Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 38job17

38job17

Published by อํานาจ จันทร, 2020-02-13 23:31:52

Description: 38job17

Search

Read the Text Version

ระบบเศรษฐกจิ ของประเทศองั กฤษ เสนอ คณุ ครู จันทนา ลัยวรรณา จัดทาโดย นาย อานาจ จนั ทร เลขท่ี 38 ระดบั ชน้ั ปวช.2/1 สาขาวชิ า คอมพิวเตอร์ธุรกจิ รายงานนเ้ี ป็นส่วนหนง่ึ ของวชิ า เศรษฐศาสตร์เบ้อื งต้น (2200-1001) ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2562 วิทยาลัยเทคนิคจันทบรุ ี

คานา รายงานเลม่ น้ีจดั ทาขึ้นเพื่อเป็นส่วนหนึง่ ของวิชาเศรษฐศาสตรเ์ บือ้ งตน้ ช้ันปวช.2/1 เพื่อใหไ้ ด้ศึกษา หาความรใู้ นเรอ่ื งสถานการณ์เศรษฐกิจอังกฤษและได้ศกึ ษาอย่างเข้าใจเพ่ือเปน็ ประโยชน์กับการเรียน ผู้จัดทาหวงั วา่ รายงานเล่มนจ้ี ะเปน็ ประโยชนก์ ับผู้อ่าน ทก่ี าลังหาขอ้ มูลเร่ืองน้ีอยู่ หากมีข้อผดิ พลาด ประการใด ผจู้ ดั ทาขออภัยมา ณ ท่นี ีด้ ้วย นายอานาจ จันทร

สารบัญ เศรษฐกจิ ของประเทศองั กฤษ 1-5 ประวตั ปิ ระเทศอังกฤษ 6-8 การปกครองของประเทศอังกฤษ 8-11 ที่มาของชือ่ ประเทศและเมืองหลวง 11-12

1 เศรษฐกิจของประเทศองั กฤษ ระบบเศรษฐกจิ การขยายตวั ทางการคา้ ระหว่างกลุม่ ธุรกิจภายในประเทศ สง่ ผลต่อการขยายตวั ของระบบเศรษฐกิจ ของไทยเปน็ ส่วนรวม การค้าขายแลกเปลี่ยนสินค้าภายในประเทศกข็ ยายตวั กวา้ งขวางข้นึ กลุ่มธรุ กิจท่สี ามารถ ทากาไรจากการค้าขายของตนก็สามารถทากาไรและสะสมทนุ ได้ มากขนึ้ ทุนหรือกาไรดังกลา่ วจะชว่ ยให้ธุรกิจ สามารถปรับปรุงและพฒั นาต่อไปได้อย่างมี ประสทิ ธภิ าพ ซง่ึ จะนาไปสคู่ วามเตบิ โตของธุรกจิ ขนาดใหญท่ ่ีมี อานาจผูกขาดทางเศรษฐกจิ มาก ขนึ้ ขณะเดียวกนั ก็จะทาให้ธรุ กจิ ขนาดใหญน่ ้ันมีอทิ ธิพลทางการเมืองควบคู่ ไปดว้ ย นโยบายเศรษฐกจิ ของประเทศเป็นปจั จยั สาคญั ที่กาหนดบทบาทและอิทธพิ ลของธรุ กจิ เอกชน ในกรณี ของประเทศไทยแนวนโยบายเศรษฐกิจของประเทศไดเ้ อ้ืออานวยตอ่ การขยายตวั และการเติบใหญข่ องธุรกจิ เอกชน ซง่ึ รฐั บาลเองก็จะต้องใช้ดลุ พนิ ิจอยา่ งรอบด้าน ประการแรก ประเทศไทยเปน็ ประเทศทใ่ี ชร้ ะบบเศรษฐกจิ แบบทนุ นยิ ม ทส่ี นบั สนุนการประกอบธรุ กิจของ เอกชนมาโดยตลอด แม้ว่าในบางชว่ งเวลาในสมยั ของรฐั บาลจอมพล ป. พบิ ลู สงคราม จะไดห้ ันมาเนน้ บทบาท ของรัฐในทางเศรษฐกิจกต็ าม อย่างไรก็ตาม หลงั ปี พ.ศ. 2501 รัฐบาลไดห้ ันมาเนน้ บทบาทเศรษฐกจิ ของ เอกชนมากขึ้น พรอ้ มกบั ให้ความช่วยเหลอื การประกอบธุรกิจของเอกชนในด้านตา่ งๆ อาทเิ ชน่ การ ประกาศใชก้ ฎหมายการสง่ เสริมการลงทุน โดยใหส้ ทิ ธพิ เิ ศษแก่ผู้ที่ได้รบั การสง่ เสรมิ การลงทุนของรฐั บาล ใน ขณะเดียวกันนโยบายการพฒั นาเศรษฐกจิ ของประเทศที่ได้กาหนดไวใ้ นแผนพัฒนา เศรษฐกจิ และสงั คม แห่งชาติ กไ็ ดจ้ ากดั บทบาทการของธุรกจิ ของรัฐวิสาหกจิ มิใหแ้ ข่งขนั กับเอกชน ประการ ท่ีสอง นอกจากประเทศไทยได้ใช้ระบบเศรษฐกิจแบบทนุ นิยมแล้ว ยังเปน็ ประเทศที่เปิดกว้างในทาง เศรษฐกิจทาการติดต่อค้าขายกบั ต่างประเทศ อย่างเสรี เปิดโอกาสและชักชวนใหต้ า่ งประเทศเขา้ มาลงทนุ และ ประกอบการค้าในประเทศไทย การใช้นโยบายเศรษฐกิจแบบเปดิ กว้างทาใหร้ ะบบเศรษฐกิจไทยผูกพันกบั ระบบ เศรษฐกิจโลกอย่างลึกซึ้ง ทัง้ ทางสังคมเศรษฐกิจและการเมอื ง ในปจั จบุ นั มูลคา่ การคา้ ต่างประเทศเทียบ กับรายได้ประชาชาติแลว้ ตกประมาณร้อย ละ 50 ซ่งึ หมายความวา่ ประมาณคร่งึ หน่ึงของการประกอบการทาง เศรษฐกิจภายในประเทศจะ เกีย่ วพนั กบั เศรษฐกิจต่างประเทศโดยตรง ดังนัน้ การเปล่ยี นแปลงทางเศรษฐกิจ ของโลกจึงส่งผลกระทบต่อการเปล่ยี นแปลงทางเศรษฐกจิ ในประเทศไทยได้โดยง่าย การใช้นโยบายเศรษฐกิจแบบเปดิ กว้าง นอกจากจะสง่ ผลให้เศรษฐกจิ ของประเทศเติบโตไดเ้ ร็วแล้ว ยงั ทาให้ กลุ่มธรุ กจิ ต่างๆ ขยายตัวเตบิ ใหญ่ และมีบทบาทอทิ ธพิ ลในทางเศรษฐกิจมากขน้ึ ซง่ึ เปน็ รากฐานสาคัญของการ ขยายตวั ของกลุ่มธุรกจิ ผกู ขาด ประการที่ สาม เม่ือกลมุ่ ธุรกิจขยายใหญ่ และระบบเศรษฐกจิ เจริญเติบโตมคี วามซับซ้อนมากขึน้ การกากับ และการควบคมุ ธรุ กจิ ของรฐั บาลกม็ ปี ญั หามากขนึ้ ทั้งนี้เน่ืองจากระบบราชการมิได้รับการพัฒนาให้ทันกับการ เปลีย่ นแปลงทาง เศรษฐกจิ ตามไม่ทันการพัฒนาการของธรุ กิจเอกชน จงึ ทาให้การควบคมุ หรือการกากบั การ

2 ทางเศรษฐกิจของรฐั บาลไม่ได้ผล และเปน็ อุปสรรคต่อการประกอบธุรกจิ ของเอกชน ปัญหาดังกลา่ วไดท้ าให้ รฐั บาลหนั มาแก้ปัญหาดว้ ยการควบคุมธรุ กิจเอกชนน้อยลง และหนั มาแสวงหาความร่วมมือจากกลุ่มธุรกจิ ขนาดใหญ่มากขนึ้ อาทิเช่น ไดม้ ีการจัดต้ังคณะกรรมการร่วมภาครัฐบาลและภาคเอกชนเพ่อื แก้ปญั หา เศรษฐกิจ ของประเทศทม่ี ีช่อื ยอ่ วา่ กรอ. ท้งั ในประเทศและระดบั ภมู ิภาค นโยบายการแก้ปัญหาเศรษฐกจิ ดังกลา่ วแม้จะมผี ลดที ่ชี ่วยให้แก้ปญั หาอปุ สรรคของ การพัฒนาเศรษฐกจิ ไดบ้ ้างกต็ าม แต่ก็เปน็ นโยบายทล่ี ด บทบาทของระบบราชการและเพิ่มบทบาทอิทธิพลของกล่มุ ธุรกจิ ในระดบั ตา่ งๆ มากขนึ้ ซ่ึงเปน็ ปจั จยั สาคญั ใน การขยายอิทธพิ ลของกลุ่มผูกขาดในทางเศรษฐกิจ ต้อง ยอมรับโดยแท้ว่า การเปลีย่ นแปลงทางสงั คมเศรษฐกิจทีไ่ ดเ้ ปน็ ไปอย่างรวดเรว็ ในชว่ งหลังสงคราม โลก คร้ังท่ีสองนน้ั ไดม้ ีผลกระทบโดยตรงตอ่ โครงสรา้ งทางการเมืองด้วย กลา่ วคือ ระบบการเมืองจาเป็นต้องเปิด กวา้ ง เพื่อให้ประชาชนได้เขา้ มามสี ่วนร่วมมากข้นึ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ตั้งแต่เหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 เป็น ต้นมา การเมืองในระบบแบบเปดิ กวา้ งนี้ได้ทาให้กลุม่ ธรุ กิจเขา้ มามีบทบาททางการ เมืองโดยตรงมากขนึ้ อย่างไรกต็ าม ในแง่นโยบายเศรษฐกจิ ของประเทศไทย ควรยดึ มน่ั ในหลักการเศรษฐกิจเสรีท่ีตอ้ งระมัดระวงั และเข้าใจระดบั ของการ เปลี่ยนแปลงทางสังคมเศรษฐกิจของไทย คอื ระบบเศรษฐกิจของไทยขยายตวั อย่าง รวดเร็วและผกู ผนั กบั ระบบเศรษฐกจิ โลกมาก ข้ึน มกี ารผลิตทางด้านอุตสาหกรรมมากขึ้นตามลาดับมีการขยาย การเปิดประเทศซ่ึงทาให้ มีการเปล่ียนสินค้ากบั ตา่ งประเทศนาไปสกู่ ารนาเขา้ สินค้าและวัตถดุ ิบมีการ ขยาย การเปิดมากข้นึ นอกจากนั้นเงนิ และระบบการเงินก็ได้เขา้ มามี อิทธิพลในระบบเศรษฐกจิ มากขึ้น ในขณะเด่ยี วกนั การเพิม่ ขึ้น ของจานวนประชากรอย่างรวดเรว็ และการพัฒนาชุมชนเมือง มีผลให้ประชาชนตื่นตวั ต่อความเจรญิ ทางด้าน วตั ถุและต้องการสินคา้ บรกิ ารตา่ งๆ เพิ่มขึ้น และการทป่ี ระเทศไทยมนี โยบายทางเศรษฐกจิ ทีเ่ นน้ ระบบ เศรษฐกจิ แบบทนุ นยิ ม เปิดกว้างใหม้ ีการตดิ ต่อค้าขายกบั ต่างประเทศโดยเสรี มกี ารสนับสนุนธรุ กิจเอกชน ทา ใหก้ ลุม่ ธุรกจิ ขยายตวั เจริญเติบโตและมคี วามสลับซับซอ้ นมากขนึ้ ในขณะที่ระบบราชการยังอ่อนแอ รัฐบาล อาจต้องประสบปญั หาการกากบั และการควบคุมธุรกิจ ดังนั้น รัฐบาลต้องควบคุมองค์ประกอบและกลไกของ ระบบการเมืองเพื่อทาให้การเมืองน่ิง และมุ่งแกป้ ญั หาด้านเศรษฐกจิ ของประเทศตอ่ ไป เพราะขณะนี้ไม่ว่าโครง สรา้ งทางสังคมและอานาจการต่อรองของกลุ่มผลประโยชน์ทม่ี ีอยู่ อาทเิ ชน่ กลมุ่ ศักดิ นา กลมุ่ ทหารข้าราชการ กลุ่มพ่อค้านักธรุ กจิ กลุม่ เกษตรกร กลุม่ ผ้ใู ช้แรงงานและประชาชนท่วั ไป ซงึ่ ต่างมี อานาจการต่อรองแตกต่างกนั ออกไป แต่กลมุ่ ตา่ งๆเหลา่ น้กี ็จะมีบทบาทและอทิ ธิพลต่อการกาหนดนโยบาย และการทางาน ของรัฐบาลในอนั ทจี่ ะตอบสนองผลประโยชน์ของตน องค์กรนติ ิบญั ญัติ บรหิ ารและตุลาการ กลุ่มอิทธิพลท่มี บี ทบาทในการควบคมุ องค์กรตา่ งๆเหล่าน้ีก็จะสามรถใช้อานาจใน การกาหนดนโยบายและการ บริหารประเทศเพื่อประโยชน์ในกลมุ่ ของตน และ สุดทา้ ยผลกระทบจากการกาหนดนโยบายและการบริหารงานของรัฐบาล ซงึ่ ยอ่ มจะตกแกป่ ระชาชน ทั่วไป คอื ประชาชนทกุ คนต่างตอ้ งการส่ิงจาเปน็ พนื้ ฐาน คือความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยส์ ิน การกินดีอยูด่ ี

3 และการมีสิทธิเสรภี าพดว้ ยกันทง้ั นน้ั แตก่ ็เป็นเร่ืองยากท่ีประชาชนกลุ่มต่างๆ จะได้รบั ผลประโยชน์จากการ ดาเนินนโยบายและการบริหารประเทศของรัฐบาลอย่างเทา่ เทยี มกนั เม่ือสังคมแตล่ ะแห่งมรี ะบบเศรษฐกจิ ทีแ่ ตกตา่ งกันออก ไป ดังนัน้ จงึ ไดม้ ี การพจิ ารณาแบง่ ระบบ เศรษฐกจิ ของสงั คม โดยอาศัยความสมั พันธ์ระหวา่ งหน่วยเศรษฐกจิ ในสงั คมนน้ั ๆ เปน็ ตัวกาหนด สามารถแบ่ง ได้ 3 ระบบ ดงั น้ี 1. ระบบเศรษฐกิจแบบดัง้ เดิม เปน็ ระบบเศรษฐกิจท่ีหน่วเศรษฐกจิ ต่างๆ มีความ สมั พนั ธ์กันโดยอาศัย ศาสนา ขนบธรรมเนียมประเพณี อุปนสิ ยั ความเคยชินเป็นตัวกาหนด ระบบ เศรษฐกจิ แบบน้กี ารตดั สินใจใน การผลิตหรอื การบริโภค จะดาเนนิ ตามรอยคนรนุ่ เกา่ และประสบการณ์ การตดั สนิ ใจในอดีต การผลิตของ ครอบครัวมักเกิดขนึ้ เพือ่ ตอบสนองความต้องการของครอบครวั ของ ตนเองเปน็ สาคัญ เช่น ปลูกพืช เล้ยี งสตั ว์ เพื่อเป็นอาหารในครอบครัว ทอผา้ และทาเคร่ืองใช้ต่างๆ ขึ้นเอง การซื้อขายแลกเปลีย่ นระหว่างสมาชิกใน สงั คมมีไมก่ วา้ งขวางนัก สังคมในปจั จบุ นั ต่างก็เคยผ่านระบบเศรษฐกิจแบบดั้งเดิมมาแลว้ ในอดีต แต่ใน ปัจจบุ ันระบบเศรษฐกจิ แบบดั้งเดิมมใี หเ้ หน็ น้อยมาก ส่วนใหญจ่ ะยงั คงมีอยู่ในแถบเผา่ ชนท่มี คี วาม เจรญิ ยงั เข้า ไปไม่ถึง 2. ระบบเศรษฐกิจแบบสงั คมนยิ มหรือแบบบังคับ เป็นระบบเศรษฐกจิ ท่ีขน้ึ อยู่กับ อานาจรัฐ หน่วย เศรษฐกิจตา่ งๆ จงึ มีหนา้ ท่ีทาตามคาสง่ั หรือข้อกาหนดของรัฐ หน่วยงานของรฐั จะมี ความสาคญั ต่อการ ตดั สินใจของประชาชนในดา้ นการใช้จา่ ย เพ่ือการอุปโภคบริโภค การลงทนุ ทาง การค้า การประกอบอาชีพ การกาหนดราคาหรอื ผลตอบแทนจากการซ้อื ขายแลกเปล่ียน ทัง้ นี้ เพอ่ื ให้ สอดคล้องกับเป้าหมายต่างๆ ท่ี รฐั บาลกาหนดไว้ กล่าวคือ รัฐจะเป็นผู้กาหนดวางแผนวา่ สังคมจะตอ้ ง ผลิตสินคา้ และบริการอะไร ในปริมาณ เท่าใด ผลติ อย่างไร และผลติ เพอ่ื ใคร ส่วนกรรมสทิ ธิ์ในทรัพย์สิน หรือทรัพยากรมักเปน็ ของรัฐ ประเทศทมี่ ีระบบเศรษฐกิจแบบบงั คบั เชน่ ประเทศสหภาพโซเวียตในอดตี สหภาพ พมา่ เวียดนาม สาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนเกาหลี โดยประเทศเหล่านี้มกั เปน็ ประเทศทีม่ ีการ ปกครองแบบสังคมนิยม หรือคอมมิวนสิ ต์ 3. ระบบเศรษฐกจิ แบบทนุ นยิ มหรอื แบบตลาด เป็นระบบเศรษฐกจิ ที่หนว่ ยเศรษฐกจิ ต่างๆ สามารถ ตัดสนิ ใจเลือกซื้อหรือผลติ สินค้าและบริการตามความต้องการของตนได้ อย่างเสรี กรรมสิทธ์ใิ นทรพั ย์สนิ เป็น ของเอกชน คือ ประชาชนสามารถเลอื กที่จะผลิตสินคา้ หรือบริโภคสินคา้ 4 ใดก็ไดต้ ามความพึงพอใจ สามารถ เป็นเจ้าของทรัพย์สินและปัจจัยการผลิตเทา่ ที่ตนหามาได้ แตท่ ัง้ น้ี ต้องอยภู่ ายใต้อานาจของกฎหมายท่ีกาหนด ไว้ สาหรับรฐั บาลจะเขา้ มาเกี่ยวข้องในกจิ กรรมทาง เศรษฐกิจนอ้ ยท่สี ุด โดยทาหน้าท่ดี ูแลรกั ษาความสงบ เรียบรอ้ ยของบา้ นเมืองเทา่ น้ัน ประเทศท่ีมรี ะบบเศรษฐกิจแบบตลาด เช่น ประเทศสหรัฐอเมริกา ญี่ปนุ่ องั กฤษ ในทางทฤษฎีที ่พูดกันคอื แบบผสมระหว่างทุนนยิ มและสัมคม นิยม แตบ่ ฏิบตั ิจรงิ เป็นแบบทุนนยิ ม เพราะได้นาสาธรณุปโภคไปแปรรปู เปน็ เอกชนเกอื บหมดแล้ว ทาให้ประชาชนต้องแบกภาระเร่ืองการใช้จา่ ย โดยไมจ่ าเปน็

4 3 ประเภท 1.แบบทนุ นิยม รฐั บาลจะไม่เข้าไปแทรกกจิ กรรมใด ๆ ของประชาชน 2.แบบสงั คมนยิ ม แบง่ เปน็ อีก 2 ประเภท คอื 1.สงั คมนยิ มแบบเข้ม หรือ คอมมวิ นิสต์ รัฐบาลจะเป็นเจ้าของทรัพย์สินทั้งหมดประชาชนไม่มีสทิ ธิถือครอง 2.สงั คมนิยม คือ รัฐบาลจะเปน็ เจ้าของสถานบนั การเงินทงั้ หมดเพราะเปน็ แหลง่ เงนิ ทุนขนาดใหญ(่ รฐั สวัสดกิ าร) 3.แบบผสม คือ รฐั บาลกับเอกชนจะรว่ มมอื กนั ในการพัฒนารัฐจะเข้าควบคมุ สาธารณปู โภค(รฐั วสิ าหกจิ ) ประเทศไทยเปน็ แบบ ท่ี 3 แบบผสม เหตผุ ลไมท่ ราบอาจเพราะ รัฐบาลอาจเปิดโอกาสให้เอกชนรฐั สมั ปทานไปแล้วรฐั บาลก็จะมีรายไดส้ ่วนหน่งึ จากค่าสัมปทาน พวกไฟฟ้า ประปา น้ามัน โทรศัพท์ โทรทัศน์ ระบบทนุ นยิ มคอื อะไร 1.ระบบทนุ นิยม คอื ระบบเศรษฐกจิ ทีเ่ ปิดใหเ้ อกชนมีการแข่งขนั ทางธรุ กิจอย่างเสรี มีกาไรเป็นเป้าหมาย มี กลไกราคาเปน็ ตัวกาหนด ส่วนรัฐจะมหี นา้ ท่ดี แู ลเร่ืองส่วนรวมของประเทศ เชน่ การทหาร การต่างประเทศ ขอ้ ดี เกดิ การพัฒนาทางเศรษฐกิจทีร่ วดเรว็ ทั้งประชาชนยังมสี ิทธิเสรีภาพ ขอ้ เสยี เกิดความเหล่ือมล้าทางเศรษฐกิจ รวยกระจุก จนกระจาย ระบบทุนนิยม คือระบบเศรษฐกจิ และสังคมท่ีขบั เคลื่อนดว้ ยพลังแหง่ การสะสมทนุ ปัจเจกบคุ คลมี ความสาคญั คนมีเสรภี าพในการเลือกและการตัดสนิ ใจ ความสัมพนั ธท์ างการผลิตหลักในระบบทุนนิยมคอื ความสมั พนั ธแ์ บบขายแรงงานแลก เงนิ (wage-labor relationship) นายทนุ เป็นเจา้ ของปัจจยั การผลติ ขณะที่แรงงานขายพลงั แรงงานของตวั เอง ในอตั ราค่าจา้ งคงที่ ในกระบวนการผลติ สินคา้ มีมลู ค่าสว่ นเกิน เกดิ ขนึ้ และตกเปน็ ของนายทุน นายทุนใชม้ ลู คา่ ส่วนเกินในการสะสมทุนต่อเพอื่ การผลิตรอบต่อไป ปญั หาพื้นฐานทางเศรษฐกิจมีอะไรบ้าง 1.การศึกษา ต้องมาอันดับหน่ึง เพราะสังคมซบั ซ้อน ปญั หาซับซ้อน รู้ภาษา2ภาษา3ภาษายิ่งดผี ู้มีความรู้ เฉพาะดา้ นเปน็ ท่ีต้องการมาก วทิ ยาการกา้ วหนา้ เร็วมาก เทคโนโลยใี หม่ ๆ ประชากรโลกเขาบรโิ ภคแตส่ ินคา้ ทีเ่ ป็นเทคโนโลยใี หม่ ๆ การผลติ สนิ ค้าคุณภาพพ้ืนฐานได้ เงนิ นอ้ ย 2.ปัญญา ความเฉลยี วฉลาด อสิ ราเอลมปี ัญหาเรอื่ งทีด่ นิ ไม่พอ เปน็ ทะเลทราย แก้โดยเอาแผ่นพลาสติกปู คลุมในใต้พืน้ ดนิ เอาดนิ ใหม่ปิดทับแล้วสร้างระบบนา้ หยด SPRINGLE WATER แลว้ ปลกู พชื คลุม พื้นที่ เขียว ขจีทั้งประเทศพ้นจากพนื้ ทีส่ เี ขียวกค็ ือเขตแดนประเทศอน่ื ๆท่ีรายลอ้ มอ อสิ ราเอล เปน็ พื้นท่สี ีแดงเต็มไปด้วย ทะเลทราย เนเธอร์แลนด์ สรา้ งเขื่อนกน้ั นา้ ทะเลได้แผ่นดนิ เพม่ิ ขึน้ มา เราเพ่ิงนิยมใช้รถเกี่ยวข้าวบรรจถุ งุ สาเรจ็ รูปแทนเคยี วไมถ่ งึ 15 ปีทงั้ ทเี่ ราเคยผลิตขา้ วส่งออกอันดบั หนง่ึ ของโลกมานานมากๆ 3.ภูมิศาสตร์ เกาะไต้หวนั เดมิ ทาเกษตร พ้นื ท่ีนอ้ ย รายไดต้ ่า หันไปผลติ เคร่ืองใช้ไฟฟ้า อุปกรณ์ คอมพิวเตอร์ เคร่อื งจักรท่ีใช้ในโรงงานอุตสาหกรรมแทบทุกแขนงสง่ ขายท่วั โลก ทาอุตสาหกรรมตน้ น้าเชน่ วัตถุดิบพลาสติก ยาง ส่ิงทอ แลว้ มีเงินรวยอันดบั หนง่ึ ในสิบของโลก 4.วตั ถดุ บิ ญี่ปุ่นขาดแคลนวตั ถดุ บิ หลายชนดิ นาเขา้ จากท่ัวโลก แตญ่ ี่ป่นุ มที ุนของเอกชนมารวมกนั ในตอน

5 แรกเร่มิ การแปรรูปใชว้ ัตถดุ ิบให้มรี าคาสูง ปัจจบุ นั ราคามันสาปะหลงั ราคาสงู กว่าเดิมมากเพราะมีการนาไปใช้ ผลติ แอลกอฮอล์ ผสมน้ามันเบนซินเปน็ แก็สโซฮอล์ 5.จานวนประชากร รัสเซีย อนิ เดีย อินโดนเี ซยี จนี เวยี ดนาม ตา่ งมปี ระชากรมากต้องการบริโภคมาก เป็นปญั หาใหญม่ าก 6.วฒั นธรรมและประเพณี ศาสนาปญั หาเศรษฐกิจจะแปรผกผนั ตามพธิ ีกรรมมาก เทพเจ้ามีมาก ย่ิงไม่ดี 7.ผนู้ าที่ดแี ละนักวางแผนเศรษฐกจิ ชนั้ นา ดสู ิงคโปรเ์ ป็นตวั อย่าง ผนู้ ามาเลเซยี และผ้นู าญ่ปี ุ่น เกาหลี ฝรัง่ เศส จนี แดง 8.การลงทุนการออมทรัพย์ของประชากร จนี มีการลงทุนจากตา่ งประเทศมาก ญี่ปุน่ ประชากรออมทรพั ยส์ ูง มากจนผนู้ าประกาศให้คนญีป่ ุ่นรู้จักใชเ้ งนิ ไป เท่ียวตา่ งประเทศเสียบา้ ง 9.กฎหมาย ที่เอื้อ ต่อการลงทนุ และคุ้มครองชีวิตความปลอดภัยและทรัพย์สนิ ของบุคคล อยา่ งมี ประสิทธภิ าพ เปน็ แรงจงู ใจอันดบั ตน้ ๆของการลงทุน 10.การส่อื สารและคมนาคมท่ีทนั สมัย รวมถึงข้อมูลสารสนเทศทใ่ี ช้ได้จรงิ กับบุคคลทว่ั ไป คนสงิ คโปร์มาเป็น ไกดน์ าคนจนี ในประเทศไทยเดนิ ทางไปซอ้ื สินค้า ตลับลกู ปืนจากประเทศจีนแผ่นดนิ ใหญ่ มขี อ้ มูลเพียบทุกชนิด ทุกราคาทกุ โรงงาน ทุกเมืองที่ผลติ กวา่ 5000โรงงาน วางแผนการซือ้ ใช้เวลากี่วันเส้นทางเดนิ ทาง จานวนเงิน ผมเห็นแลว้ อายเขาจัง เมือ่ 20 ปีก่อนมผี รู้ ้พู ูดวา่ ประเทศไหนเจรญิ ดทู ่ีวา่ มี ทางด่วนยกระดับ มีรถไฟฟ้า ใช้ ถนนไฮเวยค์ ู่ หรือไฮเวยพ์ ิเศษ(ไมม่ ีถนนท้องถ่นิ มาเชอื่ มตรงๆแต่ทาเกือกมา้ มาเช่ือม) ของเรามชี า้ กวา่ เกาหลี10ปี 11.การจัดการ การตลาด การบริหาร การบญั ชแี ละตน้ ทุน และการขนส่ง LOGISTIC ในทางทฤษฎีเรียน ร้ทู ันกันแตใ่ นทางปฏบิ ตั เิ ราตามหลงั เขา รถบรรทุกสินคา้ ญี่ปุ่น ณ นาทนี ี้ เขารู้ขนาดท่ีวา่ รถวง่ิ อยูถ่ นนสาย อะไร นา้ หนกั รถ นาหนักสินค้าบรรทกุ เทา่ ไรสินค้าอะไรเท่าไร ประวตั ริ ถประวัตคิ นขบั รถ จะถึงเมืองอะไรเวลา ไหน ขากลับจะบรรทุกอะไรกลบั มาต้องเติมนา้ มนั ท่ีไหน คดิ ราคาต้นทนุ ออกมาเสรจ็ สรรพ ยิ่งเรอื สนิ คา้ อินเตอร์เนชนั่ แนล โอเวอร์ซีไม่ตอ้ งพูดถึง ทกุ อย่างตรงเปะ้ หมด เราเอาอะไรไปส้เู ขา ฮ่า ฮา่ 555 บา้ นเรามแี ต่ ผูกขาดสมั ปทานกบั คอร์รปั ชั่น เขาส้เู รามะได้ ฮิฮิ 12.การ เมือง ทม่ี ีเสถียรภาพ และการนาไปในแนวเดยี วกนั ไม่มีคอร์รปั ชน่ั ระดับผ้นู าผูบ้ ริหารประเทศ สมัยกอ่ นลกี วนยูพูดกบั นักหนังสอื พิมพ์ต่างประเทศวา่ คุณมาบอกผมว่าขา้ ราชการ หรือรัฐมนตรคี นไหน คอร์รปั ชนั่ ไมต่ ้องมายืนยนั ผมจะปราบให้คณุ ดูทนั ที 13.แรงงาน สามารถใช้ภาษาองั กฤษดี ขยนั ราคาถกู คุณภาพประชากรค่อนข้างดี ค่าครองชีพรายได้ต่อหวั พอเหมาะกบั อาหารการกนิ ที่อยอู่ าศยั 14.อตั ราดอกเบ้ีย และอัตราแลกเปล่ยี นเงนิ ตรา ที่มีเสถียรภาพ 15.ระบบเศรษฐกจิ แบบคอมมวิ นสิ ต์ ระบบทุนนยิ มCapitalism ระบบเศรษฐกิจผสมMixed economy มที ้งั ข้อดี ไมด่ ี 16.ส่งิ แวดลอ้ ม การบริหารเขตอตุ สาหกรรม การจัดการอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ส่งออกเป็นหลกั เพ่ือให้มี เงินตราต่างประเทศเข้า ดุลการค้าท่ีเกนิ ดุล ดลุ การชาระเงนิ ทีเ่ กินดุลอย่างมีเสถียรภาพ

6 ประวัตปิ ระเทศอังกฤษ อังกฤษ เป็นประเทศท่ีใหญท่ ี่สุด และมปี ระชากรมากทส่ี ดุ เม่อื เปรียบเทยี บกับประเทศอื่นๆ ในสหราช อาณาจักร ประวตั ิศาสตร์อังกฤษเรมิ่ ขนึ้ เม่ือมีการตง้ั ถน่ิ ฐานของมนุษย์เมื่อหลายพนั ปีมาแล้ว ภูมภิ าคทป่ี ัจจบุ ัน คืออังกฤษภายในสหราชอาณาจักรเป็นทต่ี ั้งถ่ินฐานของมนุษย์นีอันเดอร์ธอลราว 230,000 ปมี าแล้ว ขณะที่ มนษุ ย์โฮโมเซเพยี นซงึ่ เปน็ มนุษย์สมัยใหม่เร่ิมเข้ามาตั้งถิน่ ฐานราว 29,000 ปีมาแลว้ แต่การอย่ตู ่อเน่ืองกันโดย ตลอดเริม่ ข้นึ ราว 11,000 ปมี าแลว้ ในปลายยุคนา้ แข็ง ในบริเวณภมู ิภาคน้ียังมรี อ่ งรอยของมนุษยส์ มัยต่างๆ ท่ี เขา้ มาตั้งถน่ิ ฐานท่เี ร่ิมต้ังแตย่ ุคหินกลาง, ยคุ หนิ ใหม่ และ ยคุ สัมรดิ เช่นสโตนเฮนจ์ และเนินดินที่เอฟบรี ในยุค เหล็กอังกฤษกเ็ ชน่ เดียวกับบริเตนท้งั หมดทางใต้ของเฟริ ธ์ ออฟฟอรธ์ เปน็ ที่ตั้งถิน่ ฐานของชนเคลต์ที่เปน็ กลุ่มชน ทีเ่ รยี กว่า บริเตน (Briton) หรือเผา่ เบลแจ ในปี ค.ศ. 43 ชาวโรมันกเ็ รมิ่ เข้ามารุกรานบริเตน โรมนั ปกครอง จงั หวดั บริทายามาจนถึงครสิ ต์ศตวรรษที่ 5 ชาวบรติ นั และโรมนั บนั ทึกเกี่ยวกับหมู่เกาะบริเทนมีขนึ้ คร้งั แรกโดยพ่อคา้ ชาวกรีกโบราณใน ศตวรรษท่ี 6 กอ่ นครสิ ตกาล พธี แี อสแหง่ มาสซเิ ลีย (Pytheas of Massiia) นักสารวจชาวกรีกมาเยือนเกาะองั กฤษใน 325 ปกี อ่ นค.ศ. พลีนี ผู้พอ่ (Pliny the Elder) นักสารวจชาวโรมนั กลา่ วว่าเกาะอังกฤษเปน็ แหลง่ ดีบุกสาคัญ ทาซติ ุส (Tacitus) ชาว โรมนั เปน็ คนแรกที่กล่าวถงึ ชาวบริตนั (Britons) ทอี าศัยบนหมู่เกาะบรเิ ตน วา่ ไม่มีความแตกต่างกบั ชาวโกล (Gaul) ในฝร่ังเศส (คือเป็นชาวเคลทเ์ หมือนกนั ) ในดา้ นรปู ร่างหน้าตาขนาดร่างกาย จูเลยี ส ซซี าร์พยายามจะพิชิตองั กฤษในปีที่ 55 และ 54 ก.ค.ศ. แตไ่ ม่สาเร็จ จนจักรพรรดิคลอดิอสุ ส่งทัพมา พิชิตองั กฤษในค.ศ. 43 ชาวโรมันปกครองทั้งองั กฤษ เวลส์ เลยไปถึงสกอตแลนด์ ตัง้ เมืองสาคญั ต่างๆ เชน่ ลอนดอน แตช่ าวโรมนั ทนการรุกรานของเผา่ เยอรมันต่างๆไม่ไหว ถอนกาลงั ออกไปในค.ศ. 410 ชาวแอง โกล ชาวแซกซนั และชาวจทู ส์ มาปักหลกั ตั้งถ่นิ ฐานในอังกฤษ ต่อสู้กับชาวบริตนั เดมิ ผลกั ให้ถอยรม่ ไปทาง ตะวนั ตกและเหนือ แองโกล-แซ็กซอนและไวกิง (ค.ศ. 410 ถงึ ค.ศ. 1066) อาณาจักรตา่ งๆในศตวรรษที่ 8

7 ในตอนแรกเผ่าตา่ งๆในอังกฤษกระจัดกระจาย จนรวบรวมเป็นเจด็ อาณาจักร (Heptarchy) ที่ ประกอบด้วย นอรท์ ธัมเบรยี , เมอรเ์ ซีย, อสี ต์แองเกลีย, เอสเซ็กซ์, เคน้ ท์, ซัสเซก็ ซ์ และ เวสเซ็กซ์ คริสต์ ศาสนาเขา้ มาเผยแพร่ในอังกฤษในประมาณค.ศ. 600 โดยนกั บุญออกสั ตนิ แห่งแคนเตอร์บรี อาณาจกั รเมอร์ เซีย เรอื งอานาจตลอดศตวรรษท่ี 8 ในสมัยพระเจ้าเพนดา พระเจา้ แอเธลเบิรต์ และพระเจา้ ออฟฟา แหง่ เมอร์ เซีย จนเวสเซ็กซ์ข้นึ มามอี านาจแทน ชาวไวกงิ้ หรือทชี่ าวองั กฤษเรียกว่าเดนส์ (Danes) โจมตอี ังกฤษครง้ั แรกท่ลี ินดสิ ฟาร์น ตามพงศาวดารแอง โกล-แซ็กซอน แต่การคกุ คามของชาวไวกิงนา่ จะมอี ยู่กอ่ นหน้าแลว้ เพราะชาวไวกิ้งต้ังออรค์ นยี ์ทางตอนเหนือ ของสกอตแลนด์ ในปี ค.ศ. 865 ชาวไวกง้ิ จากเดนมาร์กยกทพั ป่าเถื่อนอันยิง่ ใหญ่ (Great Heathen Army) มาบกุ อังกฤษ ยึดอาณาจักรนอรท์ ธัมเบรยี ใน ค.ศ. 866 อาณาจกั รอสี ต์แองเกลยี ใน ค.ศ. 870 และอาณาจักร เมอร์เซยี ใน ค.ศ. 871 แตพ่ ระเจ้าอัลเฟรดมหาราชทรงสามารถเอาชนะไวกงิ ไดใ้ นปี ค.ศ. 878 แบง่ อังกฤษ ระหวา่ งแองโกล-แซกซอน และไวกิ้ง ดินแดนของไวกิ้งในองั กฤษเรยี กว่า เดนลอว์ชาวไวกิงกห็ ล่ังไหลมาต้ังถน่ิ ฐานในองั กฤษ โอรสของอลั เฟรดมหาราช คือ พระเจ้าเอ็ดเวริ ์ดผู้อาวโุ สทรงต่อสูเ้ พื่อขับไล่พวกไวกิ้งใหพ้ ้นจากอังกฤษ พระโอรส คือ พระเจา้ เอเธลสตนั พระเจ้าอเธลสตาน (Athelstan) รวมอาณาจักรเมอรเ์ ซีย (ที่หลงเหลอื ) กบั อาณาจักรเวสเซ็กซ์ ต่อมาพระเจ้าเอ็ดการ์ผ้รู กั สงบทรงยึดนอรท์ ธัมเบรยี จากเดนส์ และขับไลไ่ วกิงออกไปได้ เป็นการรวมอังกฤษเปน็ คร้งั แรก เดนลอว์ และเวสเซก็ ซ์ องั กฤษจงึ สงบสุขไปอกี ร้อยปี แต่ในค.ศ. 980 ชาวไวกิง้ กบ็ กุ

8 ตวั อกั ษรหวั เรือ่ ง มาระลอกใหม่ นาโดยพระเจ้าพระเจ้าสเวน ฟอรค์ เบียรด์ แห่ง เดนมารก์ พระเจ้าแอเธลเรด (Æthelred) ตอ้ งทรงจา่ ยเงินตดิ สนิ บนเพื่อไล่ทัพไวก้ิงกลบั ไป เรียกว่า เดนเกลด์ (Danegeld) แตพ่ วกไวกง้ิ ก็ กลบั มาอีกและเรียกเงินมากกวา่ เดมิ จนพระเจ้าสเวนยึดอังกฤษได้ในค.ศ. 1030 เนรเทศพระเจ้าแอเธลเรดไป ฝรัง่ เศส ในค.ศ. 1040 พระเจ้าคานูทมหาราชพระ โอรสพระเจ้าสเวน ฟอร์คเบยี ร์ด ข้นึ เปน็ กษตั ริย์แห่งอังกฤษ เปน็ กษตั ริย์ไวก้งิ พระองค์แรกในอังกฤษ แตพ่ ระองค์ก็ทรงถูกพระเจา้ แอเธลเรดกลบั มายึดบัลลังกป์ เี ดียวกัน พระเจ้าคานทู ทรงหนไี ปหาพระเชษฐา คือ พระเจ้าฮาราลด์ที่ 2 แห่งเดนมาร์ก สะสมกาลังมาบุกอังกฤษอกี ใน ค.ศ. 1050 พระเจ้าเอด็ มนั ด์ท่ี 2 (Edmund Ironside) พระโอรสพระเจ้าแอเธลเรด ทรงพยายามจะต้านพระ เจ้าคานุทแต่ไมส่ าเร็จ จนในค.ศ. 1060 พระเจ้าเอ็ดมันดส์ น้ิ พระชนม์ พระเจา้ คานทุ จงึ ได้เป็นกษัตรยิ ์องั กฤษอีก ครงั้ พระเจา้ คานุทยงั ทรงได้เปน็ กษัตริย์แห่งนอรเ์ วย์และเดนมาร์กอีกดว้ ย ทาให้อาณาจกั รของพระเจ้าคานุทแผ่ ขยายท่ัวยโุ รปเหนอื ราชวงศ์ไวก้งิ ยังคงถกู ทวงบลั ลงั ก์จากพวกแองโกล-แซ็กซอนอยู่ ในค.ศ. 1036 อัลเฟรด แอเธลลงิ (Alfred Ætheling) พยายามจะยึดบลั ลงั กจ์ ากพระเจา้ ฮาโรลด์ แฮร์ฟตุ แตถ่ ูกจับไดแ้ ละสงั หาร พระ เจา้ ฮารธ์ าคานทู ทรงปกครองอังกฤษไมด่ ี ชาวองั กฤษจึงเชญิ นอ้ งชายของอัลเฟรดคือเอด็ วาร์ด มาครองราชย์ เป็นพระเจา้ เอด็ วารผ์ ้สู ารภาพ ในค.ศ. 1042 แต่พระเจ้าเอด็ วารด์ ทรงไมม่ ีทายาท เมือ่ สน้ิ พระชนม์ในค.ศ. 1066 กเ็ กดิ การชว่ งชิงบัลลงั ก์ระหว่างเอริ ์ลแห่ง เวสเซก็ ซ์ (Earl of Wessex) พระเจา้ ฮาราล์ดแห่งนอรเ์ วย์ และดยกุ วิลเลยี มแห่งนอร์มังดีจาก ฝรงั่ เศส (สองคน หลงั เปน็ ทายาทของพระเจ้าคานทุ )เอิรล์ แห่งเวสเซก็ ซ์ครองราชย์เป็นพระ เจ้าฮาโรลด์ กอดวินสนั (Harold Godwinson) ชนะพระเจ้าฮาราลด์ แห่งนอรเ์ วย์ทสี่ ะพานสแตมฟอร์ด (Stamford Bridge) แตแ่ พ้ดยกุ วิลเลยี ม ทเี่ ฮสติงส์ (Hastings) ดยุกวิลเลียมขึน้ ครองราชยเ์ ปน็ พระเจ้าวลิ เลียมทีห่ น่งึ แหง่ องั กฤษ เปน็ ปฐมกษัตรยิ ์ ราชวงศน์ อร์มนั การปกครองของประเทศอังกฤษ การแบ่งเขตการปกครองของอังกฤษ

9 โครงสร้างระดับการปกครองของอังกฤษ การแบง่ เขตการปกครองขององั กฤษ ((อังกฤษ: Subdivisions of England') มรส่รี ะดับและแตล่ ะในระดับก็ ยังแบ่งย่อยเป็นลักษณะต่าง ๆ จุดประสงค์ของการแบง่ ระดับก็เพื่อใชใ้ นการบริหารของรฐั บาลทอ้ งถิ่นใน อังกฤษ หน่วยการปกครองบางหนว่ ยก็รวมการปกครองสองระดบั เขา้ ด้วยกนั เชน่ เขตเกรเทอร์ลอนดอนทเี่ ปน็ ทั้งการ ปกครองระดบั ภาคและระดบั เทศมณฑล เนอ้ื หา  1 ระดับภาค  2 ระดับเทศมณฑล  3 รฐั บาลทอ้ งถ่ินระดบั เดียว  4 ระดบั ท้องที่  5 อ้างองิ  6 ดูเพม่ิ ระดบั ภาค ดบู ทความหลักท:ี่ ภาคการปกครองขององั กฤษ ระดับภาคเปน็ ระดับการปกครองท้องถิน่ ระดบั สูงทส่ี ดุ ทีแ่ บ่งออกเป็นเกา้ ภาค แต่ละภาคกร็ วมหลายเทศมณฑล เข้าดว้ ยกัน การปกครองระดับภาคกอ่ ตั้งขึ้นเม่ือ ค.ศ. 1994 และต้งั แต่การเลือกต้งั ของรฐั สภาแห่ง ยุโรป (European Parliament) ในปี ค.ศ. 1999 ภาคก็ใช้เปน็ เขตการเลือกต้ังผูแ้ ทนของอังกฤษเพือ่ น่ังใน รัฐสภาแหง่ ยุโรปดว้ ย ภาคทกุ ภาคมีฐานะเท่าเทยี มกันแต่เกรเทอร์ลอนดอน ในฐานะ “ภาค” เป็นหน่วยบรหิ าร เดียวท่ีมอี านาจมากกวา่ ในรูปของการมีนายกเทศมนตรีท่ีได้มาจากการเลือกต้งั และหนว่ ยงานเกรเทอร์ ลอนดอน (Greater London Authority) นอกจากนนั้ แต่ละภาคยังมีขนาดแตกตา่ งกันทั้งทางเน้ือทีแ่ ละ จานวนประชากร ภาคการปกครองของอังกฤษก่อตั้งขนึ้ ในปี ค.ศ. 1994 และในปัจจุบันแบง่ เปน็ 9 ภาค # เกรเทอร์ลอนดอน (Greater London) # ภาคตะวันออก (East of England) # ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ (North East England) # ภาคตะวนั ออกเฉียงใต้ (South East England)

10 # ภาคตะวันตกเฉียงเหนือ (North West England) # ภาคตะวนั ตกเฉยี งใต้ (South West England) # ภาคมดิ แลนด์สตะวันออก| (East Midlands) # ภาคมิดแลนดส์ ตะวันตก (West Midlands) # ภาคยอรค์ เชอร์และแม่น้าฮม้ เบอร์ (Yorkshire and the Humber) ระดบั เทศมณฑล ดบู ทความหลกั ท:่ี เคานต์ ีของอังกฤษ, เทศมณฑลที่เปน็ มหานครและไมใ่ ช่มหานครของอังกฤษ และ เทศ มณฑลพธิ ขี ององั กฤษ ในด้านการบรหิ ารระดับเทศมณฑลแบ่งเปน็ การปกครองสองระดบั (two-tier) และการปกครองระดับเดยี ว (single-tier) ระดับทีส่ งู กวา่ ของการปกครองสองระดบั คอื “มณฑล” มณฑลบริหารแบ่งเป็นสามประเภท * เทศมณฑลมหานคร ท่ีมีดว้ ยกนั 6 เทศมณฑล * เทศมณฑลท่ีไม่ใชม่ หานคร หรือ “มณฑลไชร์” ทม่ี ดี ว้ ยกนั 35 มณฑล * เขตบริหาร - เกรเทอรล์ อนดอน ในด้านนอกเหนอื ไปจากการบรหิ ารแลว้ อังกฤษแบ่งมณฑลออกเป็นที่รู้จกั กนั วา่ “มณฑลผ้แู ทนพระองค์” ซง่ึ ไม่ใชช่ ่ือทเ่ี ปน็ ทางการ มณฑลผู้แทนพระองค์แตล่ ะมณฑลตาม พระราชบญั ญัตมิ ณฑลผ้แู ทนพระองค์ ค.ศ. 1997 (Lieutenancies Act 1997) มีผู้บริหารมณฑลแทนพระองค์ (Lord Lieutenant) ผู้ทใ่ี นประวตั ิศาสตร์ เป็นผู้แทนพระมหากษตั รยิ ์ในมณฑลนนั้ มณฑลผู้แทนพระองค์มักจะแตกต่างจากมณฑลบริหารตรงท่ีเปน็ มณฑลทรี่ วมเขตการ ปกครองรัฐบาลท้องถนิ่ ระดับเดียวท่ี ครอบคลุมอังกฤษท้งั หมด มณฑลผูแ้ ทนพระองค์ มักจะใช้ผู้ต้องการบรรยายว่าอยู่ท่ใี ดในอังกฤษ และอาจจะใชใ้ นการพิจารณาแบ่งเขตการเลอื กตั้งสมาชิก รฐั สภาดว้ ย รัฐบาลท้องถ่นิ ระดบั เดยี ว ดบู ทความหลักท่:ี รฐั บาลทอ้ งถ่ินระดับเดียว เขตการปกครองท่ีสว่ นใหญเ่ ป็นบรเิ วณชุมชนใหญแ่ ละหนาแน่นของอังฤษไม่อยู่ใน ข่ายระบบการปกครองสอง ระดับ - ระดบั บรหิ ารเทศมณฑล/เขต เขตการปกครองเหล่านีจ้ ึงใช้กรปกครองเทศมณฑลระดบั เดยี วทมี่ ักจะ เรยี กกันวา่ “Unitary authority”

11 รัฐบาลท้องถ่นิ ระดบั เดียวก่อต้ังข้ึนในปี ค.ศ. 1995 สว่ นใหญ่จากเขต (district) ทแ่ี ยกออกมาจากมณฑล ใน บางกรณีเขตเหลา่ น้ีก็จะรวมกันเมอ่ื มีการจัดระบบการบรหิ ารใหม่ ในกรณีของไอล์ออฟไวท์ส่วนการปกครอง ก่อตงั้ ข้ึนจากเทศบาลมณฑลทสี่ ่วนอาเภอถูกยุบเลกิ เขตทง้ั หมดของบาร์คเชอร์เป็นระบบระดบั เดยี วแต่กระนัน้ บารค์ เชอรก์ ย็ งั มีฐานะเปน็ มณฑลแม้ว่าจะไม่มี เทศบาลมณฑล ไอลสอ์ อฟซิลลิใช้ระบบ “sui generis” หรือเทศบาลไอลส์ออฟซลิ ลิซ่งึ มีลักษณะคล้ายกับรัฐบาลท้องถ่ินระดบั เดยี วทพี่ บในบริเวณอื่นในอังกฤษ ส่วนการปกครองของลอนดอนเปน็ รัฐบาลทอ้ งถ่นิ ระดับเดยี วแมว้ า่ ตามกฎหมายแล้วจะอยภู่ ายใตโ้ ครงสรา้ งของ การปกครองