งดูแลสุขภาพอนามยั เขา้ ใจกลไกการสืบพนั ธุ์ของร่างกาย เพอื่ ที่จะดารงอยไู่ ดอ้ ยา่ งมีสุขภาวะที่ดี ส่วนขอ้ มูลเกี่ยวกบั เรื่องเพศ มีท้งั ท่ีเป็นขอ้ เทจ็ จริงและความเช่ือ โดยทว่ั ไปขอ้ เทจ็ จริงในเร่ืองเพศจะมีส่วนช่วยใหผ้ เู้ รียนนาไปปรับใช้ เป็นประโยชนต์ ่อสุขภาพทางเพศ แต่ความเชื่อในเรื่องเพศมกั จะเป็นเร่ืองบอกเล่าต่อ ๆ กนั มาโดยไม่มีขอ้ อา้ งอิงในเชิงวิทยาศาสตร์ นอกจากน้ีการเรียนรู้ว่าตนเองเป็ นเพศใด มกั เกิดจากการพิจารณาสรีระร่างกายของตนเอง ซ่ึงแบ่งเป็ นเพศหญิงกบั เพศชาย แต่ในความเป็ นจริงยงั มีคนท่ีแตกต่างจากสองกลุ่มดงั กล่าว เช่น มีรสนิยมในเรื่องการรักเพศเดียวกนั อาจไดร้ ับผลกระทบและการเลือกปฏิบตั ิจากคนรอบขา้ งและสังคมสมรรถนะย่อย แสดงความรู้เกี่ยวกบั สุขอนามยั ของระบบสืบพนั ธ์ พฒั นาการทางเพศในวยั รุ่นจุดประสงค์การปฏิบตั ิ ด้านความรู้ 1. อธิบายความหมายของเพศศึกษา 2. อธิบายการเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย และอวยั วะสืบพนั ธุ์
2 3. นาขอ้ มูลเร่ืองเพศไปประยกุ ตใ์ ชอ้ ยา่ งเหมาะสม 4. อธิบายความหมายของวิถีทางเพศ ด้านทักษะ 1. บรรยายความรู้สึกของตนเองเม่ือเป็ นวยั รุ่น 2. อธิบายส่วนต่าง ๆ ของระบบอวยั วะสืบพนั ธ์ของตน 3. สรุปสาระของเจริญเติบโตและพฒั นาการของวยั รุ่น 4. อธิบายถึงการเปล่ียนแปลงดา้ นร่างกาย อารมณ์ สงั คม และสติปัญญาของวยั รุ่น ด้านคณุ ธรรม จริยธรรม/บรู ณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ตรงต่อเวลา มีวินยั มีความรับผดิ ชอบ ละเอียดรอบคอบ ทางานเรียบร้อย สนใจใฝ่รู้ มีความซื่อสัตย์ ขยนั หมนั่ เพยี ร ปฏิบตั ิตนในแนวทางท่ีดีเนื้อหาสาระ 1.1 รู้จกั เพศศึกษา เพศศึกษา หมายถึง การเรียนรู้วิถีชีวิตมนุษยต์ ้งั แต่เกิดจนตาย หรือเรียกวา่ การเรียนรู้ตลอดชีวิตในเร่ืองเพศที่มีหลากหลายมิติเขา้ มาเกี่ยวขอ้ งเพ่ือให้มนุษยไ์ ด้พฒั นาความรู้ ความคิด อารมณ์ ทศั นคติรวมถึงทกั ษะที่สาคญั และจาเป็ นในการดารงชีวิต เพื่อรักษาสัมพนั ธภาพในการอยรู่ ่วมกบั ผอู้ ่ืนอยา่ งเป็ นสุขเพศศึกษาไม่ใช่เฉพาะเป็ นเร่ืองของการมีเพศสัมพนั ธ์อย่างที่หลายคนคิดและเขา้ ใจแต่เพศศึกษามีเน้ือหาครอบคลุมดงั ต่อไปน้ี 1.1.1 พฒั นาการของมนุษย์ 1.1.2 สมั พนั ธภาพ 1.1.3 พฤติกรรมทางเพศ 1.1.4 สุขภาพทางเพศ 1.1.5 สงั คมและวฒั นธรรม 1.1.6 ทกั ษะท่ีจาเป็นในการดาเนินชีวิต 1.2 รู้จกั ร่างกายตนเอง วยั รุ่น ใชค้ าภาษาองั กฤษ คือ “Adolescence” แปลวา่ พฒั นาการสู่ความเจริญเติบโตพน้ จากความเป็นเดก็ ซ่ึงมีการเปลี่ยนแปลงและการเจริญเติบโตของวยั รุ่น ดงั น้ี 1.2.1 การเปล่ียนแปลงและการเจริญเติบโตของวยั รุ่น 1.2.2 ระบบอวยั วะสืบพนั ธุ์
3 1.3 รู้จกั ขอ้ มูลเรื่องเพศ ในสังคมปัจจุบนั มีขอ้ มูลเรื่องเพศอย่มู ากมาย บางเร่ืองเป็ นความเช่ือที่บอกเล่ากนั โดยไม่มีการอา้ งอิงในเชิงวิทยาศาสตร์ ซ่ึงหากนาความเชื่อไปปรับใช้ในชีวิตตนเอง ก็อาจเกิดผลกระทบเชิงลบต่อสุขภาพทางเพศ ขณะเดียวกนั ขอ้ มูลเกี่ยวกบั เร่ืองเพศที่เป็ นขอ้ เท็จจริง จะมีส่วนช่วยให้เกิดประโยชน์ต่อสุขภาพทางเพศและการดาเนินชีวิต หากนาไปประยกุ ตใ์ ชอ้ ยา่ งเหมาะสม ตวั อยา่ งความเช่ือผดิ ๆ ในเรื่องเพศ 1.3.1 การช่วยตวั เองบ่อยๆ จะทาใหจ้ ิตใจไม่ปกติหรือเป็นโรคจิตประสาทได้ 1.3.2 ผชู้ ายมีความตอ้ งการทางเพศมากกวา่ ผหู้ ญิง 1.3.3 ความสุขทางเพศของผหู้ ญิงข้ึนอยกู่ บั ขนาดของอวยั วะเพศชาย 1.3.4 มีวิธีการที่จะบอกไดว้ า่ ผหู้ ญิงคนไหนเคยมีเพศสมั พนั ธม์ าแลว้ 1.3.5 การหลงั่ น้าอสุจิทาใหห้ มดกาลงั และเส่ือมสมรรถภาพทางเพศเร็ว 1.3.6 ผหู้ ญิงควรใชน้ ้ายาทาความสะอาดช่องคลอด 1.3.7 ผหู้ ญิงเมื่อเป็นสาวจะมีหวั นมสีชมพู 1.3.8 หากมีคาถามหรือปัญหาเรื่องเพศใหป้ รึกษาเพือ่ นสนิทดีกวา่ จะปรึกษาพอ่ แม่หรือครู 1.4 รู้ตวั ตน 1.4.1 ความหมายของคาท่ีเกี่ยวขอ้ ง 1.4.2 ประเดน็ ควรทราบเกี่ยวกบั ความหลากหลายของวิถีทางเพศสื่อและแหล่งการเรียนรู้ 1. หนงั สือเพศวถิ ีศึกษา หน่วยท่ี 1 2. แบบฝึกหดั ใบกิจกรรมของหน่วยที่ 1 3. แบบทดสอบและแบบประเมินพฤติกรรม หน่วยที่ 1 4. แหล่งสืบคน้ ขอ้ มูลหอ้ งสมุดวทิ ยาลยั ศนู ยว์ ิทยบริการ หอ้ ง Internetกจิ กรรมการเรียนรู้ (สัปดาห์ท่ี 1/18 คาบท่ี 1–2/36) ข้ันเตรียม 1. ครูขานช่ือผเู้ รียน 2. ครูแนะนารายวชิ า วิธีการเรียนการสอน การวดั ผลและประเมินผล ข้ันนาเข้าสู่บทเรียน 3. ครูใหน้ กั เรียนทดสอบก่อนเรียน หน่วยท่ี 1 4. ครูต้งั คาถามเพ่อื นาเขา้ สู่บทเรียนเร่ือง รู้จกั ตนเอง 5. นกั เรียนตอบคาถามที่ครูถาม
4 ข้ันเรียนรู้ 6. ครูอธิบาย ถาม-ตอบในหวั ขอ้ รู้จกั เพศศึกษา 7. ครูใหน้ กั เรียนทาแบบฝึกหดั หน่วยที่ 1 ขอ้ 1–2 8. ครูใหน้ กั เรียนจบั กลุ่มปฏิบตั ิกิจกรรมที่ 1.1 9. ครูและนกั เรียนร่วมกนั เฉลยแบบฝึกหดั และกิจกรรม ข้นั สรุป 10. ครูสรุปเน้ือหาสาระสาคญั ในบทเรียนกจิ กรรมการเรียนรู้ (สัปดาห์ที่ 2/18 คาบท่ี 3–4/36) (ต่อ) ข้ันเตรียม 1. ครูขานช่ือผเู้ รียน 2. ครูทบทวน ใหข้ อ้ มูลยอ้ นกลบั ในหวั ขอ้ ในเรื่องรู้จกั เพศศึกษา ข้ันนาเข้าสู่บทเรียน 3. ครูต้งั คาถามเพื่อนาเขา้ สู่บทเรียนเร่ืองรู้จกั ร่างกายตนเอง 4. นกั เรียนตอบคาถามท่ีครูถาม ข้ันเรียนรู้ 5. ครูอธิบาย ถาม-ตอบในหวั ขอ้ รู้จกั ร่างกายตนเอง และรู้จกั ขอ้ มูลเร่ืองเพศ 6. ครูใหน้ กั เรียนปฏิบตั ิกิจกรรมที่ 1.2 และร่วมกนั เฉลย ข้นั สรุป 7. ครูสรุปเน้ือหาสาระสาคญั ในบทเรียนและมอบหมายงานกจิ กรรมการเรียนรู้ (สัปดาห์ท่ี 3/18 คาบท่ี 5–6/36) (ต่อ) ข้นั เตรียม 1. ครูขานชื่อผเู้ รียน 2. ครูทบทวน ใหข้ อ้ มูลยอ้ นกลบั ในหวั ขอ้ ในเรื่องรู้จกั ร่างกายตนเอง และรู้จกั ขอ้ มูลเร่ืองเพศ ข้ันนาเข้าสู่บทเรียน 3. ครูต้งั คาถามเพอ่ื นาเขา้ สู่บทเรียนเรื่อง รู้ตวั ตน 4. นกั เรียนตอบคาถามท่ีครูถาม ข้ันเรียนรู้ 5. ครูอธิบาย ถาม-ตอบในหวั ขอ้ รู้ตวั ตน 6. ครูใหน้ กั เรียนทาแบบฝึกหดั หน่วยที่ 1 ตอนท่ี 2 7. ครูใหน้ กั เรียนปฏิบตั ิกิจกรรมท่ี 1.3-1.4 และร่วมกนั เฉลย
5 ข้ันสรุป 7. ครูสรุปเน้ือหาสาระสาคญั ในบทเรียนและมอบหมายงาน 9. ครูใหน้ กั เรียนทดสอบหลงั เรียนหน่วยที่ 1การวดั ผลและประเมนิ ผลการวัดผล การประเมินผล(ใชเ้ ครื่องมือ) (นาผลเทียบกบั เกณฑแ์ ละแปลความหมาย)1. แบบทดสอบก่อนเรียน (Pre–test) หน่วยที่ 1 (ไวเ้ ปรียบเทียบกบั คะแนนสอบหลงั เรียน)2. แบบสงั เกตการทางานกลุ่มและการนาเสนอผลงานกลุ่ม เกณฑผ์ า่ น 60%3. แบบฝึกหดั ในหน่วยท่ี 1 เกณฑผ์ า่ น 50%4. แบบทดสอบหลงั เรียน (Post–test) หน่วยที่ 1 เกณฑผ์ า่ น 50%5. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ตามสภาพจริง เกณฑผ์ า่ น 60%งานทมี่ อบหมาย ใหน้ กั เรียนทาแบบฝึกหดั หน่วยท่ี 1 และใบกิจกรรมใหส้ มบูรณ์ส่งในคร้ังต่อไปผลงาน/ชิ้นงาน/ความสาเร็จของผู้เรียน 1. คะแนนจากแบบฝึกหดั ในหน่วยท่ี 1 2. คะแนนแบบทดสอบหลงั เรียน (Post–test) หน่วยที่ 1 3. ผลจากการปฏิบตั ิตามใบกิจกรรมเอกสารอ้างองิ 1. หนงั สือเรียนวิชาเพศวิถีศึกษา รหสั วิชา 2000–1607 บริษทั ศูนยห์ นงั สือเมืองไทย 2. เวบ็ ไซตแ์ ละส่ือส่ิงพิมพท์ ่ีเก่ียวขอ้ งกบั เน้ือหาบทเรียน 3. การอา้ งอิงตามบรรณานุกรมของหนงั สือเรียนวิชาเพศวถิ ีศึกษา
6บันทกึ หลงั การสอน 1. ผลการใช้แผนการจดั การเรียนรู้.................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. 2. ผลการเรียนของนักเรียน/ผลการสอนของครู/ปัญหาทพ่ี บ.................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. 3. แนวทางการแก้ปัญหา..................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ลงช่ือ............................................... ลงชื่อ............................................... (...............................................) (.............................................) ตวั แทนนกั เรียน ครูผสู้ อน
7 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 2 หน่วยที่ 2 ช่ือวชิ า เพศวิถีศึกษา (Sexuality Education) รหัส 2000–1607 เวลาเรียนรวม 36 คาบ ช่ือหน่วย รู้จกั คนอ่ืน สอนคร้ังที่ 4–6/18ช่ือเร่ือง รู้จกั คนอื่น จานวน 6 คาบหัวข้อเร่ือง กิจกรรมท่ี 2.1 ทดสอบระดบั ความสัมพนั ธ์ ในครอบครัว 2.1 ความหมายและความสาคญั ของสัมพนั ธภาพ 2.2 เพอ่ื น–มิตรภาพ กิจกรรมท่ี 2.2 วยั รุ่นกบั การมีแฟน 2.3 วยั รุ่นกบั การมีแฟน กิจกรรมท่ี 2.3 เราเป็นผใู้ หญ่หรือยงั 2.4 ครอบครัวอบอุ่น กิจกรรมท่ี 2.4 สารวจความคดิ เห็นของตนเอง แบบฝึกหดั หน่วยท่ี 2แนวคดิ สาคญั การอยรู่ ่วมกนั ในสังคมหรือหน่วยครอบครัว ส่ิงท่ีสาคญั คือ การเคารพสิทธ์ิซ่ึงกนั และกนั วยั รุ่นควรท่ีจะเรียนรู้ท่ีจะอยู่ร่วมกบั ผูอ้ ่ืนโดยเคารพสิทธิซ่ึงกนั และกนั ผ่านการรับรู้ถึงความรู้สึกของผูอ้ ่ืน ท้งั ท่ีเป็นผใู้ หญ่ ในชีวิตของวยั รุ่น เช่น พอ่ แม่ ครู หรือบุคคลวยั เดียวกนั เช่น เพื่อน แฟน คนรัก บางคร้ังอาจมีความขดั แยง้ ระหวา่ งกนั กส็ ามารถจดั การสานสมั พนั ธ์กบั คนรอบขา้ งไดโ้ ดยไม่ใชค้ วามรุนแรงและปรับตวั ได้โดยไม่รู้สึกอึดอดั หรือคบั ขอ้ งใจจนเกินไปสมรรถนะย่อย ทกั ษะดา้ นการจดั การเรื่องสมั พนั ธภาพระหวา่ งบุคคลจุดประสงค์การปฏบิ ัติ ด้านความรู้ 1. อธิบายความหมายและความสาคญั ของสมั พนั ธภาพ 2. อธิบายความสาคญั ของมิตรภาพและสมั พนั ธภาพในการคบเพ่อื น 3. อธิบายการมีแฟนในวยั รุ่นและวิธีปฏิบตั ิที่ถูกตอ้ งเหมาะสมเพ่ือพฒั นาความสมั พนั ธ์ 4. อธิบายความหมายของครอบครัว ด้านทักษะ 1. ทดสอบระดบั ความสัมพนั ธ์ในครอบครัวของตนเอง 2. แสดงความคิดเห็นของบุคคลต่าง ๆ เกี่ยวกบั การมีแฟนของวยั รุ่น 3. แสดงความคิดเห็นของตนเองเกี่ยวกบั เรื่องการมีสมั พนั ธภาพกบั คนอื่น
8 4. สารวจความคิดเห็นของตนเองในเรื่องต่าง ๆ ด้านคณุ ธรรม จริยธรรม/บรู ณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตรงต่อเวลา มีวินยั มีความรับผดิ ชอบ ละเอียดรอบคอบ ทางานเรียบร้อย สนใจใฝ่รู้ มีความซ่ือสัตย์ขยนั หมน่ั เพยี ร ปฏิบตั ิตนในแนวทางที่ดีเนื้อหาสาระ 2.1 ความหมายและความสาคญั ของสัมพนั ธภาพ สมั พนั ธภาพ (Relationship) หมายถึง กระบวนการนาสมั พนั ธภาพที่บุคคลต้งั แต่ 2 คนข้ึนไปทาความรู้จกั กนั ติดต่อสมั พนั ธ์สร้างความคุน้ เคยสนิทสนมกนั บุคคลท่ีสมั พนั ธภาพกนั จะไดร้ ับผลกระทบจากกนั และกนั 2.1.1 องคป์ ระกอบการสร้างสมั พนั ธภาพ 2.1.2 ความสาคญั ในการสร้างสมั พนั ธภาพที่ดี 2.1.3 การส่ือสารเพอื่ ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งบุคคล 2.2 เพือ่ น–มิตรภาพ มิตรภาพ (Friendship) คือ คุณธรรมหรือภาวะคุณธรรมท่ีสาคญั ในการดารงชีวิตของมนุษย์นับต้งั แต่วยั เด็กจนเติบโตเป็ นผูใ้ หญ่ มิตรภาพเป็ นส่ิงที่ช่วยให้มนุษยม์ ีความสุข เรียนรู้ขอ้ ผิดพลาด ฟันฝ่ าอุปสรรคได้อย่างไม่โดดเด่ียว รวมท้งั ช่ืนชมยินดีเม่ือมีความสาเร็จในชีวิต มนุษยจ์ ึงไม่อาจอยู่โดดเด่ียวปราศจากการมีเพือ่ น 2.2.1 ความสาคญั ของมิตรภาพ 2.2.2 การรักษาสมั พนั ธภาพในการคบเพือ่ น 2.3 วยั รุ่นกบั การมีแฟน การพฒั นาความสมั พนั ธข์ องตวั วยั รุ่นและแฟนเพอ่ื ใหก้ า้ วหนา้ ต่อไป เป็นเร่ืองสาคญั ที่คนสองคนตอ้ งร่วมมือกนั โดยปฏิบตั ิดงั น้ี 2.3.1 การเป็นตวั ของตวั เอง 2.3.2 มีความเขา้ ใจกนั 2.3.3 การส่ือสารตรงไปตรงมา 2.3.4 ใหเ้ กียรติกนั และกนั 2.4 ครอบครัวอบอุ่น 2.4.1 ความหมายของครอบครัว ครอบครัว หมายถึง กลุ่มบุคคลที่มีความสัมพนั ธ์กนั ในทางสายโลหิตหรือทางกฎหมายที่อาศยั อยใู่ นบา้ นเดียวกนั มีความรัก ความเอาใจใส่ และมีความปรารถนาดีต่อกนั และใชจ้ ่ายทรัพยส์ ินท่ีหามาไดร้ ่วมกนั
9 2.4.2 การควบคุมพฤติกรรมในครอบครัว การควบคุมพฤติกรรมในครอบครัว หมายถึง วิธีการที่ครอบครัวควบคุมหรือจดั การกบัพฤติกรรมของสมาชิกในสถานการณ์ต่าง ๆ การควบคุมพฤติกรรมเป็ นสิ่งที่จาเป็ น ท้งั น้ีเพื่อให้สมาชิกประพฤติตนอยใู่ นขอบเขตอนั เหมาะสม ไม่ใหเ้ กิดความเดือดร้อนแก่ตนเองและผอู้ ่ืน 2.4.3 การสร้างความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งบุคคลในครอบครัว 2.4.4 แนวทางปฏิบตั ิตวั เพอื่ ป้องกนั และแกไ้ ขความขดั แยง้ กบั พอ่ แม่สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 1. หนงั สือเพศวถิ ีศึกษา หน่วยที่ 2 2. แบบฝึกหดั ใบกิจกรรมของหน่วยท่ี 2 3. แบบทดสอบและแบบประเมินพฤติกรรม หน่วยท่ี 2 4. แหล่งสืบคน้ ขอ้ มูลหอ้ งสมุดวทิ ยาลยั ศูนยว์ ิทยบริการ หอ้ ง Internetกจิ กรรมการเรียนรู้ (สัปดาห์ที่ 4/18 คาบท่ี 7–8/36) ข้ันเตรียม 1. ครูขานชื่อผเู้ รียน 2. ครูตรวจสอบความพร้อม ข้ันนาเข้าสู่บทเรียน 3. ครูใหน้ กั เรียนทดสอบก่อนเรียน หน่วยท่ี 2 4. ครูต้งั คาถามเพอื่ นาเขา้ สู่บทเรียนเร่ืองสมั พนั ธภาพ 5. นกั เรียนตอบคาถามท่ีครูถาม ข้นั เรียนรู้ 6. ครูอธิบาย ถาม-ตอบในหวั ขอ้ ความหมายและความสาคญั ของสัมพนั ธภาพและ เพื่อน–มิตรภาพ 7. ครูใหน้ กั เรียนทาแบบฝึกหดั หน่วยที่ 1 ขอ้ 1–3 8. ครูใหน้ กั เรียนจบั กลุ่มปฏิบตั ิกิจกรรมที่ 2.1 9. ครูและนกั เรียนร่วมกนั เฉลยแบบฝึกหดั และกิจกรรม ข้ันสรุป 10. ครูสรุปเน้ือหาสาระสาคญั ในบทเรียน
10กจิ กรรมการเรียนรู้ (สัปดาห์ท่ี 5/18 คาบท่ี 9–10/36) (ต่อ) ข้นั เตรียม 1. ครูขานช่ือผเู้ รียน 2. ครูทบทวน ใหข้ อ้ มูลยอ้ นกลบั ในหวั ขอ้ ในเร่ืองเพือ่ น–มิตรภาพ ข้นั นาเข้าสู่บทเรียน 3. ครูต้งั คาถามเพอื่ นาเขา้ สู่บทเรียนเร่ืองการมีแฟน 4. นกั เรียนตอบคาถามท่ีครูถาม ข้นั เรียนรู้ 5. ครูอธิบาย ถาม-ตอบในหวั ขอ้ วยั รุ่นกบั การมีแฟน 6. ครูใหน้ กั เรียนปฏิบตั ิกิจกรรมที่ 2.2-2.3 และร่วมกนั เฉลย ข้นั สรุป 7. ครูสรุปเน้ือหาสาระสาคญั ในบทเรียนและมอบหมายงานกจิ กรรมการเรียนรู้ (สัปดาห์ท่ี 6/18 คาบที่ 10–12/36) (ต่อ) ข้ันเตรียม 1. ครูขานชื่อผเู้ รียน 2. ครูทบทวน ใหข้ อ้ มูลยอ้ นกลบั ในหวั ขอ้ ในเรื่องวยั รุ่นกบั การมีแฟน ข้ันนาเข้าสู่บทเรียน 3. ครูต้งั คาถามเพื่อนาเขา้ สู่บทเรียนเรื่อง ครอบครัวของนกั เรียน 4. นกั เรียนตอบคาถามที่ครูถาม ข้นั เรียนรู้ 5. ครูอธิบาย ถาม-ตอบในหวั ขอ้ ครอบครัวอบอุ่น 6. ครูใหน้ กั เรียนทาแบบฝึกหดั หน่วยท่ี 2 ตอนที่ 2 7. ครูใหน้ กั เรียนปฏิบตั ิกิจกรรมท่ี 2.4 และร่วมกนั เฉลย ข้ันสรุป 7. ครูสรุปเน้ือหาสาระสาคญั ในบทเรียนและมอบหมายงาน 9. ครูใหน้ กั เรียนทดสอบหลงั เรียนหน่วยที่ 2
11การวดั ผลและประเมนิ ผลการวดั ผล การประเมินผล(ใชเ้ คร่ืองมือ) (นาผลเทียบกบั เกณฑแ์ ละแปลความหมาย)1. แบบทดสอบก่อนเรียน (Pre–test) หน่วยท่ี 2 (ไวเ้ ปรียบเทียบกบั คะแนนสอบหลงั เรียน)2. แบบสังเกตการทางานกลมุ่ และการนาเสนอผลงานกลุ่ม เกณฑผ์ า่ น 60%3. แบบฝึกหดั ในหน่วยท่ี 2 เกณฑผ์ า่ น 50%4. แบบทดสอบหลงั เรียน (Post–test) หน่วยท่ี 2 เกณฑผ์ า่ น 50%5. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ตามสภาพจริง เกณฑผ์ า่ น 60%งานที่มอบหมาย ใหน้ กั เรียนทาแบบฝึกหดั หน่วยท่ี 2 และใบกิจกรรมใหส้ มบูรณ์ส่งในคร้ังต่อไปผลงาน/ชิ้นงาน/ความสาเร็จของผู้เรียน 1. คะแนนจากแบบฝึกหดั ในหน่วยท่ี 2 2. คะแนนแบบทดสอบหลงั เรียน (Post–test) หน่วยที่ 2 3. ผลจากการปฏิบตั ิตามใบกิจกรรมเอกสารอ้างองิ 1. หนงั สือเรียนวิชาเพศวถิ ีศึกษา รหสั วิชา 2000–1607 บริษทั ศูนยห์ นงั สือเมืองไทย 2. เวบ็ ไซตแ์ ละสื่อส่ิงพิมพท์ ี่เกี่ยวขอ้ งกบั เน้ือหาบทเรียน 3. การอา้ งอิงตามบรรณานุกรมของหนงั สือเรียนวิชาเพศวถิ ีศึกษา
12บันทกึ หลงั การสอน 1. ผลการใช้แผนการจดั การเรียนรู้.................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. 2. ผลการเรียนของนักเรียน/ผลการสอนของครู/ปัญหาทพี่ บ.................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. 3. แนวทางการแก้ปัญหา..................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ลงช่ือ............................................... ลงชื่อ............................................... (...............................................) (.............................................) ตวั แทนนกั เรียน ครูผสู้ อน
13 แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 3 หน่วยที่ 3ช่ือวิชา เพศวิถีศึกษา (Sexuality Education) รหัส 2000–1607 เวลาเรียนรวม 36 คาบชื่อหน่วย แสวงหาคาตอบ สอนคร้ังที่ 7–9/18ช่ือเรื่อง แสวงหาคาตอบ จานวน 6 คาบหัวข้อเรื่อง กิจกรรมท่ี 3.1 วยั รุ่นกบั เพศสมั พนั ธ์ กิจกรรมท่ี 3.2 ขอซ้ือความปลอดภยั 3.1 เพศสมั พนั ธ์ กิจกรรมที่ 3.3 วยั รุ่นกบั การคุมกาเนิด 3.2 การคุมกาเนิด กิจกรรมท่ี 3.4 ตอบปัญหาคาใจ 3.3 โรคเอดส์ กิจกรรมท่ี 3.5 เธอควรทาอยา่ งไร 3.4 โรคติดต่อทางเพศสมั พนั ธ์ กิจกรรมที่ 3.6 การรณรงคเ์ พอ่ื ป้องกนั โรคเอดส์ แบบฝึกหดั หน่วยท่ี 3 กิจกรรมท่ี 3.7 พฤติกรรมเสี่ยงที่จะติดเช้ือเอดส์แนวคดิ สาคญั การเรียนรู้ขอ้ มูลท่ีถูกตอ้ งในเรื่องของความปลอดภยั ในชีวิตทางเพศของตนเอง เป็ นเรื่องสาคญั ที่ผูเ้ รียนควรเรียนรู้ เพ่ือให้สามารถดาเนินชีวิตทางเพศได้อย่างปลอดภยั เช่นเดียวกับเรื่องการตดั สินใจมีเพศสัมพนั ธ์ของวยั รุ่น อาจส่งผลท้งั ด้านบวก หากมีเม่ือพร้อมและเป็ นเร่ืองของการยินยอมท้งั สองฝ่ ายรวมถึงการเตรียมตวั ท่ีจะรับผดิ ชอบกบั ผลท่ีจะตามมา ขณะเดียวกนั หากมีเพศสมั พนั ธ์ที่ไม่มีความพร้อมและไม่ไดค้ ิดอยา่ งรอบคอบ อาจนามาซ่ึงปัญหาและความยงุ่ ยากหลายดา้ น ในส่วนของขอ้ มูลเร่ืองเพศท่ีถูกตอ้ ง จะเป็นพ้ืนฐานแก่ผเู้ รียนในการดูแลสุขภาพทางเพศที่ดี ผเู้ รียนควรมีความเขา้ ใจในเรื่องการคุมกาเนิด โรคติดต่อทางเพศสัมพนั ธ์ โรคเอดส์ การป้องกนั การติดเช้ือ การแสวงหาขอ้ มูลเรื่องเหล่าน้ี ไม่ไดห้ มายถึงตอ้ งมีประสบการณ์หรือต้งั ใจไปมีประสบการณ์ หากแต่เป็นการช่วยให้ผูเ้ รียน ไดเ้ รียนรู้ขอ้ มูลและทางเลือกในการป้องกนั การต้งั ครรภ์และป้องกนั การติดโรค เพื่อเป็ นขอ้ มูลในการประกอบการตดั สินใชช้ ีวติ อยา่ งรู้เท่าทนั และรอบดา้ น เพ่อื เลือกสิ่งท่ีดีใหก้ บั ตนเองสมรรถนะย่อย 1. วเิ คราะห์อิทธิผลทางสงั คมที่มีต่อพฤติกรรมทางเพศ 2. แสดงความรู้เกี่ยวกบั การป้องกนั การรับเช้ือเอชไอวี และโรคติดต่อทางเพศสมั พนั ธ์
14จุดประสงค์การปฏบิ ตั ิ ด้านความรู้ 1. อธิบายผลที่เกิดจากการมีเพศสมั พนั ธ์ท่ีไม่พร้อม 2. อธิบายการคุมกาเนิด 3. อธิบายลกั ษณะของโรคเอดส์และการป้องกนั 4. บอกโรคติดต่อทางเพศสมั พนั ธ์ ด้านทักษะ 1. สรุปความจากขา่ วเก่ียวกบั วยั รุ่นกบั การมีเพศสมั พนั ธ์ 2. ฝึกการซ้ืออุปกรณ์คุมกาเนิด 3. ฟังความคิดเห็นของบุคคลต่าง ๆ เกี่ยวกบั เร่ืองวยั รุ่นกบั การคุมกาเนิด เพื่อปรับใช้ 4. ประยกุ ตใ์ ชผ้ ลจากการวเิ คราะห์ไปใชใ้ นชีวิต 5. ประยกุ ตใ์ ชผ้ ลจากการวเิ คราะห์ไปใชใ้ นชีวิต 6. ร่วมกิจกรรมการรณรงคป์ ้องกนั โรคเอดส์ 7. ระบุพฤติกรรมเส่ียงท่ีจะทาใหต้ ิดเช้ือเอดส์ ด้านคณุ ธรรม จริยธรรม/บูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตรงต่อเวลา มีวินยั มีความรับผดิ ชอบ ละเอียดรอบคอบ ทางานเรียบร้อย สนใจใฝ่รู้ มีความซ่ือสัตย์ขยนั หมนั่ เพยี ร ปฏิบตั ิตนในแนวทางท่ีดีเนื้อหาสาระ 3.1 เพศสมั พนั ธ์ 3.1.1 ความหมายของเพศสัมพนั ธ์ เพศสัมพนั ธ์ หมายถึง ข้นั ตอนหน่ึงของการสืบพนั ธุ์ของมนุษยเ์ ป็นสิ่งที่เกิดข้ึนจากปัจจยัทางธรรมชาติของร่างกาย เพ่ือการสืบพนั ธุ์ของมนุษย์ เพศสัมพนั ธ์ทาให้มีการต้งั ครรภแ์ ละกาเนิดชีวิตใหม่ข้ึนมาซ่ึงกระบวนการน้ีพร้อมท่ีจะทางานไดเ้ มื่อเริ่มเขา้ สู่วยั รุ่น นั่นคือหญิงสาวเร่ิมมีประจาเดือนคร้ังแรกและชายหนุ่มเริ่มมีการหลงั่ น้าอสุจิในขณะหลบั ที่เรียกวา่ “ฝันเปี ยก” นน่ั เอง 3.1.2 ผลท่ีตามมาจากการมีเพศสมั พนั ธ์ 3.1.3 ทาอยา่ งไรหากไม่พร้อมจะมีเพศสมั พนั ธ์ 3.2 การคุมกาเนิด 3.2.1 ความหมายของยาคุมกาเนิด การคุมกาเนิด หมายถึง การป้องกนั ไม่ใหเ้ กิดการต้งั ครรภเ์ มื่อมีเพศสมั พนั ธ์ โดยการป้องกนั ไม่ใหเ้ ช้ืออสุจิผสมกบั ไข่หรือป้องกนั ไม่ใหม้ ีไขส่ ุก จึงไม่เกิดการต้งั ครรภ์ 3.2.2 วธิ ีการคุมกาเนิดแบบตา่ ง ๆ
15 3.3 โรคเอดส์ 3.3.1 สถานการณ์โรคเอดส์ องคก์ ารอนามยั โลก (WHO) ไดก้ าหนดให้ วนั ท่ี 1 ธนั วาคม ของทุกปี เป็น วนั เอดส์โลก(World AIDS Day) โดยไดก้ าหนดข้ึนคร้ังแรก เมื่อวนั ท่ี 1 ธันวาคม พ.ศ. 2532 ในวนั ดังกล่าวจะมีการจดักิจกรรมรณรงคต์ ่อตา้ นโรคเอดส์หลายรูปแบบพร้อมกนั ทว่ั โลก 3.3.2 ความหมายและความเป็นมาของโรคเอดส์ 3.3.3 อาการของโรคเอดส์ 3.3.4 หลกั การ QQR 3.3.5 ขอ้ สงสยั เรื่องเอดส์ 3.3.6 การป้องกนั โรคเอดส์ 3.3.7 การปฏิบตั ิตนสาหรับผตู้ ิดเช้ือเอดส์ 3.3.8 รายชื่อสถานบริการดา้ นเอชไอวแี ละเอดส์ 3.4 โรคติดต่อทางเพศสมั พนั ธ์ 3.4.1 ความหมายของโรคติดต่อทางเพศสมั พนั ธ์ โรคติดต่อทางเพศสัมพนั ธ์ คือ กลุ่มโรคติดต่อที่สามารถแพร่เช้ือติดต่อกนั ไดโ้ ดยการร่วมเพศบางโรคอาจติดต่อกนั โดยการสมั ผสั หรือถ่ายทอดสู่ลูกขณะอยใู่ นครรภ์ 3.4.2 ตวั อยา่ งโรคติดต่อทางเพศสมั พนั ธ์ โรคจากเช้ือแบคทีเรีย โรคจากเช้ือไวรัส โรคติดเช้ือพยาธิ โรคจากเช้ือรา โรคที่เกิดจากเช้ือพาราสิต 3.4.3 การป้องกนั โรคติดต่อทางเพศสมั พนั ธ์ 1. หลีกเลี่ยงการมีเพศสมั พนั ธ์ 2. การปฏิบตั ิทางเพศที่ปลอดภยั (Safe Sex)สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 1. หนงั สือเพศวถิ ีศึกษา หน่วยท่ี 3 2. แบบฝึกหดั ใบกิจกรรมของหน่วยที่ 3 3. แบบทดสอบและแบบประเมินพฤติกรรม หน่วยที่ 3 4. แหล่งสืบคน้ ขอ้ มูลหอ้ งสมุดวิทยาลยั ศูนยว์ ทิ ยบริการ หอ้ ง Internetกจิ กรรมการเรียนรู้ (สัปดาห์ที่ 7/18 คาบที่ 13–14/36) ข้ันเตรียม 1. ครูขานชื่อผเู้ รียน 2. ครูตรวจสอบความพร้อมในการเรียน
16 ข้นั นาเข้าสู่บทเรียน 3. ครูใหน้ กั เรียนทดสอบก่อนเรียน หน่วยท่ี 3 4. ครูต้งั คาถามเพอ่ื นาเขา้ สู่บทเรียนเรื่องเพศสมั พนั ธ์ 5. นกั เรียนตอบคาถามที่ครูถาม ข้ันเรียนรู้ 6. ครูอธิบาย ถาม-ตอบในเพศสมั พนั ธ์ 7. ครูใหน้ กั เรียนทาแบบฝึกหดั หน่วยที่ 1 ขอ้ 1–2 8. ครูใหน้ กั เรียนจบั กลุ่มปฏิบตั ิกิจกรรมที่ 3.1 9. ครูและนกั เรียนร่วมกนั เฉลยแบบฝึกหดั และกิจกรรม ข้นั สรุป 10. ครูสรุปเน้ือหาสาระสาคญั ในบทเรียนกจิ กรรมการเรียนรู้ (สัปดาห์ที่ 8/18 คาบที่ 15–16/36) (ต่อ) ข้ันเตรียม 1. ครูขานช่ือผเู้ รียน 2. ครูทบทวน ใหข้ อ้ มูลยอ้ นกลบั ในหวั ขอ้ ในเรื่องเพศสมั พนั ธ์ ข้นั นาเข้าสู่บทเรียน 3. ครูต้งั คาถามเพ่ือนาเขา้ สู่บทเรียนเร่ือง การคุมกาเนิด 4. นกั เรียนตอบคาถามที่ครูถาม ข้นั เรียนรู้ 5. ครูอธิบาย ถาม-ตอบในหวั ขอ้ การคุมกาเนิด 6. ครูใหน้ กั เรียนปฏิบตั ิตามกิจกรรมที่ 3.2-3.5 ข้นั สรุป 7. ครูสรุปเน้ือหาสาระสาคญั ในบทเรียนและมอบหมายงานกจิ กรรมการเรียนรู้ (สัปดาห์ที่ 9/18 คาบท่ี 17–18/36) (ต่อ) ข้นั เตรียม 1. ครูขานชื่อผเู้ รียน 2. ครูทบทวน ใหข้ อ้ มูลยอ้ นกลบั ในหวั ขอ้ ในเรื่องการคุมกาเนิด ข้นั นาเข้าสู่บทเรียน 3. ครูต้งั คาถามเพ่อื นาเขา้ สู่บทเรียนเร่ือง โรคเอดส์ 4. นกั เรียนตอบคาถามท่ีครูถาม
17 ข้ันเรียนรู้ 5. ครูอธิบาย ถาม-ตอบในหวั ขอ้ โรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสมั พนั ธ์ 6. ครูใหน้ กั เรียนทาแบบฝึกหดั หน่วยท่ี 3 ตอนที่ 2 7. ครูใหน้ กั เรียนปฏิบตั ิตามกิจกรรมท่ี 3.6-3.7 ข้นั สรุป 7. ครูสรุปเน้ือหาสาระสาคญั ในบทเรียนและมอบหมายงาน 9. ครูใหน้ กั เรียนทดสอบหลงั เรียนหน่วยที่ 3การวดั ผลและประเมนิ ผลการวดั ผล การประเมนิ ผล(ใชเ้ ครื่องมือ) (นาผลเทียบกบั เกณฑแ์ ละแปลความหมาย)1. แบบทดสอบก่อนเรียน (Pre–test) หน่วยท่ี 3 (ไวเ้ ปรียบเทียบกบั คะแนนสอบหลงั เรียน)2. แบบสังเกตการทางานกลมุ่ และการนาเสนอผลงานกลุ่ม เกณฑผ์ า่ น 60%3. แบบฝึกหดั ในหน่วยที่ 3 เกณฑผ์ า่ น 50%4. แบบทดสอบหลงั เรียน (Post–test) หน่วยท่ี 3 เกณฑผ์ า่ น 50%5. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ตามสภาพจริง เกณฑผ์ า่ น 60%งานทม่ี อบหมาย ใหน้ กั เรียนทาแบบฝึกหดั หน่วยท่ี 3 และใบกิจกรรมใหส้ มบูรณ์ส่งในคร้ังต่อไปผลงาน/ชิ้นงาน/ความสาเร็จของผู้เรียน 1. คะแนนจากแบบฝึกหดั ในหน่วยที่ 3 2. คะแนนแบบทดสอบหลงั เรียน (Post–test) หน่วยที่ 3 3. ผลจากการปฏิบตั ิตามใบกิจกรรมเอกสารอ้างองิ 1. หนงั สือเรียนวิชาเพศวถิ ีศึกษา รหสั วิชา 2000–1607 บริษทั ศูนยห์ นงั สือเมืองไทย 2. เวบ็ ไซตแ์ ละส่ือส่ิงพิมพท์ ี่เก่ียวขอ้ งกบั เน้ือหาบทเรียน 3. การอา้ งอิงตามบรรณานุกรมของหนงั สือเรียนวิชาเพศวถิ ีศึกษา
18บันทกึ หลงั การสอน 1. ผลการใช้แผนการจัดการเรียนรู้.................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. 2. ผลการเรียนของนักเรียน/ผลการสอนของครู/ปัญหาทพี่ บ.................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. 3. แนวทางการแก้ปัญหา..................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ลงชื่อ............................................... ลงช่ือ............................................... (...............................................) (.............................................) ตวั แทนนกั เรียน ครูผสู้ อน
19 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 4 หน่วยที่ 4ชื่อวชิ า เพศวถิ ีศึกษา (Sexuality Education) รหัส 2000–1607 เวลาเรียนรวม 36 คาบชื่อหน่วย เรียนรู้ทกั ษะการใชช้ ีวิต สอนคร้ังที่ 10–13/18ช่ือเรื่อง แสวงหาคาตอบ จานวน 8 คาบหัวข้อเรื่อง กิจกรรมที่ 4.1 เราเลือกเอง กิจกรรมท่ี 4.2 กลา้ ๆ หน่อย 4.1 เขา้ ใจทกั ษะชีวติ กิจกรรมท่ี 4.3 การแสดงออกโดยใชท้ กั ษะ 4.2 ทกั ษะการตดั สินใจ กิจกรรมท่ี 4.4 การเลือกใชท้ กั ษะไดถ้ ูกตอ้ ง 4.3 ทกั ษะการส่ือสาร 4.4 ทกั ษะการปฏิเสธ 4.5 ทกั ษะการต่อรอง แบบฝึกหดั หน่วยที่ 4แนวคดิ สาคญั เม่ือผเู้ รียนมีความเขา้ ใจ มีขอ้ มูลมากพอในการท่ีจะรับรู้ รับฟัง เขา้ ใจผอู้ ื่นและตนเองแลว้ ก็ควรท่ีจะไดร้ ับการฝึ กฝนหรือเตรียมตวั ในสถานการณ์ที่ตอ้ งตดั สินใจในชีวิตจริง รวมถึงการฝึ กรับผิดชอบผลท่ีอาจจะเกิดข้ึนจากการตดั สินใจน้ันๆ ของตนเอง แต่ในขณะเดียวกนั ในการคิดและตดั สินใจที่จะเลือกทาหรือไม่ทาอะไรน้ัน แมข้ อ้ มูลจะมีมากพอแต่ก็มีปัจจยั หลายอย่างท่ีส่งผลต่อการเลือกตดั สินใจในขณะน้ันดงั น้นั การตดั สินใจเลือกอยา่ งถูกตอ้ งน้นั กต็ อ้ งอาศยั กระบวนการคิดอยา่ งเป็ นระบบ เห็นถึงผลกระทบที่จะเกิดตามมาจากการตดั สินใจ ซ่ึงสิ่งเหล่าน้ีเป็ นทกั ษะที่ตอ้ งฝึ กฝนจนเกิดความเคยชินเสมือนเป็ นประสาทอตั โนมตั ิ เมื่อเผชิญกบั สถานการณ์จริงจึงจะสามารถคิดวเิ คราะห์อยา่ งรอบคอบก่อนตดั สินใจสมรรถนะย่อย ทกั ษะดา้ นการจดั การเร่ืองสมั พนั ธร์ ะหวา่ งบุคคล ทกั ษะการตดั สินใจจุดประสงค์การปฏิบตั ิ ด้านความรู้ 1. อธิบายความหมายของทกั ษะชีวติ 2. ใชท้ างเลือกท่ีมีผลต่อการตดั สินใจ 3. ทกั ษะการใชภ้ าษาส่ือสารบรรลุจุดประสงคต์ ามสถานการณ์ 4. ทกั ษะการปฏิเสธบรรลุจุดประสงคต์ ามสถานการณ์ 5. ทกั ษะการต่อรองบรรลุจุดประสงคต์ ามสถานการณ์
20 ด้านทักษะ 1. ประเมินสถานการณ์ต่าง ๆ แลว้ นาทกั ษะในเร่ืองการตดั สินใจมาปรับใช้ 2. ประเมินสถานการณ์ต่าง ๆ แลว้ นาทกั ษะในเร่ืองการปฏิเสธมาปรับใช้ 3. นาทกั ษะในดา้ นต่าง ๆ ที่ไดเ้ รียนมา นามาจดั กิจกรรมกลุ่มเพ่ือส่ือสารใหผ้ อู้ ื่นรับรู้ 4. เลือกใชท้ กั ษะไดถ้ ูกตอ้ งและเหมาะสมกบั สถานการณ์ที่เกิดข้ึน ด้านคุณธรรม จริยธรรม/บรู ณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตรงต่อเวลา มีวนิ ยั มีความรับผดิ ชอบ ละเอียดรอบคอบ ทางานเรียบร้อย สนใจใฝ่รู้ มีความซ่ือสัตย์ขยนั หมนั่ เพยี ร ปฏิบตั ิตนในแนวทางที่ดีเนื้อหาสาระ 4.1 เขา้ ใจทกั ษะชีวิต 4.1.1 ความหมายของทกั ษะชีวติ ทกั ษะชีวิต (Life Skill) หมายถึง ความสามารถเชิงสังคม จิตวิทยา หรือคุณลกั ษณะของบุคคลที่ช่วยให้เผชิญสถานการณ์ต่าง ๆ ท่ีเกิดข้ึนในชีวิตประจาวนั ไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ มีชีวิตอย่างมีความสุข ท่ามกลางความเปล่ียนแปลงของสงั คม 4.1.2 องคป์ ระกอบของทกั ษะชีวิต การเรียนรู้เร่ืองทกั ษะชีวติ คือ การศึกษาทาความเขา้ ใจกบั พฤติกรรมการเรียนรู้ 3 ดา้ นดา้ นพทุ ธิพิสัย ดา้ นจิตพิสัย ดา้ นทกั ษะพิสยั 4.1.3 กลวิธีในการสร้างทกั ษะชีวิต จากองคป์ ระกอบของทกั ษะชีวิต 10 ประการ เม่ือจะนาไปจดั กิจกรรมพฒั นาทกั ษะชีวิตใหก้ บั กลุ่มเป้าหมาย สามารถแบ่งไดเ้ ป็น 2 ส่วน ดงั น้ี 1. ทกั ษะชีวิตทว่ั ไป คือ ความสามารถพ้นื ฐานที่ใชเ้ ผชิญปัญหาปกติในชีวิตประจาวนั เช่นความเครียด สุขภาพ การคบเพ่ือน การปรับตวั ครอบครัวแตกแยก การบริโภคอาหาร ฯลฯ 2. ทกั ษะชีวิตเฉพาะ คือ ความสามารถท่ีจาเป็นในการเผชิญปัญหาเฉพาะ เช่น ยาเสพติดโรคเอดส์ ไฟไหม้ น้าท่วม การถูกล่วงละเมิดทางเพศ ฯลฯ 4.2 ทกั ษะการตดั สินใจ 4.2.1 ประเภทของการตดั สินใจ 4.2.2 แนวทางความคิดเพอื่ การตดั สินใจ การตดั สินใจเป็ นทกั ษะที่สาคญั ของแต่ละบุคคลที่ควรไดร้ ับการฝึ กฝน จากเรื่องง่าย ๆ ท่ีตอ้ งตดั สินใจ รอการคิดวิเคราะห์อย่างรอบคอบได้ เมื่อมีปัญหาเร่งด่วนที่ตอ้ งคิดตดั สินใจจะเกิดทกั ษะการคิดอย่างเป็ นระบบ ตามข้นั ตอนอย่างรวดเร็วเกิดข้ึน ส่งผลให้เกิดทางเลือกท่ีบุคคลเลือกกระทามีผลท่ีเกิดข้ึนด้านบวกกับตัวเอง และส่ิงสาคัญท่ีสุดคือการกลา้ รับผิดชอบส่ิงท่ีตัวเองเลือกท่ีจะกระทา รวมท้ังการ
21ตดั สินใจในเร่ืองเกี่ยวกบั การมีเพศสัมพนั ธ์ ซ่ึงถือเป็นเรื่องที่สาคญั มาก เพราะการตดั สินใจผดิ พลาดจะทาให้เกิดปัญหาต่าง ๆ ตามมามากมายอยา่ งที่เห็นกนั ในปัจจุบนั 4.3 ทกั ษะการส่ือสาร การส่ือสาร คือ กระบวนการแลกเปลี่ยนขา่ วสารเกิดข้ึนโดยการถ่ายทอดสารจากบุคคลฝ่ ายหน่ึงซ่ึงทาหนา้ ที่ส่งสารผา่ นส่ือหรือช่องทางต่าง ๆ ไปยงั ผรู้ ับสารโดยมีวตั ถปุ ระสงคอ์ ยา่ งใดอยา่ งหน่ึง 4.3.1 บุคลิกภาพเก่ียวกบั การสื่อสารเพอื่ แสดงความคิดเห็น 4.3.2 องคป์ ระกอบท่ีสาคญั ในการส่ือสาร 4.3.3 ความสาคญั ของการสื่อสาร 4.3.4 วตั ถุประสงคข์ องการส่ือสาร 4.3.5 หลกั ในการสื่อสาร 4.3.6 อุปสรรคของการสื่อสาร 4.4 ทกั ษะการปฏิเสธ การปฏิเสธ หมายถึง การไม่รับ ไม่ยอมรับ เช่น ปฏิเสธการเชิญ ไม่ยอมรับขอ้ เท็จจริง เช่นปฏิเสธขอ้ กล่าวหา แสดงความหมายตรงกนั ขา้ มกบั ยนื ยนั รับ หรือยอมรับ 4.4.1 ข้นั ตอนการปฏิเสธโดยการบอกยนื ยนั ความตอ้ งการของตวั เอง 4.4.2 หลกั ในการปฏิเสธ 4.4.3 การใชท้ กั ษะการปฏิเสธ 4.4.4 ประโยชนข์ องการปฏิเสธ 4.5 ทกั ษะการต่อรอง ทกั ษะการต่อรอง หมายถึง กระบวนการติดต่อส่ือสาร เพื่อร่วมกนั ตดั สินใจและแกไ้ ขปัญหาโดยแต่ละฝ่ ายจะแสดงความตอ้ งการ ความรู้สึก ความคิดเห็น ตลอดจนความคาดหวงั ของตนเองให้ทราบเพอ่ื ใหเ้ กิดการเปล่ียนแปลงจากความต้งั ใจเดิมมาคลอ้ ยตามตนเอง โดยรักษาไวซ้ ่ึงสมั พนั ธภาพที่ดีต่อกนั 4.5.1 ความสาคญั ของการเจรจาต่อรอง 4.5.2 การสร้างวิธีการเจรจาต่อรองที่เหมาะสมสื่อและแหล่งการเรียนรู้ 1. หนงั สือเพศวถิ ีศึกษา หน่วยท่ี 4 2. แบบฝึกหดั ใบกิจกรรมของหน่วยท่ี 4 3. แบบทดสอบและแบบประเมินพฤติกรรม หน่วยท่ี 4 4. แหล่งสืบคน้ ขอ้ มูลหอ้ งสมุดวิทยาลยั ศนู ยว์ ิทยบริการ หอ้ ง Internet
22กจิ กรรมการเรียนรู้ (สัปดาห์ที่ 10/18 คาบที่ 19–20/36) ข้ันเตรียม 1. ครูขานชื่อผเู้ รียน 2. ครูตรวจสอบความพร้อมในการเรียน ข้นั นาเข้าสู่บทเรียน 3. ครูใหน้ กั เรียนทดสอบก่อนเรียน หน่วยที่ 4 4. ครูต้งั คาถามเพอ่ื นาเขา้ สู่บทเรียนเรื่อง เขา้ ใจทกั ษะชีวิต 5. นกั เรียนตอบคาถามที่ครูถาม ข้ันเรียนรู้ 6. ครูอธิบาย ถาม-ตอบในเรื่อง เขา้ ใจทกั ษะชีวติ 7. ครูใหน้ กั เรียนทาแบบฝึกหดั หน่วยท่ี 4 ขอ้ 1–2 8. ครูใหน้ กั เรียนจบั กลุ่มปฏิบตั ิกิจกรรมที่ 4.1 9. ครูและนกั เรียนร่วมกนั เฉลยแบบฝึกหดั และกิจกรรม ข้ันสรุป 10. ครูสรุปเน้ือหาสาระสาคญั ในบทเรียนกจิ กรรมการเรียนรู้ (สัปดาห์ที่ 11/18 คาบท่ี 21–22/36) (ต่อ) ข้นั เตรียม 1. ครูขานชื่อผเู้ รียน 2. ครูทบทวน ใหข้ อ้ มูลยอ้ นกลบั ในหวั ขอ้ ในเรื่องเขา้ ใจทกั ษะชีวติ ข้ันนาเข้าสู่บทเรียน 3. ครูต้งั คาถามเพ่อื นาเขา้ สู่บทเรียนเร่ือง ทกั ษะการตดั สินใจ 4. นกั เรียนตอบคาถามที่ครูถาม ข้ันเรียนรู้ 5. ครูอธิบาย ถาม-ตอบในหวั ขอ้ ทกั ษะการตดั สินใจ 6. ครูใหน้ กั เรียนปฏิบตั ิตามกิจกรรมท่ี 4.2 ข้ันสรุป 7. ครูสรุปเน้ือหาสาระสาคญั ในบทเรียนและมอบหมายงานกจิ กรรมการเรียนรู้ (สัปดาห์ที่ 12/18 คาบที่ 23–24/36) (ต่อ) ข้นั เตรียม 1. ครูขานชื่อผเู้ รียน
23 2. ครูทบทวน ใหข้ อ้ มูลยอ้ นกลบั ในหวั ขอ้ ในเร่ืองทกั ษะการตดั สินใจ ข้นั นาเข้าสู่บทเรียน 3. ครูต้งั คาถามเพอ่ื นาเขา้ สู่บทเรียนเรื่อง ทกั ษะการสื่อสารและทกั ษะการปฏิเสธ 4. นกั เรียนตอบคาถามท่ีครูถาม ข้นั เรียนรู้ 5. ครูอธิบาย ถาม-ตอบในหวั ขอ้ ทกั ษะการส่ือสารและทกั ษะการปฏิเสธ 6. ครูใหน้ กั เรียนปฏิบตั ิตามกิจกรรมท่ี 4.3 ข้นั สรุป 7. ครูสรุปเน้ือหาสาระสาคญั ในบทเรียนและมอบหมายงานกจิ กรรมการเรียนรู้ (สัปดาห์ท่ี 13/18 คาบท่ี 25–26/36) (ต่อ) ข้นั เตรียม 1. ครูขานชื่อผเู้ รียน 2. ครูทบทวน ใหข้ อ้ มูลยอ้ นกลบั ในหวั ขอ้ ในเร่ืองทกั ษะการปฏิเสธ ข้นั นาเข้าสู่บทเรียน 3. ครูต้งั คาถามเพื่อนาเขา้ สู่บทเรียนเร่ือง ทกั ษะการต่อรอง 4. นกั เรียนตอบคาถามท่ีครูถาม ข้ันเรียนรู้ 5. ครูอธิบาย ถาม-ตอบในหวั ขอ้ ทกั ษะการต่อรอง 6. ครูใหน้ กั เรียนทาแบบฝึกหดั หน่วยที่ 4 ตอนท่ี 2 และใหน้ กั เรียนปฏิบตั ิตามกิจกรรมท่ี 4.4 ข้ันสรุป 7. ครูสรุปเน้ือหาสาระสาคญั ในบทเรียนและมอบหมายงาน 8. ครูใหน้ กั เรียนทดสอบหลงั เรียนหน่วยท่ี 4การวดั ผลและประเมินผลการวดั ผล การประเมินผล(ใชเ้ ครื่องมือ) (นาผลเทียบกบั เกณฑแ์ ละแปลความหมาย)1. แบบทดสอบก่อนเรียน (Pre–test) หน่วยท่ี 4 (ไวเ้ ปรียบเทียบกบั คะแนนสอบหลงั เรียน)2. แบบสงั เกตการทางานกลุ่มและการนาเสนอผลงานกลุ่ม เกณฑผ์ า่ น 60%3. แบบฝึกหดั ในหน่วยที่ 4 เกณฑผ์ า่ น 50%4. แบบทดสอบหลงั เรียน (Post–test) หน่วยท่ี 4 เกณฑผ์ า่ น 50%5. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ตามสภาพจริง เกณฑผ์ า่ น 60%
24งานทีม่ อบหมาย ใหน้ กั เรียนทาแบบฝึกหดั หน่วยท่ี 4 และใบกิจกรรมใหส้ มบูรณ์ ส่งในคร้ังต่อไปผลงาน/ชิ้นงาน/ความสาเร็จของผู้เรียน 1. คะแนนจากแบบฝึกหดั ในหน่วยที่ 4 2. คะแนนแบบทดสอบหลงั เรียน (Post–test) หน่วยที่ 4 3. ผลจากการปฏิบตั ิตามใบกิจกรรมเอกสารอ้างองิ 1. หนงั สือเรียนวิชาเพศวิถีศึกษา รหสั วชิ า 2000–1607 บริษทั ศูนยห์ นงั สือเมืองไทย 2. เวบ็ ไซตแ์ ละสื่อสิ่งพมิ พท์ ่ีเกี่ยวขอ้ งกบั เน้ือหาบทเรียน
25บนั ทกึ หลงั การสอน 1. ผลการใช้แผนการจัดการเรียนรู้.................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. 2. ผลการเรียนของนักเรียน/ผลการสอนของครู/ปัญหาทพ่ี บ.................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. 3. แนวทางการแก้ปัญหา..................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ลงช่ือ............................................... ลงช่ือ............................................... (...............................................) (.............................................) ตวั แทนนกั เรียน ครูผสู้ อน
26 แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 5 หน่วยที่ 5 ช่ือวชิ า เพศวิถีศึกษา (Sexuality Education) รหัส 2000–1607 เวลาเรียนรวม 36 คาบ ช่ือหน่วย รู้จกั สิทธิ สอนคร้ังที่ 14–17/18ช่ือเรื่อง รู้จกั สิทธิ จานวน 8 คาบหัวข้อเร่ือง กิจกรรมที่ 5.1 สานวนไทยเก่ียวกบั เพศ กิจกรรมที่ 5.2 พฤติกรรมทางเพศท่ีเหมาะสม 5.1 การแสดงออกทางเพศ 5.2 อารมณ์ทางเพศของวยั รุ่น และไม่เหมาะสม 5.3 อิทธิพลทางสงั คมที่มีผลต่อพฤติกรรมทางเพศ กิจกรรมท่ี 5.3 หญิงหรือชายใครลาบากกวา่ กนั 5.4 พฤติกรรมทางเพศกบั สงั คมและวฒั นธรรมไทย กิจกรรมที่ 5.4 การแสดงออกทางเพศ 5.5 สิทธิและความเสมอภาคทางเพศ 5.6 การเลือกใชแ้ หล่งบริการช่วยเหลือ แบบฝึกหดั หน่วยที่ 5แนวคดิ สาคญั การแสดงออกทางเพศ จะมีความแตกต่างของแต่ละบุคคลข้ึนอยกู่ บั ปัจจยั ทางครอบครัว เพือ่ นสังคมและวฒั นธรรม โดยธรรมชาติอารมณ์ทางเพศของวยั รุ่นข้ึนอยอู่ บั ฮอร์โมนในร่างกายและอาจเกิดจากส่ิงเร้าภายนอก เช่น การฟัง ไดก้ ลิ่น เห็นภาพ ทาใหเ้ กิดจินตนาการ อีกท้งั การสมั ผสั อวยั วะเพศ จะเป็นส่ิงกระตุน้ ใหเ้ กิดอามรณ์ทางเพศได้ ดงั น้นั จึงตอ้ งเรียนรู้วธิ ีที่จะควบคุมตนเอง ช่วงวยั รุ่นสภาพแวดลอ้ มทางสงั คม เช่น ที่พกั อาศยั อยใู่ กลแ้ หล่งยวั่ ยุ รวมถึงการคบเพื่อนจะมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมทางเพศ ค่านิยมทางเพศ รักนวลสงวนตวั กย็ งั เป็นค่านิยมที่เหมาะสมกบั สงั คมไทยสมรรถนะย่อย แสดงความรู้และประยกุ ตใ์ ชค้ วามรู้เกี่ยวกบั สิทธิตามวถิ ีชีวิตจุดประสงค์การปฏิบัติ ด้านความรู้ 1. อธิบายการแสดงออกทางเพศ 2. อธิบายอารมณ์ทางเพศของวยั รุ่น 3. ยกตวั อยา่ งอิทธิพลทางสงั คมท่ีมีผลต่อพฤติกรรมทางเพศ 4. อธิบายพฤติกรรมทางเพศกบั สงั คมและวฒั นธรรมไทยท่ีเหมาะสมและไม่เหมาะสม
27 5. อธิบายสิทธิและความเสมอภาคทางเพศ 6. บอกแหล่งบริการช่วยเหลือตามสิทธิของตน ด้านทักษะ 1. อธิบายความหมายของสานวนไทยที่เกี่ยวกบั เพศ 2. บอกพฤติกรรมทางเพศที่เหมาะสมและไม่เหมาะสม 3. ฟังความคิดเห็นเกี่ยวกบั บทบาทและหนา้ ที่ของเพศตรงขา้ ม 4. แสดงความคิดเห็นในเรื่องสิทธิในการแสดงออกทางเพศ ด้านคุณธรรม จริยธรรม/บรู ณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตรงต่อเวลา มีวินยั มีความรับผดิ ชอบ ละเอียดรอบคอบ ทางานเรียบร้อย สนใจใฝ่รู้ มีความซื่อสตั ย์ขยนั หมนั่ เพยี ร ปฏิบตั ิตนในแนวทางท่ีดีเนื้อหาสาระ 5.1 การแสดงออกทางเพศ พฤติกรรมทางเพศ หมายถึง การกระทาหรือการปฏิบตั ิตนท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั เร่ืองเพศ เป็นพฤติกรรมที่สามารถมองเห็นและสงั เกตไดด้ ว้ ยตาเปล่า ซ่ึงมีความแตกต่างกนั ของแต่ละบุคคล ท้งั น้ีข้ึนอยกู่ บั ปัจจยั ที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมทางเพศ ซ่ึงสามารถแบ่งออกไดเ้ ป็น 4 ปัจจยั คือ ครอบครัว เพือ่ น สังคมและวฒั นธรรม 5.1.1 อิทธิพลของครอบครัว 5.1.2 อิทธิพลจากเพ่ือน 5.1.3 อิทธิพลจากสังคม 5.1.4 อิทธิพลของวฒั นธรรม 5.2 อารมณ์ทางเพศของวยั รุ่น สังคมไทยยงั ไม่ยอมรับการมีเพศสัมพนั ธ์ในเด็กวยั รุ่น เนื่องจากวยั รุ่นยงั ขาดวุฒิภาวะและขาดความพร้อมท่ีจะต้องรับผิดชอบต่อหน้าที่ในการดูแลครอบครัว นอกจากน้ีสังคมไทยยงั ยึดมั่นต่อขนบธรรมเนียม ประเพณีอนั ดีงามที่จะให้การยอมรับการมีเพศสัมพนั ธ์ได้ คือ หญิงชายคู่น้นั ตอ้ งผา่ นการสมรสหรือแต่งงานกนั ใหถ้ ูกตอ้ งก่อน ดงั น้นั การควบคุมอารมณ์ทางเพศจึงเป็นส่ิงสาคญั 5.2.1 ทาอยา่ งไรเมื่อเกิดอารมณ์ทางเพศ 5.2.2 การควบคุมอารมณ์ทางเพศ 5.2.3 การจดั การกบั อารมณ์ทางเพศ 5.3 อิทธิพลทางสงั คมท่ีมีผลต่อพฤติกรรมทางเพศ โดยธรรมชาติแลว้ พฤติกรรมมนุษยน์ อกจากจะเกิดจากแรงขบั ทางเพศตามธรรมชาติแลว้ ยงัข้ึนอยกู่ บั ส่ิงอื่น ๆ ทางสงั คมดว้ ย ในปัจจุบนั สภาพแวดลอ้ มจะมีอิทธิพลเหนือจิตใจและอารมณ์ของเดก็วยั รุ่นเนื่องจากเป็นวยั แห่งการเรียนรู้และการสงั เกตพฤติกรรมบุคคลในสงั คม และเป็นวยั ที่มีความรู้สึกไวต่อ
28สิ่งกระตุน้ ดงั น้นั ปัจจยั ดา้ นจิตสงั คมแบ่งออกเป็น 3 ดา้ น คือดา้ นสังคม ดา้ นครอบครัว ดา้ นการคบเพอื่ น 5.4 พฤติกรรมทางเพศกบั สงั คมและวฒั นธรรมไทย วฒั นธรรมทางเพศ หมายถึง ระบบของการใหค้ วามหมาย ความรู้ และความเช่ือต่าง ๆ รวมท้งัการปฏิบตั ิที่มีผลต่อโครงสร้างของระบบความคิด ความเชื่อ และพฤติกรรมทางเพศของบุคคลในบริบทของสงั คมที่แตกตา่ งกนั ผา่ นบทบาททางสงั คม บรรทดั ฐาน และทศั นคติจากสถาบนั ต่าง ๆ ในสงั คม วฒั นธรรมที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมทางเพศที่สาคญั คือ 5.4.1 ความเชื่อเกี่ยวกบั บทบาททางเพศและการปฏิบตั ิตนต่อเพศตรงขา้ ม 5.4.2 คา่ นิยมทางเพศ 5.5 สิทธิและความเสมอภาคทางเพศ สังคมไทยในสมยั โบราณกาหนดความเสมอภาคทางเพศระหว่างหญิงชาย โดยเฉพาะในเรื่องของการแสดงออกทางเพศอยา่ งไม่ค่อยเท่าเทียมกนั นกั แต่เม่ือวฒั นธรรมตะวนั ตกเริ่มเผยแพร่เขา้ มา ค่านิยมหลายอย่างของสังคมไทยเราก็ไดม้ ีการปรับปรุงให้สอดคลอ้ งกบั ความเป็ นสากล และเร่ืองความเสมอภาคทางเพศก็เป็ นอีกเร่ืองหน่ึงที่มีการเรียกร้องให้มีการแกไ้ ข จนสามารถดาเนินการแกไ้ ขในหลายดา้ นอยา่ งท่ีเห็นในปัจจุบนั 5.5.1 ความเสมอภาคทางเพศ 5.5.2 สิทธิทางเพศ 5.6 การเลือกใชแ้ หล่งบริการช่วยเหลือ 5.6.1 หน่วยงานสาหรับผทู้ ี่ถูกทาร้ายร่างกาย ขบู่ งั คบั ขืนใจใหม้ ีเพศสมั พนั ธ์ ข่มขืน หรือถูกทอดทิ้ง 5.6.2 หน่วยงานสาหรับผทู้ ี่ตอ้ งการความช่วยเหลือในเร่ืองสุขภาพและโรคเกี่ยวกบั เพศสมั พนั ธ์สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 1. หนงั สือเพศวิถีศึกษา หน่วยท่ี 5 2. แบบฝึกหดั ใบกิจกรรมของหน่วยท่ี 5 3. แบบทดสอบและแบบประเมินพฤติกรรม หน่วยที่ 5 4. แหล่งสืบคน้ ขอ้ มูลหอ้ งสมุดวิทยาลยั ศูนยว์ ทิ ยบริการ หอ้ ง Internetกจิ กรรมการเรียนรู้ (สัปดาห์ที่ 14/18 คาบที่ 27–28/36) ข้นั เตรียม 1. ครูขานช่ือผเู้ รียน 2. ครูตรวจสอบความพร้อมในการเรียน
29 ข้ันนาเข้าสู่บทเรียน 3. ครูใหน้ กั เรียนทดสอบก่อนเรียน หน่วยที่ 5 4. ครูต้งั คาถามเพอื่ นาเขา้ สู่บทเรียนเร่ือง การแสดงออกทางเพศ 5. นกั เรียนตอบคาถามท่ีครูถาม ข้ันเรียนรู้ 6. ครูอธิบาย ถาม-ตอบในเร่ือง การแสดงออกทางเพศและอารมณ์ทางเพศของวยั รุ่น 7. ครูใหน้ กั เรียนทาแบบฝึกหดั หน่วยท่ี 5 ขอ้ 1–4 8. ครูใหน้ กั เรียนจบั กลุ่มปฏิบตั ิกิจกรรมท่ี 5.1 9. ครูและนกั เรียนร่วมกนั เฉลยแบบฝึกหดั และกิจกรรม ข้นั สรุป 10. ครูสรุปเน้ือหาสาระสาคญั ในบทเรียนกจิ กรรมการเรียนรู้ (สัปดาห์ท่ี 15/18 คาบที่ 29–30/36) (ต่อ) ข้ันเตรียม 1. ครูขานชื่อผเู้ รียน 2. ครูทบทวน ใหข้ อ้ มูลยอ้ นกลบั ในหวั ขอ้ ในเร่ือง อารมณ์ทางเพศของวยั รุ่น ข้ันนาเข้าสู่บทเรียน 3. ครูต้งั คาถามเพื่อนาเขา้ สู่บทเรียนเร่ือง อิทธิพลของสงั คมท่ีมีต่อพฤติกรรมทางเพศ 4. นกั เรียนตอบคาถามที่ครูถาม ข้ันเรียนรู้ 5. ครูอธิบาย ถาม-ตอบในหวั ขอ้ อิทธิพลของสงั คมท่ีมีต่อพฤติกรรมทางเพศ 6. ครูใหน้ กั เรียนปฏิบตั ิตามกิจกรรมที่ 5.2 ข้ันสรุป 7. ครูสรุปเน้ือหาสาระสาคญั ในบทเรียนและมอบหมายงานกจิ กรรมการเรียนรู้ (สัปดาห์ท่ี 16/18 คาบท่ี 31–32/36) (ต่อ) ข้ันเตรียม 1. ครูขานชื่อผเู้ รียน 2. ครูทบทวน ใหข้ อ้ มูลยอ้ นกลบั ในหวั ขอ้ ในเรื่องพฤติกรรมทางเพศ
30 ข้นั นาเข้าสู่บทเรียน 3. ครูต้งั คาถามเพ่อื นาเขา้ สู่บทเรียนเรื่อง สิทธิและความเสมอภาคทางเพศ 4. นกั เรียนตอบคาถามท่ีครูถาม ข้ันเรียนรู้ 5. ครูอธิบาย ถาม-ตอบในหวั ขอ้ พฤติกรรมทางเพศกบั สงั คมและวฒั นธรรมไทยและ สิทธิและความเสมอภาคทางเพศ 6. ครูใหน้ กั เรียนปฏิบตั ิตามกิจกรรมที่ 5.3 ข้นั สรุป 7. ครูสรุปเน้ือหาสาระสาคญั ในบทเรียนและมอบหมายงานกจิ กรรมการเรียนรู้ (สัปดาห์ที่ 17/18 คาบท่ี 25–26/36) (ต่อ) ข้ันเตรียม 1. ครูขานชื่อผเู้ รียน 2. ครูทบทวน ใหข้ อ้ มูลยอ้ นกลบั ในหวั ขอ้ ในเร่ืองท่ีเรียนมา ข้นั นาเข้าสู่บทเรียน 3. ครูต้งั คาถามเพื่อนาเขา้ สู่บทเรียนเรื่อง แหล่งบริการช่วยเหลือ 4. นกั เรียนตอบคาถามที่ครูถาม ข้ันเรียนรู้ 5. ครูอธิบาย ถาม-ตอบในหวั ขอ้ แหล่งบริการช่วยเหลือ 6. ครูใหน้ กั เรียนทาแบบฝึกหดั หน่วยท่ี 5 ตอนท่ี 2 และใหน้ กั เรียนปฏิบตั ิตามกิจกรรมท่ี 5.4 ข้ันสรุป 7. ครูสรุปเน้ือหาสาระสาคญั ในบทเรียนและมอบหมายงาน 8. ครูใหน้ กั เรียนทดสอบหลงั เรียนหน่วยที่ 5การวดั ผลและประเมนิ ผลการวัดผล การประเมนิ ผล(ใชเ้ ครื่องมือ) (นาผลเทียบกบั เกณฑแ์ ละแปลความหมาย)1. แบบทดสอบก่อนเรียน (Pre–test) หน่วยที่ 4 (ไวเ้ ปรียบเทียบกบั คะแนนสอบหลงั เรียน)2. แบบสังเกตการทางานกลุม่ และการนาเสนอผลงานกลุ่ม เกณฑผ์ า่ น 60%3. แบบฝึกหดั ในหน่วยที่ 4 เกณฑผ์ า่ น 50%4. แบบทดสอบหลงั เรียน (Post–test) หน่วยที่ 4 เกณฑผ์ า่ น 50%5. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ตามสภาพจริง เกณฑผ์ า่ น 60%
31งานทม่ี อบหมาย 1. ใหน้ กั เรียนทาแบบฝึกหดั หน่วยท่ี 5 และใบกิจกรรมใหส้ มบูรณ์ ส่งในคร้ังต่อไป 2. ใหท้ บทวนเน้ือหาเพ่ือเตรียมสอบปลายภาคเรียนผลงาน/ชิ้นงาน/ความสาเร็จของผู้เรียน 1. คะแนนจากแบบฝึกหดั ในหน่วยท่ี 5 2. คะแนนแบบทดสอบหลงั เรียน (Post–test) หน่วยท่ี 5 3. ผลจากการปฏิบตั ิตามใบกิจกรรมเอกสารอ้างองิ 1. หนงั สือเรียนวิชาเพศวถิ ีศึกษา รหสั วิชา 2000–1607 บริษทั ศูนยห์ นงั สือเมืองไทย 2. เวบ็ ไซตแ์ ละสื่อส่ิงพมิ พท์ ี่เกี่ยวขอ้ งกบั เน้ือหาบทเรียน
32บันทกึ หลงั การสอน 1. ผลการใช้แผนการจัดการเรียนรู้.................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. 2. ผลการเรียนของนักเรียน/ผลการสอนของครู/ปัญหาทพ่ี บ.................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. 3. แนวทางการแก้ปัญหา..................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ลงชื่อ............................................... ลงชื่อ............................................... (...............................................) (.............................................) ตวั แทนนกั เรียน ครูผสู้ อน
Search
Read the Text Version
- 1 - 32
Pages: