Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ชุดที่1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทัศนศิลป์

ชุดที่1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทัศนศิลป์

Published by susiefineart, 2021-09-08 11:04:34

Description: ชุดที่1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทัศนศิลป์

Search

Read the Text Version

26 ขั้นตอนการใช้ชุดการสอนศิลปะ “ทัศนธาตุสร้างสรรค์” ชดุ ที่ 1 เรอื่ ง ความรเู้ บอ้ื งต้นเกย่ี วกบั ทัศนศลิ ป์ ขั้นตอนการใชส้ าหรบั ครู 1. ครูชี้แจงข้ันตอนการใช้ชุดการสอนศิลปะ “ทศั นธาตุสร้างสรรค์” ชุดท่ี 1 เร่อื ง ความรเู้ บอ้ื งตน้ เกี่ยวกบั ทศั นศลิ ป์ และบทบาทของผเู้ รียน 2. จดั กจิ กรรมการเรียนแต่ละชดุ ตามลาดบั ตามค่มู อื ท่กี าหนดไวใ้ น ชดุ ที่ 1 เรอ่ื ง ความรเู้ บ้อื งต้นเกย่ี วกบั ทศั นศิลป์ 3. ครใู ห้คาแนะนา ปรกึ ษา สาธิต และอานวยความสะดวกในการใชช้ ุด การสอน ชุดที่ 1 เรือ่ ง ความรเู้ บื้องต้นเก่ยี วกับทศั นศลิ ป์ ใหเ้ ป็นไปตามลาดับ ขั้นตอน ชดุ การสอนศลิ ปะ “ ทัศนธาตสุ ร้างสรรค์” ชุดที่ 1 เรือ่ ง ความรู้เบอื้ งต้นเกี่ยวกบั ทัศนศิลป์ ครูจริ ปรยี า ชยู อด

27 ขั้นตอนการใชส้ าหรับนักเรยี น 1. นกั เรยี นทาแบบทดสอบก่อนเรยี น ชุดการสอนศลิ ปะ เรื่อง ความรู้เบอื้ งตน้ เกี่ยวกับทัศนศิลป์ 2. นกั เรียนศึกษาใบความรู้ 3. นกั เรยี นทาใบงานทา้ ยเรอ่ื ง 4. นักเรยี นทาแบบทดสอบหลังเรียน ชุดการสอนศิลปะ “ ทัศนธาตุสร้างสรรค์” ชุดที่ 1 เรือ่ ง ความรูเ้ บอื้ งต้นเกยี่ วกบั ทศั นศิลป์ ครจู ิรปรยี า ชูยอด

28 สิง่ ท่นี ักเรยี นควรรู้ ชดุ การสอนศลิ ปะ “ทัศนธาตสุ ร้างสรรค์” ชุดที่ 1 เร่ือง ความรู้เบอ้ื งต้นเก่ยี วกับทศั นศลิ ป์ รายวชิ าศลิ ปะ ศ 21101 เปน็ สอื่ การเรียนสาหรบั นกั เรียน ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 ซึ่ง นักเรยี น ควรทราบ ดังนี้ มาตราฐาน/ตัวชวี้ ดั ม. 1/1 ตวั ช้ีวดั ที่ 1 บรรยายความแตกต่างและความคลา้ ยคลงึ กนั ของงานทัศนศิลป์และ สิ่งแวดล้อมโดยใช้ความรู้เร่ืองทศั นธาตุ สาระการเรยี นรู้ 1. อธิบายความหมายของศิลปะและทศั นศลิ ป์ได้ 2. วเิ คราะหค์ วามสมั พนั ธ์ระหว่างศลิ ปะกับมนษุ ย์ได้ 3. ระบุความหมายและจาแนกประเภทของงานทัศนศลิ ป์ได้ สอ่ื – อุปกรณ์ 1. ใบความรทู้ ี่ 1.1 ความหมายของศิลปะและทศั นศิลป์ 2. ใบงานที่ 1.1 ความหมายของศิลปะและทศั นศลิ ป์ 3. ใบความรูท้ ่ี 1.2 ความสัมพันธ์ระหวา่ งศลิ ปะกับมนุษย์ 4. ใบงานที่ 1.2 ความสัมพันธร์ ะหว่างศิลปะกบั มนษุ ย์ 5. ใบความรูท้ ่ี 1.3 ประเภทของงานทัศนศิลป์ 6. ใบงานท่ี 1.3 ประเภทของงานทัศนศลิ ป์ 7. CD ประกอบชดุ การสอนศลิ ปะ “ทัศนธาตสุ รา้ งสรรค์” ชุดท่ี 1 เรอ่ื ง ความรู้เบือ้ งตน้ เกย่ี วกบั ทศั นศลิ ป์ เวลา 2 ชั่วโมง ชุดการสอนศลิ ปะ “ ทัศนธาตุสรา้ งสรรค์” ชุดที่ 1 เร่ือง ความรเู้ บอ้ื งต้นเกย่ี วกบั ทศั นศิลป์ ครจู ริ ปรยี า ชยู อด

29 แบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียน กอ่ นเรียน ชุดการสอนศลิ ปะ “ทศั นธาตสุ รา้ งสรรค์\" รายวิชา ศลิ ปะ ศ 21101 กลมุ่ สาระการเรยี นร้ศู ิลปะ ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 เวลาสอบ 30 นาที คะแนน 30 คะแนน คาชีแ้ จง 1. แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น กลมุ่ สาระการเรียนรูศ้ ลิ ปะฉบบั นี้ เปน็ แบบปรนยั เลือกตอบชนดิ 4 ตวั เลอื ก 2. แบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นฉบบั นม้ี ีทง้ั หมด 30 ข้อ ใชเ้ วลาทดสอบ 30 นาที 3. ใหน้ กั เรยี นทาแบบทดสอบในกระดาษคาตอบท่ีแจกใหเ้ ท่านัน้ 4. ในการตอบใหเ้ ลือกคาตอบท่ีถูกต้องเพียงคาตอบเดยี ว โดยทาเคร่ืองหมาย X ลงในกระดาษคาตอบใหต้ รงกับตวั เลอื ก ที่ต้องการตามตวั อย่างดงั น้ี ข้อ ก ข ค ง 0X 5. ถา้ ต้องการเปลีย่ นคาตอบใหข้ ดี ทับหรอื ลงข้อความเดิมก่อน แล้วจงึ เลอื กใหมต่ ามตอ้ งการ ข้อ ก ข ค ง 0X X 6. ใหน้ กั เรยี นทาแบบทดสอบให้ครบทุกขอ้ ชดุ การสอนศลิ ปะ “ ทศั นธาตุสร้างสรรค์” ชุดท่ี 1 เร่ือง ความรเู้ บ้ืองต้นเกย่ี วกับทศั นศิลป์ ครูจิรปรยี า ชูยอด

30 มาตรฐาน/ตวั ชีว้ ัด : ม. 1/1 ตวั ชีว้ ัดท่ี 1 บรรยายความแตกต่างและความคลา้ ยคลึงกันของงาน ทัศนศิลปแ์ ละสิ่งแวดลอ้ มโดยใช้ความรูเ้ รื่องทัศนธาตุ 1. ขอ้ ใดกล่าวไมถ่ ูกต้อง เกี่ยวกับ ศลิ ปะ ก. ศิลปะ คอื สงิ่ ท่มี นุษยส์ รา้ งสรรค์ขึน้ ข. ศลิ ปะ คือส่งิ ทีเ่ กดิ ข้ึนเองตามธรรมชาติ ค. ศิลปะ คือการสอื่ สารอย่างหน่ึง ระหวา่ งมนุษย์ ง. ศลิ ปะ คอื การเลียนแบบธรรมชาติ 2. ข้อใดกล่าวได้ไม่ถูกต้องเกี่ยวกับ “ ศิลปะ คอื การส่ือสารอย่างหน่ึง ระหวา่ งมนุษย์ ” ก. ใช้สัญลักษณ์ ข. ใช้รปู ภาพ ค. ใช้ตัวอักษร ง. ใช้เสยี ง 3. ขอ้ ใดกลา่ วถูกตอ้ ง เกี่ยวกบั ความหมายของ ทัศนศิลป์ ก. ทัศนศลิ ป์ หมายถงึ งานศลิ ปะท่สี มั ผสั ความงามได้ดว้ ยการมองเห็น ข. ทัศนศลิ ป์ หมายถงึ การสรา้ งสรรค์งานศิลปะท่เี น้นความสวยงาม ค. ทศั นศิลป์ หมายถงึ งานศลิ ปะด้านการก่อสรา้ ง ง. ทศั นศลิ ป์ หมายถงึ งานศลิ ปะที่มีลกั ษณะ 3 มติ ิทกุ ประเภท 4. ศลิ ปะกบั มนษุ ย์ มีความสมั พนั ธก์ นั มาตง้ั แต่สมัยใด ก. สมัยกรีก ข. สมยั ยคุ ก่อนประวัติศาสตร์ ค. สมยั สุโขทยั ง. สมัยอยี ปิ ต์ 5. มนษุ ยย์ คุ ก่อนประวตั ศิ าสตร์ สร้างสรรคผ์ ลงานศลิ ปะเปน็ เรื่องราวเกย่ี วกบั ข้อใด ก. ภาพทวิ ทัศน์ ข. ภาพการลา่ สัตว์ ค. เรือ่ งราวในชวี ติ ประจาวัน ง. ข้อ ข และ ค ถูก ชุดการสอนศิลปะ “ ทัศนธาตสุ ร้างสรรค์” ชุดที่ 1 เร่ือง ความรู้เบอ้ื งต้นเกี่ยวกบั ทศั นศิลป์ ครูจริ ปรยี า ชยู อด

31 6. ทศั นศิลป์ แบง่ เป็นก่ีประเภท ก. 2 ประเภท ข. 3 ประเภท ค. 4 ประเภท ง. 5 ประเภท 7. ข้อใดกล่าวถึง งานจิตรกรรม ได้ถกู ต้องที่สดุ ก. การสร้างสรรค์ผลงาน ที่เกิดจากการลาก ขูด ขีด หรือระบายสี ลงบนพื้นระนาบ ข. การสร้างสรรค์ผลงานลงบนกระดาษ เทา่ น้ัน ค. การสรา้ งสรรค์ผลงานดว้ ยสีน้า สีโปสเตอร์ สีนา้ มัน ง. การสรา้ งสรรค์ผลงาน ทมี่ ีลกั ษณะ 3 มติ ิ 8. ขอ้ ใดจัดเปน็ งานจิตรกรรม ก. รปู ปั้นพระบรมรูปทรงมา้ ข. ภาพแกะสลกั เทวดาทีป่ ระตโู บสถ์ ค. ภาพเขยี นสนี ้ามนั ง. เรอื นไทย ใช้คาตอบตอ่ ไปนี้ ตอบคาถามขอ้ 9 – 10 ก. งานจิตรกรรม ข. งานประติมากรรม ค. งานสถาปัตยกรรม ง. งานภาพพิมพ์ 9. จดั เป็นผลงานทศั นศลิ ป์ ประเภทใด 10. จดั เปน็ ผลงานทศั นศลิ ป์ ประเภทใด ชดุ การสอนศิลปะ “ ทศั นธาตสุ รา้ งสรรค์” ชดุ ท่ี 1 เร่ือง ความร้เู บ้อื งตน้ เกยี่ วกบั ทัศนศลิ ป์ ครจู ริ ปรียา ชยู อด

32 11. ภาพวาดและภาพเขียน มคี วามแตกตา่ งกันหรอื ไม่ อย่างไร ก. ไมแ่ ตกต่าง เพราะ เป็นงาน 2 มติ ิ เหมอื นกนั ข. ไม่แตกต่าง เพราะ ใช้วสั ดใุ นการสร้างงานเหมือนกัน ค. แตกต่าง เพราะ ใชว้ สั ดใุ นการสรา้ งงานไมเ่ หมือนกัน ง. แตกตา่ ง เพราะ ภาพวาดเปน็ งาน 2 มติ ิ ภาพเขียนเป็นงาน 3 มติ ิ 12. ข้อใดเรียกได้ถกู ต้อง ก. ภาพวาดสีโปสเตอร์ ข. ภาพเขยี นสีน้า ค. ภาพวาดสอี ะครลิ คิ ง. ภาพเขียนสไี ม้ 13. งานประติมากรรม แบ่งเปน็ กป่ี ระเภท ก. 2 ประเภท ข. 3 ประเภท ค. 4 ประเภท ง. 5 ประเภท 14. ขอ้ ใดจัดเปน็ งานประติมากรรม แบบนูนสงู ก. พระพทุ ธรปู ข. บานประตูไม้แกะสลัก ค. เหรียญ 5 บาท ง. ภาพเขยี นลายมังกรบนแจกัน 15. ขอ้ ใดไม่จัดเป็น งานสถาปัตยกรรม ก. เจดยี ์ ข. พรี ะมิด ประเทศอยี ิปต์ ค. ภาพวาดวดั พระแกว้ ง. บา้ น ชุดการสอนศิลปะ “ ทัศนธาตุสร้างสรรค์” ชดุ ที่ 1 เรือ่ ง ความรู้เบื้องตน้ เกีย่ วกบั ทศั นศลิ ป์ ครจู ริ ปรียา ชยู อด

33 16. สถาปตั ยกรรมแบบเปิด และสถาปัตยกรรมแบบปดิ มคี วามแตกตา่ งกันในขอ้ ใด ก. ความสวยงาม ข. ประโยชนใ์ ช้สอย ค. ความคงทน ง. ขอ้ ก และ ค ถูกตอ้ ง 17. สถาปัตยกรรมในขอ้ ใด แตกตา่ ง จากพวก ก. เจดีย์ ข. สถานีตารวจ ค. อาคารเรียน ง. วัด 18. ข้อใดจดั เป็น สถาปตั ยกรรม แบบเปิด ท้งั หมด ก. ธนาคาร , สถปู , เจดีย์ ข. บา้ น , โบสถ์ , วิหาร ค. เทวสถาน , พรี ะมดิ , ศาลเจ้าแม่ ง. โรงพยาบาล , ห้างสรรพสินคา้ , สถปู 19. ส่ิงทสี่ าคัญทสี่ ดุ ในงานภาพพิมพ์ คือข้อใด ก. สีน้า ข. พูก่ ัน ค. แมพ่ ิมพ์ ง. จานสี 20. งานภาพพิมพ์ มีลักษณะของงานคลา้ ยกับงานทัศนศลิ ป์ในขอ้ ใด มากทส่ี ุด ก. จิตรกรรม ข. ประติมากรรม ค. สถาปัตยกรรม ง. ทั้ง จิตรกรรม และ สถาปัตยกรรม ชดุ การสอนศลิ ปะ “ ทศั นธาตุสร้างสรรค์” ชุดท่ี 1 เร่ือง ความรู้เบือ้ งตน้ เกีย่ วกบั ทศั นศิลป์ ครูจริ ปรยี า ชยู อด

34 แบบฝกึ หดั ก่อนเรียน ชดุ ที่ 1 เรื่อง ความรเู้ บอ้ื งตน้ เกีย่ วกบั ทศั นศลิ ป์ มาตรฐาน/ตวั ชว้ี ดั : ม. 1/1 ตัวชี้วดั ที่ 1 บรรยายความแตกต่างและความคลา้ ยคลึงกนั ของงาน ทัศนศลิ ปแ์ ละส่ิงแวดล้อมโดยใชค้ วามรู้เร่อื งทัศนธาตุ 1. ขอ้ ใดกลา่ วไมถ่ ูกต้อง เก่ียวกับ ศิลปะ ครจู ิรปรียา ชูยอด ก. ศิลปะ คือส่งิ ที่มนษุ ยส์ ร้างสรรคข์ น้ึ ข. ศลิ ปะ คือส่งิ ทเ่ี กดิ ข้ึนเองตามธรรมชาติ ค. ศลิ ปะ คือการสอ่ื สารอย่างหน่ึง ระหว่างมนษุ ย์ ง. ศลิ ปะ คือการเลียนแบบธรรมชาติ 2. ศลิ ปะกบั มนุษย์ มคี วามสัมพันธก์ นั มาตั้งแต่สมยั ใด ก. สมัยกรีก ข. สมัยยคุ กอ่ นประวัติศาสตร์ ค. สมยั สโุ ขทยั ง. สมยั อยี ปิ ต์ 3. ขอ้ ใดกล่าวถูกตอ้ ง เกี่ยวกับความหมายของ ทัศนศิลป์ ก. ทศั นศิลป์ หมายถึง งานศิลปะทสี่ มั ผสั ความงามไดด้ ว้ ยการมองเหน็ ข. ทัศนศลิ ป์ หมายถึง การสรา้ งสรรคง์ านศิลปะทเ่ี นน้ ความสวยงาม ค. ทศั นศลิ ป์ หมายถงึ งานศิลปะดา้ นการกอ่ สรา้ ง ง. ทัศนศิลป์ หมายถงึ งานศิลปะทม่ี ลี ักษณะ 3 มติ ทิ กุ ประเภท 4. ขอ้ ใด ไมจ่ ัดเปน็ งานทัศนศลิ ป์ ก. เจดยี ์ ข. รูปปน้ั ชา้ ง ค. ภาพเขียนสนี ้า ง. การบรรเลงดนตรีไทย 5. ขอ้ ใดจัดเป็น งานจิตรกรรม ก. รูปปนั้ พระบรมรูปทรงม้า ข. ภาพแกะสลกั เทวดาที่ประตูโบสถ์ ค. ภาพเขียนสีน้ามัน ง. เรอื นไทย ชุดการสอนศิลปะ “ ทัศนธาตุสรา้ งสรรค์” ชดุ ท่ี 1 เรือ่ ง ความรเู้ บ้อื งต้นเกี่ยวกบั ทัศนศลิ ป์

35 6. สถาปตั ยกรรมในขอ้ ใด แตกตา่ ง จากพวก ก. เจดีย์ ข. สถานตี ารวจ ค. อาคารเรียน ง. วัด 7. ข้อใดจัดเป็น สถาปตั ยกรรม แบบปิด ทัง้ หมด ก. ธนาคาร , สถูป , เจดีย์ ข. บา้ น , โบสถ์ , วิหาร ค. เทวสถาน , พรี ะมิด , สถูป ง. โรงพยาบาล , หา้ งสรรพสนิ ค้า , เจดีย์ 8. สิง่ ท่สี าคญั ท่สี ุด ในงานภาพพมิ พ์ คือข้อใด ก. สนี ้า ข. พูก่ ัน ค. แมพ่ มิ พ์ ง. จานสี 9. ภาพวาดและภาพเขียน มคี วามแตกต่างกนั หรอื ไม่ อย่างไร ก. ไม่แตกตา่ ง เพราะ เปน็ งาน 2 มิติ เหมอื นกนั ข. ไม่แตกตา่ ง เพราะ ใช้วสั ดุในการสรา้ งงานเหมือนกนั ค. แตกตา่ ง เพราะ ใช้วัสดุในการสรา้ งงานไมเ่ หมือนกัน ง. แตกตา่ ง เพราะ ภาพวาดเปน็ งาน 2 มติ ิ ภาพเขยี นเปน็ งาน 3 มติ ิ 10. ขอ้ ใดจดั เป็นงานประติมากรรม แบบลอยตวั ก. พระพทุ ธรูป ข. บานประตไู มแ้ กะสลกั ค. เหรียญ 5 บาท ง. ภาพเขียนลายมงั กรบนแจกนั ชุดการสอนศิลปะ “ ทัศนธาตุสร้างสรรค์” ชุดท่ี 1 เรื่อง ความรเู้ บื้องต้นเก่ยี วกบั ทศั นศลิ ป์ ครจู ริ ปรยี า ชูยอด

36 กระดาษคาตอบ แบบฝกึ หดั ก่อนเรยี น ชุดที่ 1 เร่อื ง ความรู้เบอ้ื งตน้ เกยี่ วกับทศั นศิลป์ ก่อนเรียน หลงั เรียน คะแนนเตม็ คะแนนที่ได้ คะแนนเต็ม คะแนนทไ่ี ด้ 10 10 ชดุ การสอนศิลปะ “ ทศั นธาตสุ ร้างสรรค์” ชดุ ที่ 1 เรือ่ ง ความรเู้ บื้องต้นเกย่ี วกบั ทัศนศิลป์ ครูจริ ปรยี า ชยู อด

37 ใบความรูท้ ี่ 1.1 เรือ่ ง ความหมายของศิลปะและทัศนศลิ ป์ ศิลปะ ศิลปะ หมายถงึ ผลงานทีเ่ กิดขน้ึ จากความคดิ สร้างสรรคข์ องมนษุ ย์ เปน็ สิง่ ทีม่ นุษยส์ ร้าง ข้ึน ไม่ใช่เกดิ ขึ้นเองตามธรรมชาติ เปน็ ผลงานท่แี สดงออกมาในรูปลกั ษณะต่างๆ มสี นุ ทรียภาพ ความประทบั ใจ หรอื ความสะเทือนอารมณ์ ตามประสบการณ์ รสนิยม และทกั ษะของแต่ละ บคุ คล นอกจากน้ียังมนี กั ปราชญ์ นักการศกึ ษา ได้ให้นิยามความหมายของศิลปะแตกต่างกัน ออกไป เช่น ศลิ ปะ คือ - การเลียนแบบธรรมชาติ - การแสดงออกของบุคลิกภาพทางอารมณ์ของมนษุ ย์ - การสื่อสารอย่างหนึง่ ระหว่างมนษุ ย์ - การระบายความปรารถนาในใจของศิลปนิ ออกมา - การแสดงออกของผลงานดา้ นตา่ งๆทส่ี รา้ งสรรค์ ภาพท่ี 1 : ภาพวาดดอกบัว เทคนิคสีชอล์ก แสดงถงึ ศลิ ปะคอื การเลียนแบบธรรมชาติ ท่มี าภาพ : จริ ปรียา ชยู อด (2557) ทัศนศิลป์ ความหมายของ ทศั นศลิ ป์ ตามพจนานุกรมราชบณั ฑิตยสถาน หมายถงึ ศิลปกรรม ประเภทหนงึ่ ซ่งึ แสดงออกดว้ ยลกั ษณะที่เปน็ รปู ภาพหรอื รปู ทรง รับรู้ได้ด้วยการเหน็ และสัมผสั ได้ ดว้ ยการจบั ตอ้ ง เชน่ ภาพจติ รกรรม ภาพพมิ พ์ งานประตมิ ากรรม งานสถาปตั ยกรรม. ทศั นศลิ ป์ เปน็ ศัพท์ทีม่ กี ารบัญญตั ขิ ึน้ ใชใ้ นวงการศิลปะเมื่อประมาณ 30 ปีทผ่ี า่ นมา หมายถึง ศลิ ปะท่ีรับรดู้ ้วยประสาทสัมผัสทางตา ศิลปะทีม่ องเหน็ ได้ เมื่อพจิ ารณาความหมายท่ี มีผูน้ ยิ ามไว้ จะพบวา่ การรับรู้เรอ่ื งราว อารมณ์ ความร้สู กึ ของงานทัศนศลิ ปน์ ัน้ จะต้องอาศัย ประสาทตาเป็นสาคัญ น่ันคอื ตาจะรับร้เู ก่ียวกบั ส่ิงต่าง ๆ ท่นี ามาประกอบเป็นงานทศั นศลิ ป์ ไดแ้ ก่ จุด เสน้ รูปร่าง รูปทรง สี แสงเงา และพ้นื ผวิ โดยศลิ ปะจะนาสิง่ ตา่ ง ๆ เหล่าน้ี มา สร้างสรรค์ผลงานดว้ ยวิธกี ารเขยี นภาพ ระบายสี ปั้นและสลักบา้ งหรอื งานโครงสร้าง เปน็ ต้น ชุดการสอนศิลปะ “ ทศั นธาตสุ ร้างสรรค์” ชุดที่ 1 เรื่อง ความรเู้ บ้อื งต้นเกี่ยวกับทัศนศิลป์ ครูจริ ปรียา ชูยอด

38 ใบงานท่ี 1.1 เร่อื ง ความหมายของศิลปะและทศั นศิลป์ จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ บอกความหมายของศิลปะและทัศนศ์ ิลปไ์ ด้ คาชีแ้ จง ตอนที่ 1 ให้นกั เรียนเติมคาตอบให้ถูกต้อง 1. ศลิ ปะ หมายถงึ ……………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………… …………… ………… …………… ………… ………… …………… 2. ให้นักเรยี นอธิบายคากลา่ วท่วี ่า “ ศิลปะ คือ การเลียนแบบธรรมชาติ ” พร้อมยกตัวอยา่ ง ……………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………… …………… ………… …………… ………… ………… …………… 3. ให้นักเรียนสรปุ ความหมายของคาว่า “ ทศั นศิลป์ ” ……………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………… …………… ………… …………… ………… ………… …………… 4. “ ดูลวดลาย บนปกี ผีเส้ือนั่นสิ สวยงามจรงิ ๆ ” จากข้อความดังกลา่ ว ลวดลายบนปกี ผีเส้อื จัดเปน็ งานศลิ ปะหรอื ไม่ เพราะเหตใุ ด ……………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………… …………… ………… …………… ………… ………… ............... ……………………………………………………………… …………… ………… …………… ………… ………… ............... ชดุ การสอนศิลปะ “ ทัศนธาตุสรา้ งสรรค์” ชดุ ที่ 1 เรอื่ ง ความรู้เบอ้ื งต้นเก่ียวกบั ทัศนศิลป์ ครจู ริ ปรียา ชยู อด

39 คาชแี้ จง ตอนท่ี 2 ให้นกั เรยี นดูภาพแล้วนาอักษร A หรือ B ไปเติมลงในชอ่ งวา่ ง ใหม้ ีความสัมพันธ์ กบั ภาพ A เกดิ ข้นึ เอง B มนุษย์สรา้ งข้ึน 1………. 2…….. 3……….. 4……. 5……... 6……. 7……… 8………. ชดุ การสอนศลิ ปะ “ ทศั นธาตุสรา้ งสรรค์” ชุดท่ี 1 เรอ่ื ง ความรู้เบอ้ื งต้นเกี่ยวกับทัศนศิลป์ ครจู ริ ปรียา ชยู อด

40 ใบความรู้ที่ 1.2 เรือ่ ง ความสมั พันธร์ ะหว่างศลิ ปะกับมนษุ ย์ ศิลปะยคุ กอ่ นประวัติศาสตร์ การสรา้ งสรรคท์ างศิลปะของมนุษย์ เช่ือวา่ เกดิ ขน้ึ มาตัง้ แต่สมยั โบราณต้ังแตย่ คุ หิน หรอื เมื่อประมาณ ๕๐๐,๐๐๐ – ๔,๐๐๐ ปีมาแลว้ นับต้งั แต่คร้งั ทบ่ี รรพบุรุษของมนษุ ย์ยงั เป็นพวกเรร่ ่อน อาศัยอย่ตู ามถา้ เพิงผา ดารงชีพด้วยการล่าสัตวแ์ ละหาของป่ามาเปน็ อาหาร โดยจาแนกศลิ ปะยคุ ก่อนประวัตศิ าสตรอ์ อกเปน็ 3 ยคุ ไดแ้ ก ศิลปะยคุ หินเก่า ศลิ ปะยคุ หนิ กลาง และศลิ ปะยุคหินใหม่ โดยผลงานศิลปะถ้าไมน่ บั พวกเคร่ืองมือเคร่อื งใช้ ลาดบั แรกๆจะเปน็ ภาพวาด ซึง่ ปรากฏอยตู่ ามผนังถา้ ในทีต่ ่างๆ เช่น ภาพววั ไบซนั ท่ถี ้าอัลตามีร่า ประเทศสเปน ภาพสตั ว์ ชนดิ ตา่ งๆ เชน่ มา้ กวาง ทีถ่ า้ ลาสโกช์ ประเทศฝรงั่ เศส สาหรับในประเทศไทยก็สารวจพบ ภาพวาดในทีห่ ลายแห่ง เช่น ทผ่ี าแต้ม อาเภอโขงเจยี ม จังหวดั อบุ ลราชธานี ซง่ึ ศลิ ปะบนผนงั ถา้ ที่พบนั้นจะเรียกว่า ภาพเขียนสี ซง่ึ ภาพเขยี นสี กค็ อื รปู ภาพท่สี ร้างขน้ึ บนพืน้ หนิ ดว้ ยสที ไ่ี ด้ จากธรรมชาติใชว้ สั ดุทหี่ าไดใ้ กล้ตวั ในการสร้างสรรค์ เชน่ ดินแดง ถา่ น เลือดสัตว์ เป็นต้น ใช้ การวาดด้วยสีแห้ง ระบายสี พน่ สี ทาบหรอื ประทบั และการสะบดั สี ภาพท่เี กดิ จากการเขยี นมักแสดงใหเ้ ห็นเป็นรปู คน รูปสตั ว์ รปู ตน้ ไม้ ใบไม้ และ ดอกไม้ รปู วัตถุและส่ิงของ รูปสญั ลักษณ์ต่างๆ รวมทัง้ รปู มอื และเท้าดว้ ย ภาพเหล่านอ้ี าจ แสดงโดดๆ มีเน้ือความเลา่ เรื่องในตวั เอง หรอื เป็นภาพทป่ี ระกอบกันเป็นเรอื่ งราว โดยแสดง ให้เห็นถึงเรือ่ งราวการลา่ สัตว์ การทาเกษตรกรรม การประกอบพิธกี รรม เป็นต้น ภาพท่ี 2 : ภาพฝ่ามือมนุษยย์ ุคกอ่ นประวตั ิศาสตร์ ท่ีถา้ ฝ่ามือ (ถา้ ฝา่ มือแดง) ประเทศอารเ์ จนตนิ า ทม่ี าภาพ : http://images.thaiza.com/200/200_20130925093326..jpg ชดุ การสอนศลิ ปะ “ ทัศนธาตุสร้างสรรค์” ชดุ ท่ี 1 เรอื่ ง ความรู้เบอ้ื งต้นเกีย่ วกับทัศนศลิ ป์ ครจู ิรปรียา ชยู อด

41 ภาพที่ 3 : ภาพววั ไบซนั ท่ีถ้าอลั ตามีรา ประเทศสเปน ท่ีมาภาพ : https://sites.google.com/site/historyinter123/hnwy-kar-reiyn/hnwy-kar-reiyn-thi-3/hnwy- kar-reiyn-thi-4 ภาพท่ี 4 : ภาพยคุ ก่อนประวัติศาสตร์ ที่ผาแตม้ จงั หวัดอบุ ลราชธานี ทีม่ าภาพ : http://www.xn--72c5aba9c2a3b8a2m8ae.com/wp- content/uploads/2015/12/phatamnation-06.jpg ท่กี ล่าวมาขา้ งตน้ จะเห็นว่า ศิลปะมีความเก่ียวพันกบั มนุษย์ ในแงท่ ่เี ป็นผลงานหรือ วิธกี ารแสดงออกมาเพ่อื ตอบสนองอารมณข์ องตนเอง อาจจะเป็นความประทับใจ ความซาบซง้ึ ผ่อนคลายความตงึ เครียด หรือเพอื่ ความช่นื ชม และศรทั ธา โดยผลงานศิลปะแรกๆของมนุษย์ เชอื่ ว่านา่ จะเกิดจากแรงบันดาลใจของมนุษย์ทีม่ ตี อ่ ความงามทางธรรมชาติ หรอื สภาพแวดล้อม จากนนั้ จึงค่อยๆถ่ายทอดความประทับใจนน้ั ออกมาเปน็ ผลงานศิลปะ โดยอาจจะเป็นงาน ประเภทจิตรกรรม และประตมิ ากรรมอยา่ งงา่ ยๆ ชดุ การสอนศิลปะ “ ทัศนธาตสุ ร้างสรรค์” ชดุ ท่ี 1 เร่อื ง ความรู้เบอื้ งตน้ เกยี่ วกับทศั นศลิ ป์ ครจู ริ ปรียา ชยู อด

42 ใบงานท่ี 1.2 เรอื่ ง ความสมั พันธ์ระหว่างศิลปะกับมนุษย์ จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ บอกความความสมั พันธร์ ะหวา่ งศลิ ปะกบั มนุษยไ์ ด้ ตอนที่ 1 คาช้ีแจง ใหน้ ักเรยี นเตมิ คาตอบ ลงในช่องวา่ ง 1. มนษุ ย์เริ่มมกี าร สรา้ งสรรค์ งานศลิ ปะตงั้ แตส่ มยั ใด………………………………………………… 2. มนุษยย์ ุคกอ่ นประวัตศิ าสตร์ มกี ารสรา้ งสรรคผ์ ลงานศิลปะ ดว้ ยวิธกี ารใด …………………………………………………………………………………………………………………………. 3. ใหน้ ักเรียนยกตวั อย่าง วัสดุทม่ี นษุ ย์ยคุ ก่อนประวตั ศิ าสตร์ ใชใ้ นการสร้างสรรคผ์ ลงานศลิ ปะ มา 5 ชนิด 1…………………………………………………………………………………………………………………........ 2………………………………………………………………………………………………………………………… 3………………………………………………………………………………………………………………………… 4………………………………………………………………………………………………………………………… 5………………………………………………………………………………………………………………………… 4. เรือ่ งราวในงานจติ รกรรม ของมนษุ ยย์ คุ กอ่ นประวัติศาสตร์ เปน็ เร่ืองราวเกี่ยวกบั อะไร …………………………………………………………………………………………………………………………… 5. นกั เรยี นคดิ ว่า ศลิ ปะมคี วามสมั พันธเ์ ก่ียวข้องกับชีวิตประจาวันของเราอย่างไรบา้ ง อธบิ าย พร้อมยกตวั อยา่ ง …………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………. ชุดการสอนศิลปะ “ ทศั นธาตสุ ร้างสรรค์” ชุดที่ 1 เรือ่ ง ความรู้เบื้องตน้ เกี่ยวกับทศั นศิลป์ ครูจริ ปรียา ชูยอด

43 ตอนท่ี 2 จากภาพใหน้ กั เรียนเขยี นบรรยายลักษณะภาพเขียน ของมนุษยย์ คุ กอ่ นประวตั ิศาสตร์ ใน ประเดน็ ทกี่ าหนด เนื้อหาเรอ่ื งราว………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลักษณะการสร้างงาน………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ชุดการสอนศิลปะ “ ทัศนธาตุสร้างสรรค์” ชดุ ท่ี 1 เร่ือง ความรเู้ บอื้ งตน้ เกย่ี วกบั ทศั นศิลป์ ครจู ิรปรยี า ชยู อด

44 ใบความรู้ที่ 1.3 เร่ือง ประเภทของงานทศั นศิลป์ งานทศั นศลิ ป์ ทัศนศลิ ป์ หมายถงึ ศิลปะทร่ี บั รู้ดว้ ยประสาทสมั ผสั ทางตา จะต้องอาศัยประสาทตาเป็น สาคัญ นั่นคือตาจะรบั รเู้ กีย่ วกับสิ่งตา่ ง ๆ ท่ีนามาประกอบเปน็ งานทัศนศลิ ป์ได้แก่ จดุ เสน้ รปู ร่าง รูปทรง สี แสงเงา บริเวณวา่ ง และพนื้ ผิว เป็นต้น โดยศลิ ปะจะนาสง่ิ ตา่ ง ๆ เหลา่ น้มี าสรา้ งสรรค์ ผลงานด้วยวธิ กี ารเขียนภาพ ระบายสบี ้าง ปัน้ และสลักบ้างหรอื งานโครงสร้างเป็นต้น http://www.baanjomyut.com/library_2/extension-4/the_visual_aesthetics/01.html 20 พย 59 ประเภทของงานทศั นศลิ ป์ แบง่ เป็น 4 ประเภท ได้แก่ 1. จิตรกรรม 2. ประติมากรรม 3. สถาปัตยกรรม 4. ภาพพมิ พ์ จติ รกรรม (Painting) จติ รกรรม หมายถงึ การสรา้ งสรรค์ผลงานทัศนศิลป์ 2 มิติ บนพน้ื ระนาบ คือ มีความ กวา้ ง และความยาว ดว้ ยวธิ ีการลาก ขีดเขียน หรือระบายสีฝุ่น สนี า้ สนี ้ามนั ลงบนพน้ื ผวิ วัสดุ ทีม่ ี ความราบเรยี บ เช่น กระดาษ ผ้าใบ ผนงั แผ่นไม้ เพดาน ผิวหนา้ ของวตั ถุอ่ืนๆ เพ่อื ให้เกดิ เร่อื งราว และความงามตามความนึกคดิ จนิ ตนาการของผ้วู าด จิตรกรรม สามารถจาแนกได้เปน็ 2 ประเภท ดังน้ี ชดุ การสอนศลิ ปะ “ ทัศนธาตสุ ร้างสรรค์” ชุดท่ี 1 เรอื่ ง ความร้เู บ้ืองต้นเก่ียวกับทัศนศลิ ป์ ครจู ริ ปรยี า ชยู อด

45 1. ภาพวาด ( Drawing ) เป็นศัพทท์ างทศั นศิลปท์ ี่ใชเ้ รยี กภาพวาดเขียน ภาพวาดเสน้ โดยใชว้ ัสดุตา่ งๆ เช่น ดินสอดา ดินสอสี สีชอล์ก สีเทียน ถา่ นเกรยอง เปน็ ต้น ภาพท่ี 5 : ภาพวาดเส้นดอกลลี าวดี ทีม่ าภาพ : จิรปรียา ชยู อด ( 2557 ) 2. ภาพเขยี น ( Painting ) เป็นการสรา้ งงานทัศนศลิ ปบ์ นพืน้ ระนาบ ด้วยสีหลายสี การเรยี กชื่อลกั ษณะของ ภาพเขียน จะเรียกตามวสั ดุที่ใช้เป็นสาคัญ เช่น ภาพเขียนสนี ้า ภาพเขยี นสีน้ามนั ภาพเขยี น สีโปสเตอร์ ภาพเขียนสีอะคริลกิ เปน็ ต้น ภาพท่ี 6 : ภาพเขียนสีนา้ ดอกอนิ ทนลิ ท่มี าภาพ : จิรปรยี า ชยู อด ( 2557 ) ชุดการสอนศลิ ปะ “ ทศั นธาตุสร้างสรรค์” ชุดท่ี 1 เรอ่ื ง ความรู้เบื้องตน้ เกยี่ วกับทศั นศิลป์ ครจู ริ ปรยี า ชูยอด

46 ลกษณะของ จิตรกรรม 2. งานจติ รกรรมทน่ี ยิ มสร้ างสรรค ขนึ ้ มหี ลายลกษณะ ดงนี ้คือ 2.1 ภาพคนเตมต สดงความเหมอื นข 1. หุ่ งิ (Still life) เปนภาพวาดเกี่ยวก สงิ่ ของเครื่อง ช้ หรือ วสดตุ าง ท่ี มมกี าร เคล่อื น หว เปนสิง่ ท่ีอยูก ที่ ภาพท่ี 9 : ภ ท่มี าภาพ : h 2.2 ภาพคนเหมือน คนหนงึ่ ภาพท่ี 7 : ภาพหุน่ น่งิ เทคนคิ สนี า้ ทมี่ าภาพ : http://aomdrawing.blogspot.com/2010/07/credit-by-www.html ภาพท่ี 8 : ภาพหุ่นนิง่ เทคนคิ วาดเส้นดนิ สอ ทม่ี าภาพ : http://chiangmaiartschool.blogspot.com/2015/07/blog-post_30.html ชดุ การสอนศลิ ปะ “ ทศั นธาตสุ ร้างสรรค์” ชุดที่ 1 เรือ่ ง ความรเู้ บื้องตน้ เกย่ี วกบั ทัศนศลิ ป์ ครจู ิรปรียา ชูยอด

47 3. ภาพสัตว์ ( Animals Figure) แสดงกริ ยิ าทา่ ทางของสัตว์ท้ังหลาย ในลักษณะ ต่าง ๆ ภาพท่ี 11 : ภาพสัตว์ Paintings African Animals ทม่ี าภาพ :http://hdimagelib.com/african+art+paintings+of+animals 4. ภาพทิวทัศน์ (Landscape) เป็นภาพทแี่ สดงความงาม หรือความประทบั ใจใน ความงามของธรรมชาติ หรอื สิ่งแวดลอ้ มของศิลปนิ ผู้วาด ภาพทิวทศั นย์ ังแบ่งเปน็ ลักษณะต่างๆ ได้อีก คอื 4.1 ภาพทิวทัศนผ์ ืนนา้ หรอื ทะเล (Seascape ) เป็นภาพทีแ่ สดงความงามของ ธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม ท่ีเป็นทะเลเป็นหลัก เชน่ ชายหาด โขดหนิ คล่ืน เรือ ชาวประมง ฯลฯ ภาพท่ี 12 : ภาพทวิ ทศนผนื นา้ หรือ ทะเล ทม่ี าภาพ : ครูจริ ปรยี า ชยู อด ชดุ การhสtอtนpศ:ลิ/ป/tะh“aทiัศaนrธtาsตtุสuรdา้ งiสoร.bรคl์”ogชุดsทp่ี o1 tเ.รcอื่ oงmคว/า2มร0้เู 1บ3อื้ ง/ต0น้ 7เ/ก1ยี่ ว.กhบั tทmัศlนศิลป์ thaiartstudio.blogspot.comhttps://www.google.co.th/url?sa=i&r ct=j&q=&esrc=s&source=images&cd=&ved=0ahUKEwjx2MGH5c

48 4.2 ภาพทวิ ทศั น์พื้นดิน (Landscape) เปน็ ภาพทแี่ สดงความงาม หรอื ความ ประทบั ใจในความงาม ของธรรมชาติ หรอื ส่ิงแวดล้อม ของศิลปนิ ผู้วาด ภาพท่ี 13 : ภาพทิวทัศน์พืน้ ดนิ ภาพสะพานไม้ ท่ีมาภาพ : http://oknation.nationtv.tv/blog/kru-oui/2007/08/31/entry-1 4.3 ภาพทวิ ทัศน์ส่ิงกอ่ สร้าง (Structural Landscape) หมายถงึ ภาพท่แี สดง ความงามของอาคารบ้านเรือน และสง่ิ ก่อสร้าง รวมทงั้ ธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อมรอบๆอาคาร ภาพที่ 14 : ภาพทวิ ทัศนส์ งิ่ กอ่ สร้าง ชดุ การสทอน่มี ศาลิภปาะพ“ท: ัศhนtธtpาต:/ุส/รw้างwสรwรค.z์”eชaุดlทo่ี u1 sเmรอื่ oงdควeาlม.cร้เูoบm้ือง/ตinน้ dเกeี่ยวxก.pับhทpศั น?tศoลิ pป์ic=1539.0 ครูจิรปรยี า ชูยอด

49 5. ภาพประกอบเร่ือง (Illustration) เป็นภาพทีเ่ ขยี นขึน้ เพือ่ บอกเล่าเรื่องราว หรือ ถ่ายทอดเหตกุ ารณต์ า่ ง ๆ ให้ผู้อน่ื ได้รบั รู้ โดยอาจเป็นทั้งภาพประกอบเรือ่ งในหนงั สอื พระคัมภีร์ หรอื ภาพเขียนบนฝาผนังอาคาร สถาปัตยกรรมตา่ ง ๆ และรวมถงึ ภาพโฆษณาต่างๆ ภาพท่ี 15 : ภาพประกอบเรือ่ ง Military history of Indochina ท่ีมาภาพ : http://www.thewartourist.com/indochina.html 6. ภาพองค์ประกอบ (Composition) เป็นภาพท่แี สดงความสมั พันธข์ อง องคป์ ระกอบของศลิ ปะ และลักษณะในการจดั องค์ประกอบเพื่อให้เกดิ ความรู้สึกตา่ ง ๆ ตามความตอ้ งการของผู้สร้างโดยที่อาจไมเ่ นน้ แสดงเนอ้ื หาเรอ่ื งราวของภาพหรอื แสดงเรื่องราว ท่ีมาจากความประทบั ใจ โดยไม่ยึดติดกับความเป็นจริงตามธรรมชาติ ภาพชนิดน้ี ปรากฏมาก ในงานจติ รกรรมสมัยใหม่ ภาพท่ี 16 :ภาพองคป์ ระกอบ \"สีสนั แหง่ ชีวติ \" โดย โอภาส โชตพิ ันธวานนท์ ครจู ริ ปรยี า ชยู อด ชดุ การสทอมี่ นาศภิลาปพะ “:ทhศั tนtธpา:ต/ุส/tรh้างaสiaรรrคts์”pชaุดcทe่ี 1.bเlรo่ือgงsคpวoามtร.cเู้ บoื้อmงต/น้2เ0ก1่ยี ว0ก/ับ0ท3ศั/นbศloิลปg์ - post_26.html

50 7. ภาพลวดลายตกแต่ง (Decorative painting) เป็นภาพวาดลวดลายประกอบ เพื่อตกแตง่ สง่ิ ต่าง ๆ ให้ เกดิ ความสวยงามมากขึ้น เชน่ การวาดลวดลายประดับอาคาร สงิ่ ของเคร่ืองใช้ ลวดลายสัก ฯลฯ ภาพที่ 17 : ภาพลวดลายตก ตง ผอ ลายรดนา้ ทีม่ าภาพ : https://www.kaidee.com/product-110373310/ ภาพท่ี 18 : ภาพลวดลายตก ตง รอยสกดอก ม้ ครูจิรปรียา ชยู อด ชดุ การสอนศิลทปม่ี ะา“ภทาัศพนธ:าตhสุ tรtา้pง:ส/ร/รwคo์” mชดุ eทnี่ 1.kเaรpอ่ื งoคoวkา.มcรo้เู บm้อื ง/ตvน้ieเกwีย่ ว1ก3บั 6ท6ศั 4น1ศ.hลิ ปt์ml

51 ประตมิ ากรรม (Sculpture) ประติมากรรม หมายถึง การสรา้ งงานทัศนศลิ ปท์ ีเ่ กิดจากกลวธิ ีการปน้ั การแกะสลัก การหล่อ การเช่อื ม หรือกระบวนการอน่ื ใดทีส่ รา้ งใหเ้ กดิ รปู รา่ ง รปู ทรง มลี กั ษณะเป็น 3 มิติ คอื มีความกว้าง ความยาว และความหนา เชน่ รปู คน รปู สตั ว์ รูปสิ่งของ เปน็ ตน้ ประตมิ ากรรม สามารถจาแนกไดเ้ ปน็ 3 ลักษณะ ดงั น้ี 1. ประติมากรรมนูนตา่ หมายถึง การปนั้ หรอื สลักโดยใหภ้ าพที่เกิดนนู ขึน้ จากพื้นเพียงเล็กน้อยเทา่ นน้ั โดย อาศัยแสงเงา ช่วยทาใหเ้ กิดความร้สู กึ ลกึ ตน้ื ในการมองเหน็ เชน่ รูปบนเหรยี ญต่างๆ ภาพที่ 19 : เหรยี ญรชั กาลที่ 9 น่งั บลั ลงั ก์ ทมี่ าภาพ : http://www.web-pra.com/shop/new-amulet/show/709960 2. ประติมากรรมนนู สงู หมายถึง การปน้ั หรือสลักใหร้ ปู ท่ีต้องการ นนู ขน้ึ จากพ้ืนหลังมากกวา่ ครึ่ง เปน็ รูปท่ี สามารถแสดงความต้ืนลกึ ตามความเปน็ จริง เชน่ ประติมากรรมทฐ่ี านอนุสาวรีย์ ประติมากรรม บนบานประตู บานหนา้ ต่างไมแ้ กะสลกั ภาพท่ี 20 : งานแกะสลกั บานหน้าตา่ งพระอุโบสถวดั ละมดุ ชดุ การสอนศลิ ปะ “ ทศั นธาตุสรา้ งสรรค์”ทชี่มุดาภทาี่ 1พเร:อื่hงttpค:ว//าwมeรlู้เoบvื้อeงthตaน้ ilเaกnี่ยdวtกoบัurท.bศั lนogศsิลpปo์t.com/2009/03ค/1ร0จู 0ิร-ป1ร0ยี 0า0.ชhูยtmอดl

52 3. ประติมากรรมลอยตวั หมายถงึ การปั้นหรือสลักทส่ี ามารถมองเห็นและสมั ผัสชน่ื ชม ความงามของผลงาน ไดท้ กุ ดา้ นหรอื รอบดา้ น ซึง่ ประติมากรรมแบบลอยตัวน้ีอาจจะวางหรอื ตง้ั อยู่บนฐานก็ได้ เชน่ พระพุทธรปู พระบรมรปู ทรงม้า เปน็ ต้น ภาพท่ี 21 : พระบรมรูปทรงมา้ งานประตมิ ากรรมประเภทลอยตวั ทม่ี าภาพ : https://aumaim1017.files.wordpress.com/2013/12/7.jpg ชดุ การสอนศิลปะ “ภทาพัศนทธี่า2ต2ุสร:า้ งพสรระรคพ์”ทุ ชธุดชทนิี่ 1สเีหรื่อ์ งงาคนวาปมรรู้เะบตือ้ มงิ ตาน้กเรกรย่ี มวกปบั รทะศั เนภศทิลลปอ์ ยตวั ครจู ิรปรยี า ชยู อด ทม่ี าภาพ : http://www.web-pra.com/shop/joke-mueangkan- 2/show/6434132/show/643413

53 สถาปตั ยกรรม (Architecture) สถาปัตยกรรม หมายถงึ ศิลปะและวทิ ยาการแหง่ การกอ่ สร้าง โดยสรา้ งขน้ึ เพือ่ สนองความต้องการ ด้านวัตถแุ ละจติ ใจ ผ่านกระบวนการออกแบบ เขียนแบบ แลว้ จงึ ทาการก่อสร้างข้ึนมา ให้มีความสะดวกเหมาะสมตอ่ การใช้งาน มคี วามมัน่ คง แข็งแรง สาหรบั งานสถาปตั ยกรรมในประเทศไทย ทมี่ ชี ่ือเสียง มมี ากมาย ยกตวั อย่างเช่น วดั พระแกว้ มรกต อย่ทู ีก่ รุงเทพมหานคร วดั รอ่ งขนุ่ อยู่ทีจ่ ังหวดั เชยี งราย วดั พระธาตุดอย สเุ ทพ อยู่ที่จังหวดั เชียงใหม่ วัดพระบรมธาตไุ ชยาราชวรวิหาร อยู่ทจี่ ังหวดั สุราษฎร์ธานี เป็นต้น ส่วนการแบ่งประเภทของงานสถาปตั ยกรรมนนั้ จะแบ่งเป็น 2 ประเภท ดังน้ี 1. สถาปัตยกรรมแบบเปิด สถาปตั ยกรรมแบบ เปิด หมายถึง สถาปตั ยกรรมที่เราสามารถเข้าไปใช้ สอยได้ เช่น สถานท่ีประกอบพธิ กี รรมทางศาสนา วดั ทพ่ี กั อาศัย อาคารเรยี น สถานตี ารวจ ธนาคาร ร้านอาหาร เปน็ ตน้ ภาพที่ 23 : เรือนไทย งานสถาปตั ยกรรมแบบเปดิ ครูจริ ปรยี า ชยู อด ท่ีมาภาพ : httpwww.rueanthai-raminthra.com ชดุ การสอนศิลปะ “ ทัศนธาตสุ รา้ งสรรค์” ชดุ ที่ 1 เร่ือง ความรู้เบอื้ งต้นเกีย่ วกับทัศนศิลป์

54 2. สถาปตั ยกรรมแบบปดิ สถาปตั ยกรรมแบบ ปิด หมายถึง สถาปตั ยกรรมที่เราไม่สามารถเขา้ ไปใช้ สอยได้ สถาปตั ยกรรมแบบนี้ สว่ นใหญจ่ ะสร้างขึ้นเพ่อื ตอบสนองความเช่ือเปน็ สาคัญ เช่น พีระมดิ ของอยี ปิ ต์ สถูป เจดยี ์ เทวสถาน เปน็ ต้น ภาพที่ 24 : พระศรรี ัตนเจดีย์ งานสถาปตั ยกรรมแบบปดิ ที่มาภาพ : http://place.thaitour.com/bangkok/place01/2110 ภาพที่ 25 : พีระมิดของกษัตรยิ ์คูฟู ประเทศอยี ปิ ต์ ชดุ การสอนศิลปะ “ ทัศนธาตุสร้างสรรค์” ชุดที่ 1 เร่ือง ความรู้เบื้องงาตน้นสเกถย่ีาวปกัตบยทกัศรนรศมลิ ปแ์ บบเปิด ครจู ิรปรยี า ชูยอด ทมี่ าภาพ : http://pantip.com/topic/31518189

55 ภาพพิมพ์ ( Printing ) ภาพพิมพ์ หมายถงึ การถา่ ยทอดรูปแบบจากแมพ่ ิมพอ์ อกมาเปน็ ผลงานทม่ี ี ลกั ษณะเหมอื นกันกบั แม่พิมพท์ ุกประการ และได้ภาพทเี่ หมือนกนั มจี านวนตัง้ แต่ 2 ชิ้น ขน้ึ ไป การพมิ พ์ภาพเปน็ งานทพ่ี ัฒนาตอ่ เนื่องมาจากการวาดภาพ ซ่งึ การวาดภาพไม่ สามารถสรา้ งผลงาน 2 ชนิ้ ท่ีมลี ักษณะเหมอื นกันทุกประการได้ จึงมกี าร พัฒนาการพิมพ์ขนึ้ มา ชาติจนี ถือว่าเป็นชาติแรกท่ีนาเอาวธิ กี ารพิมพม์ าใช้อย่างแพรห่ ลาย มานานนับพันปี จากนั้นจงึ ได้แพรห่ ลายออกไป ในภูมภิ าคต่างๆของโลก ชนชาตทิ าง ตะวันตกไดพ้ ฒั นาการพิมพภ์ าพขึ้นมาอยา่ งมากมาย มกี ารนาเอาเครอื่ งจกั รกลต่างๆ เขา้ มาใช้ในการพิมพ์ ทาใหก้ ารพิมพม์ ีการพัฒนาไปอย่างรวดเรว็ ในปจั จุบนั ประเภทของภาพพิมพ์ แบ่งได้ 4 ประเภท คือ 1. ภาพพมิ พ์ผวิ นนู ( Relief Printing) 2. ภาพพมิ พ์รอ่ งลกึ ( Intaglio Printing) 3. ภาพพมิ พผ์ วิ ราบ (Planographic Printing) 4. ภาพพิมพ์ตะแกรงไหม (Silk Screen) ชดุ การสอนศิลปะ “ ทศั นธาตุสรา้ งสรรค์” ชดุ ที่ 1 เรือ่ ง ความร้เู บ้อื งตน้ เกยี่ วกบั ทศั นศลิ ป์ ครูจริ ปรยี า ชยู อด

56 1.ภาพพมิ พ์ผวิ นูน (Relief Printing) คือ เปนการพมิ พ ดย ห้สตี ดิ อยู นผวิ หน้าทท่ี า ห้นนู ขนึ ้ มาของ มพิมพ ภาพที่ ด้ เกิดจากสที ต่ี ิดอยู นสวน นดงนน้ สวนทถี่ กู กะเซาะออก ปหรือสวนทเ่ี ปนรองลึกลง ปจะ ม ถูกพมิ พ มพมิ พนูนเปน มพมิ พทที่ าขนึ ้ มาเปนประเภท รก ภาพพมิ พชนดิ นี ้ ด้ ก ภาพ พิมพ กะ ม้ ( WOOD-CUT ) ภาพพิมพ กะยาง (LINO-CUT ) ตรายาง ( RUBBER STAMP ) ละภาพพมิ พจากเศษวสดุตาง เม่อื เวลาพมิ พ มพิมพเหลานจี ้ ะ ช้เครือ่ งมอื ประเภทลูกกลงิ ้ ทาหมึกลง นสวนนนู ของ มพิมพ ล้วนา ปพมิ พลง นกระดาษอาจจะพิมพ ด้วยมือหรือ ทนพิมพ หมกึ จะตดิ กระดาษเกดิ เปนรูปขนึ ้ มา http://www.br.ac.th/CAI/benjamasilp/art%206.html สื ค้น 25 พย 59 ภาพที่ 26 : ภาพพมิ พแ์ กะไม้ ภาพท่ี 27 : ภาพพมิ พ์จากเศษวัสดุ ท่ีมาภาพ : จิรปรียา ชูยอด ( 2557 ) ท่ีมาภาพ : จิรปรยี า ชูยอด ( 2557 ) ชดุ การสอนศิลปะ “ ทัศนธาตสุ ร้างสรรค์” ชดุ ที่ 1 เรอ่ื ง ความรู้เบื้องต้นเกีย่ วกับทศั นศิลป์ ครูจริ ปรยี า ชยู อด

57 ภาพพมิ พ1ร์.ภ่อางพลพึกมิ (พI์ผnวิtaนgูนlio(RPelriienftPinrgint)ing) เปน็ การพิมพโ์ ดยให้สอี ย่ใู นร่องที่ทาใหล้ ึกลงไปของแม่พมิ พ์โดยใช้แผน่ โลหะ ทาเป็น แมพ่ มิ พ์ แผน่ โลหะท่ีนิยมใช้คอื แผน่ ทองแดง และทาให้ลึกลงไปโดยใชน้ ้ากรดกดั ซงึ่ เรียกวา่ ETCHING แมพ่ มิ พ์รอ่ งลึกน้ีพฒั นาขึ้นโดยชาวตะวนั ตก สามารถพิมพ์งานท่ีมี ความละเอยี ด คมชัดสูง สมยั กอ่ นใชใ้ นการพิมพ์ หนังสือพระคมั ภีร์ แผนท่ี เอกสารต่างๆ แสตมป์ ธนบัตร ปจั จบุ นั ใช้ในการพมิ พง์ ากนาทรเ่ี พปิมน็ พศ์ภิลปาพะและธนบัตร ภาพท่ี 28: ภาพพิมพ์รอ่ งลึก Vira’s Etching (1971s-1977s) ทีม่ าภาพ : http://www.sombatpermpoongallery.com/viras-etching-1971s-1977s/ ภาพพิมพ์พ้นื ราบ (Planographic Printing) เปน็ การพิมพโ์ ดยให้สตี ดิ อยู่ บนผิวหน้าทีร่ าบเรยี บของแมพ่ มิ พ์ โดยไม่ตอ้ งขุดหรือแกะพืน้ ผิวลงไป แตใ่ ช้สารเคมเี ข้า ช่วย ภาพพมิ พช์ นิดนีไ้ ดแ้ ก่ ภาพพมิ พ์หิน ( LITHOGRAPH การพมิ พ์ออฟเซท ( OFFSET ) ภาพพิมพก์ ระดาษ ( PAPER-CUT ) ภาพพมิ พค์ รงั้ เดยี ว ( MONOPRINT ) ชุดการสอนศลิ ปะ “ ทศั นธาตสุ รา้ งสรรค์” ชดุ ท่ี 1 เรือ่ ง ความรู้เบื้องตน้ เกีย่ วกบั ทัศนศลิ ป์ ครจู ริ ปรยี า ชยู อด

58 ภาพที่ 29: ภาพพมิ พก์ ระดาษ ท่มี าภาพ : จริ ปรยี า ชยู อด ( 2557 ) ของแมพ่ 1มิภ.ภพาา์ลพพงพไพปิมมิ สพพผู่ ์ตผ์ละงวิ แานกนูนรทงอี่ไ(หRยมดู่el้าiนe(fหSPลilrังkinStเicปnrgน็e)eกnารพ) ิมเพปช์ ็นนกดิ าเรดพยี มิ วพทโ์ี่ไดดย้รใูปหทส้ ่มี ผี ดี า่ ้านนทเะดลยี ชุวอ่กงนั กับแมพ่ มิ พ์ ไม่กลบั ซ้าย เปน็ ขวา ภาพพมิ พช์ นิดนไี้ ด้แก่ ภาพพมิ พ์ฉลุ ( STENCIL ) ภาพพมิ พ์ตะแกรงไหม ( SILK SCREEN ) เปน็ ต้น ภาพท่ี 30 : ภาพพิมพ์ตะแกรงไหม ท่มี าภาพ : https://sites.google.com/site/print1259/phaph- phimph/4-phaph-phimph-takaerng-him-silk-screen ชดุ การสอนศิลปะ “ ทศั นธาตสุ รา้ งสรรค์” ชดุ ที่ 1 เรือ่ ง ความรู้เบ้อื งตน้ เกีย่ วกับทัศนศิลป์ ครูจริ ปรียา ชยู อด

59 แบบฝึกหัดหลงั เรยี น ชุดท่ี 1 เรอื่ ง ความรูเ้ บอ้ื งตน้ เก่ียวกับทัศนศลิ ป์ มาตรฐาน/ตวั ชว้ี ดั : ม. 1/1 ตัวชี้วดั ท่ี 1 บรรยายความแตกตา่ งและความคลา้ ยคลงึ กันของงาน ทัศนศิลปแ์ ละสงิ่ แวดลอ้ มโดยใชค้ วามรู้เร่ืองทัศนธาตุ คาชีแ้ จง : ให้นักเรยี นเลือกคาตอบขอ้ ทีถ่ ูกตอ้ ง และทาเคร่ืองหมาย X ลงในกระดาษคาตอบ ............................................................................................................................. .................................. 1. ศิลปะกับมนษุ ย์ มคี วามสัมพนั ธก์ นั มาต้ังแต่สมัยใด ก. สมยั ยุคกอ่ นประวัตศิ าสตร์ ข. สมยั กรีก ค. สมัยอยี ิปต์ ง. สมัยสุโขทยั 2. ขอ้ ใดกลา่ วไม่ถกู ตอ้ ง เกีย่ วกับ ศิลปะ ก. ศิลปะ คอื การสื่อสารอย่างหนง่ึ ระหวา่ งมนษุ ย์ ข. ศิลปะ คือการเลียนแบบธรรมชาติ ค. ศลิ ปะ คอื สิง่ ทม่ี นษุ ยส์ ร้างสรรค์ขึน้ ง. ศิลปะ คอื สงิ่ ทเ่ี กิดข้ึนเองตามธรรมชาติ 3. สิง่ ทส่ี าคญั ทสี่ ุด ในงานภาพพมิ พ์ คือข้อใด ก. พูก่ ัน ข. สีน้า ค. จานสี ง. แม่พิมพ์ 4. ขอ้ ใดจดั เปน็ สถาปตั ยกรรม แบบปิด ทง้ั หมด ก. ธนาคาร , สถูป , เจดีย์ ข. เทวสถาน , พีระมดิ , สถปู ค. บา้ น , โบสถ์ , วหิ าร ง. โรงพยาบาล , ห้างสรรพสินคา้ , เจดีย์ ชดุ การสอนศิลปะ “ ทัศนธาตุสร้างสรรค์” ชุดที่ 1 เร่อื ง ความรเู้ บ้ืองต้นเก่ียวกบั ทัศนศลิ ป์ ครูจริ ปรยี า ชยู อด

60 5. ขอ้ ใดจัดเปน็ งานจติ รกรรม ครูจิรปรยี า ชยู อด ก. ภาพเขยี นสนี า้ มนั ข. เรือนไทย ค. รปู ปนั้ พระบรมรูปทรงมา้ ง. ภาพแกะสลกั เทวดาที่ประตูโบสถ์ 6. ภาพวาดและภาพเขยี น มคี วามแตกต่างกนั หรือไม่ อย่างไร ก. เพราะ ใชว้ ัสดใุ นการสร้างงานเหมอื นกนั ข. ไม่แตกต่าง เพราะ เปน็ งาน 2 มิติ เหมอื นกันไมแ่ ตกต่าง ค. แตกต่าง เพราะ ภาพวาดเป็นงาน 2 มติ ิ ภาพเขยี นเป็นงาน 3 มิติ ง. แตกต่าง เพราะ ใช้วัสดุในการสรา้ งงานไมเ่ หมือนกัน 7. ขอ้ ใด ไม่จดั เปน็ งานทัศนศิลป์ ก. เจดยี ์ ข. การบรรเลงดนตรไี ทย ค. ภาพเขียนสีนา้ ง. รูปป้ันชา้ ง 8. ขอ้ ใดกล่าวถูกตอ้ ง เกีย่ วกบั ความหมายของ ทศั นศิลป์ ก. ทัศนศลิ ป์ หมายถงึ งานศิลปะด้านการกอ่ สรา้ ง ข. ทัศนศิลป์ หมายถึง งานศลิ ปะท่มี ีลักษณะ 3 มิติทุกประเภท ค. ทศั นศิลป์ หมายถึง งานศลิ ปะทีส่ ัมผสั ความงามไดด้ ว้ ยการมองเห็น ง. ทศั นศลิ ป์ หมายถึง การสรา้ งสรรคง์ านศิลปะท่เี นน้ ความสวยงามอยา่ งเดียว 9. ข้อใดจดั เปน็ งานประตมิ ากรรม แบบลอยตวั ก. พระพทุ ธรปู ข. เหรียญ 5 บาท ค. บานประตูไม้แกะสลกั ง. ภาพเขยี นลายมงั กรบนแจกัน 10. สถาปัตยกรรมในข้อใด แตกตา่ ง จากพวก ก. อาคารเรยี น ชุดการสอนศิลปะ “ ทัศนธาตสุ รา้ งสรรค์” ชดุ ที่ 1 เรือ่ ง ความรู้เบอ้ื งต้นเกีย่ วกับทัศนศลิ ป์

61 ข. สถานตี ารวจ ค. เจดยี ์ ง. วัด ใบงานที่ 1.3 เรื่อง ประเภทของงานทัศนศิลป์ จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ บอกความแตกต่างของประเภทงานทัศนศลิ ป์ได้ คาชีแ้ จง ตอนที่ 1 ใหน้ กั เรียนดูภาพที่กาหนดให้ แลว้ นา ตวั อกั ษร ประเภทของงานทัศนศิลป์ ไป เติมในช่องวา่ งให้มคี วามหมายสัมพันธ์กบั ภาพ A จิตรกรรม B ประติมากรรม C สถาปัตยกรรม D ภาพพมิ พ์ 1. 2. 3. 4. ชุดการสอนศิลปะ “ ทศั นธาตุสรา้ งสรรค์” ชุดที่ 1 เรือ่ ง ความรู้เบือ้ งตน้ เกย่ี วกับทัศนศิลป์ ครจู ิรปรยี า ชยู อด 5. 6.

62 ตอนที่ 2 ใหน้ กั เรยี น จบั คู่ ตวั อกั ษร ข้อความและ คาอธิบาย ใหม้ ีความหมาย สัมพันธ์กนั .......... 1. จติ รกรรม A. ศลิ ปะและวทิ ยาการทเี่ กีย่ วกับการก่อสรา้ ง .......... 2. ประติมากรรม B. การปัน้ หรอื สลกั ให้ภาพท่ีเกิด นนู ข้ึนจากพน้ื เพยี งเล็กนอ้ ย .......... 3. สถาปตั ยกรรม C. การสร้างสรรคผ์ ลงานดว้ ยวธิ ี ป้ัน แกะสลัก หลอ่ เชอ่ื ม .......... 4. ภาพพมิ พ์ D. การสร้างสรรคผ์ ลงานด้วยวิธี ลาก ขีด เขยี น ระบายสี .......... 5. ภาพวาด บนวัสดทุ ีม่ ีความเรยี บ .......... 6. ภาพเขียน .......... 7. เทวสถาน E. ภาพที่สร้างสรรคด์ ้วยสชี อล์ก ดนิ สอ สเี ทียน .......... 8. ประตมิ ากรรม F. การป้ัน หรือ สลัก ใหร้ ปู ท่ีต้องการนูนข้ึนจากพน้ื หลัง ลอยตวั มากกว่าครงึ่ .......... 9. เจดยี ์ G. สถาปตั ยกรรมแบบเปดิ .......... 10. วดั H. สถาปัตยกรรมแบบปดิ I. ผลงานทีส่ รา้ งสรรค์บนพื้นระนาบด้วยสนี า้ สีน้ามัน สีอะคริลิก J. ภาพทเี่ กิดจากการกดแม่พมิ พ์ K. การป้ัน หรอื สลกั ท่ีสามารถมองเห็นไดร้ อบด้าน L. เป็นผลงาน 3 มิติ ที่เกดิ จากการระบายสี M. เปน็ ผลงาน 2 มิติ ทีเ่ กิดจากการแกะสลัก ตอนที่ 3 ให้นักเรียนสรุปเนื้อหาประเภทของงานทัศนศ์ ลิ ป์ ในรปู แบบแผนผงั ความคดิ ( Mind Map ) พรอ้ มทั้งระบายสี ตกแตง่ ใหส้ วยงาม ชดุ การสอนศิลปะ “ ทศั นธาตสุ รา้ งสรรค์” ชดุ ที่ 1 เรอื่ ง ความรเู้ บอื้ งต้นเกี่ยวกับทัศนศิลป์ ครูจริ ปรียา ชยู อด

63 เฉลยใบงานท่ี 1.1 เรอ่ื ง ความหมายของศลิ ปะและทศั นศลิ ป์ จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ บอกความหมายของศิลปะและทัศน์ศิลปไ์ ด้ คาชแ้ี จง ตอนท่ี 1 ให้นักเรียนเตมิ คาตอบให้ถูกตอ้ ง 1. ศลิ ปะ หมายถงึ ผลงานท่มี นษุ ย์สร้างสรรคข์ ้นึ โดยเกิดจากความคดิ สรา้ งสรรค์ของมนษุ ย์ 2. ให้นกั เรยี นอธบิ ายคากลา่ วที่วา่ “ ศลิ ปะ คอื การเลยี นแบบธรรมชาติ ” พรอ้ มยกตัวอย่าง ทกี่ ล่าวว่า ศลิ ปะ คือการเลียนแบบธรรมชาติ หมายถึงการสร้างสรรค์งานของศลิ ปิน บางคร้งั อาจได้แรงบันดาลใจมาจากธรรมชาติ หรือเลียนแบบมาจากธรรมชาติ เช่น เราไปเทยี่ ว นา้ ตก แล้วชน่ื ชอบในความงามของนา้ ตก แล้ววาดภาพนา้ ตกน้ัน กถ็ ือเปน็ การเลียนแบบ ธรรมชาติเชน่ กนั 3. .ให้นักเรียนสรปุ ความหมายของคาวา่ “ ทัศนศลิ ป์ ” ผลงานศิลปะทส่ี ามารถสมั ผสั ความงามได้ด้วยการมองเหน็ 4. “ ดลู วดลาย บนปีกผีเส้อื นั่นสิ สวยงามจริงๆ ” จากขอ้ ความดงั กล่าว ลวดลายบนปีกผีเสอ้ื จัดเป็นงานศลิ ปะหรอื ไม่ เพราะเหตใุ ด ลวดลายบนปกี ผเี สือ้ ไมจ่ ดั เปน็ งานศิลปะ เพราะ เกิดข้ึนเองตามธรรมชาติ ไม่ใชเ่ กิดจาก การสรา้ งสรรค์ของมนษุ ย์ ตอบถูกกนั ไหมเอย่ ชุดการสอนศลิ ปะ “ ทศั นธาตสุ รา้ งสรรค์” ชุดท่ี 1 เร่อื ง ความรู้เบอ้ื งต้นเก่ยี วกับทัศนศิลป์ ครจู ริ ปรยี า ชยู อด

64 คาชีแ้ จง ตอนท่ี 2 ใหน้ ักเรียนดูภาพแลว้ นาอกั ษร A หรอื B ไปเติมลงในชอ่ งว่าง ให้มีความสมั พนั ธ์ กับภาพ A เกิดขนึ้ เอง B มนษุ ยส์ ร้างข้นึ AB ชุดการสอนศลิ ปะ “ ทศั นธาตุสร้างสรรค์” ชุดท่ี 1 เรอื่ ง ความรเู้ บ้ืองต้นเก่ียวกบั ทัศนศลิ ป์ ครจู ิรปรียา ชูยอด

65 เฉลยใบงานที่ 1.2 เรอ่ื ง ความสัมพันธร์ ะหว่างศลิ ปะกบั มนษุ ย์ จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ บอกความสมั พนั ธ์ระหวา่ งศลิ ปะกบั มนุษย์ได้ คาชีแ้ จง ให้นักเรียนตอบคาถามลงในช่องวา่ งให้ถกู ตอ้ ง 1. มนษุ ย์เริม่ มกี าร สร้างสรรค์ งานศิลปะต้ังแตส่ มัยใด ยคุ กอ่ นประวัตศิ าสตร์ หรอื ยุคหิน 2. มนษุ ย์ยคุ ก่อนประวัติศาสตร์ มีการสร้างสรรคผ์ ลงานศิลปะ ด้วยวิธกี ารใด ใช้การวาดดว้ ยสแี ห้ง ระบายสี พ่นสี ทาบหรือประทับ และการสะบัดสี 3. ให้นกั เรยี นยกตวั อยา่ ง วัสดุท่มี นษุ ยย์ ุคกอ่ นประวัติศาสตร์ ใชใ้ นการสร้างสรรค์ผลงาน ศลิ ปะ มา 3 ชนดิ 1. เลือดสตั ว์ 2. ถา่ น 3. ดนิ แดง 4. เรื่องราวในงานจติ รกรรม ของมนษุ ย์ยคุ กอ่ นประวัติศาสตร์ เป็นเรื่องราวเกีย่ วกับอะไร ชวี ติ ประจาวนั เก่ยี วกับการลา่ สตั ว์ 5. นักเรยี นคิดวา่ ศลิ ปะมีความสมั พันธ์เกี่ยวขอ้ งกบั ชีวติ ประจาวันของเราอยา่ งไรบ้าง อธิบายพรอ้ มยกตวั อยา่ ง ศิลปะสมั พนั ธก์ บั ชีวิตเราต้ังแตเ่ ช้าจนกระทั่งเข้านอน ยกตวั อย่างเช่น ตน่ื นอนมาเราแปรง ฟัน ซง่ึ แปรงสฟี นั กับยาสฟี ัน ก็ล้วนมีศลิ ปะเก่ยี วข้องท้งั การออกแบบสีสนั ลวดลาย สง่ิ ต่างๆรอบตวั เราถา้ พจิ ารณาดีๆกเ็ กีย่ วข้องกบั ศลิ ปะทั้งสิน้ ไม่ว่าจะเป็นท่อี ยอู่ าศยั ชดุ เสื้อผา้ ยานพาหนะ สงิ่ อานวยความสะดวก ตา่ งๆ เป็นต้น ชดุ การสอนศิลปะ “ ทศั นธาตสุ รา้ งสรรค์” ชดุ ที่ 1 เร่อื ง ความรเู้ บื้องต้นเกยี่ วกบั ทศั นศิลป์ ครจู ริ ปรยี า ชูยอด

66 ตอนท่ี 2 จากภาพให้นกั เรยี นเขยี นบรรยายลักษณะภาพเขียน ของมนุษย์ยุคก่อนประวัติศาสตร์ ใน ประเด็นท่กี าหนด เฉลยใบงานท่ี 1.3 เรื่อง ฟ้อน จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ บอกความแตกตา่ งระบา รา ฟอ้ นได้ คาช้แี จง ใหน้ ักเรียนตอบคาถามใหถ้ กู ตอ้ ง เนือ้ หาเรอ่ื งราว ภาพน้ีเปน็ ภาพเขยี นของมนุษยย์ คุ กอ่ นประวตั ิศาสตร์ ที่มเี น้ือหาเร่อื งราวเกี่ยวกับ ความเป็นอยูช่ ีวิตประจาวนั การล่าสัตว์ ลักษณะการสรา้ งงาน เปน็ ภาพเขียนสีบนผนังถา้ ที่มลี กั ษณะการเขียนภาพทเี่ หมอื นจริง ชดุ การสอนศิลปะ “ ทัศนธาตสุ รา้ งสรรค์” ชดุ ท่ี 1 เรอื่ ง ความรูเ้ บือ้ งตน้ เกี่ยวกับทัศนศลิ ป์ ครูจิรปรียา ชยู อด

67 เฉลยใบงานท่ี 1.3 เรอ่ื ง ประเภทของงานทศั นศิลป์ จดุ ประสงค์การเรียนรู้ บอกความแตกต่างของประเภทงานทัศนศิลป์ได้ คาชแ้ี จง ตอนที่ 1 ใหน้ กั เรียนดูภาพทก่ี าหนดให้ แล้วนา ตวั อกั ษร ประเภทของงานทศั นศลิ ป์ ไป เตมิ ในช่องว่างใหม้ ีความหมายสัมพันธ์กบั ภาพ A จติ รกรรม B ประติมากรรม C สถาปตั ยกรรม D ภาพพิมพ์ 1. C 2. B A. กศ3าลิ. รDปปะัน้แหลระือวทิสลยักากใหาร้ภทาพี่เกทย่ี ี่เวกกดิ ับกนานู รขกึน้ ่อจสารกา้ พงืน้ เพยี งเล็ก4น. ้อBย B. ตอนที่ 2 ใหน้ ักเรยี น C. การสรา้ งสรรค์ผลงานดว้ ยวิธี ปัน้ แกะสลัก หลอ่ เช่อื ม D. การสรา้ งสรรคผ์ ลงานดว้ ยวธิ ี ลาก ขีด เขียน ระบายสี ...D... 1. จิตรกรรม บนวสั ดทุ มี่ ีความเรยี บ ...C.... 2. ประตมิ ากรรม E. ภาพทีส่ รา้ งสรรคด์ ว้ ยสีชอล์ก ดนิ สอ สเี ทียน ...A.... 3. สถาปตั ยกรรม F. การปนั้ หรือ สลัก ใหร้ ูปทีต่ ้องการนูนขนึ้ จากพน้ื หลัง ... J.... 4. ภาพพิมพ์ มากกว่าครึง่ ...E..... 5. ภาพวาด G. สส5.ถถาาAปปตััตยยกกรรรรมมแแบบบบเปปิดิด 6. A ...I...... 6. ภาพเขียน H. ...H..... 7. เทวสถาน I. ผลงานทีส่ รา้ งสรรค์บนพนื้ ระนาบดว้ ยสนี ้า สนี ้ามนั ...K..... 8. ประตมิ ากรรม สอี ะคริลิก ชดุ ลกาอรสยอตนวั ศิลปะ “ทัศนธาตสุ ร้างสรรคJ์.” ชภุดาทพี่ 1ทเ่เีรก่อื งิดคจวาามกรกูเ้ บาอ้ื รงกตน้ดเแกย่ีมวพ่กับมิ ทพศั ์นศิลป์ ครูจริ ปรยี า ชยู อด ...H..... 9. เจดยี ์ K. การป้นั หรือ สลัก ทส่ี ามารถมองเห็นได้รอบด้าน ...G..... 10. วดั L. เปน็ ผลงาน 3 มติ ิ ทเี่ กดิ จากการระบายสี M. เปน็ ผลงาน 2 มิติ ทเี่ กดิ จากการแกะสลัก

68 จับคู่ ตวั อกั ษร ข้อความและ คาอธิบาย ให้มคี วามหมาย สมั พันธ์กัน ตอนท่ี 3 ให้นักเรยี นสรุปเน้ือหาประเภทของงานทศั น์ศลิ ป์ ในรปู แบบแผนผังความคดิ ( Mind Map ) พร้อมทง้ั ระบายสี ตกแตง่ ให้สวยงาม เฉลยแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรยี นกอ่ นเรยี น ชุดท่ี 1 ความรู้ทั่วไปเกยี่ วกับทศั นศิลป์ 1. 2. 3. 4. 5. ครจู ิรปรียา ชยู อด ชดุ การสอนศิลปะ “ ทัศนธาตุสร้างสรรค์” ชุดที่ 1 เร่อื ง ความรเู้ บ้อื งตน้ เกย่ี วกับทศั นศลิ ป์

69 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15. 16. 17. 18. 19. ค 20.ง เฉลยแบบฝกึ หัดก่อนเรียน ชดุ ท่ี 1 ความรเู้ บื้องตน้ เกย่ี วกบั ทศั นศิลป์ ชุดการสอนศิลปะ “ ทศั นธาตุสรา้ งสรรค์” ชดุ ท่ี 1 เร่อื ง ความรเู้ บ้อื งต้นเกี่ยวกับทศั นศิลป์ ครจู ริ ปรยี า ชูยอด

70 1. ข 2. ข 3. ก 4. ง 5. ค 6. ก 7. ค 8. ค 9. ค 10. ง เฉลยแบบฝกึ หดั หลังเรียน ครูจริ ปรยี า ชยู อด ชุดที่ 1 ความร้ทู ัว่ ไปเก่ยี วกบั ทศั นศิลป์ ชุดการสอนศลิ ปะ “ ทศั นธาตุสร้างสรรค์” ชดุ ท่ี 1 เร่ือง ความร้เู บ้อื งตน้ เกี่ยวกับทัศนศิลป์

71 1. ก 2. ง 3. ง 4. ข 5. ก 6. ง 7. ข 8. ค 9. ก 10. ค บรรณานกุ รม https://alasat.wordpress.com/2010/05/23 สืบค้น22/11/59 http://art-math.blogspot.com/2008/09/land-scape.html http://www.br.ac.th/CAI/benjamasilp/art%206.html http://www.baanjomyut.com/library_2/extension- 4/the_visual_aesthetics/01.html 20 พย 59 คณะกรรมการการศึกษา สานักวชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา. (2551). ตวั ช้วี ัดและสาระการ เรยี นรู้แกนกลางกล่มุ สาระการเรียนรู้ศิลปะ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพช์ มุ นมุ สหกรณ์ ชดุ การสอนศลิ ปะ “ ทศั นธาตสุ ร้างสรรค์” ชุดที่ 1 เรอ่ื ง ความรเู้ บอื้ งต้นเก่ยี วกับทศั นศลิ ป์ ครจู ิรปรียา ชูยอด

72 การเกษตรแห่งประเทศไทย. นาฏปียา. ระบาดาวดึงส์. [ออนไลน์ ]. เขา้ ถึงไดจ้ าก : http://www.oknation.net/blog/natpiya. (2552, ตลุ าคม 19). นิยาม กระบี่กระบอง และมวยไทย ตอนท่ี 20 ไมต้ ีที่ 5-6 ของกระบี่. [ออนไลน์ ]. เขา้ ถึงไดจ้ าก : http://www. writer.dek-d.com/Writer/story/viewlongc.php?. (2552, ตลุ าคม 19). ชุดการสอนศลิ ปะ “ ทศั นธาตสุ ร้างสรรค์” ชดุ ท่ี 1 เรือ่ ง ความรเู้ บือ้ งต้นเกยี่ วกับทัศนศลิ ป์ ครูจริ ปรียา ชูยอด


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook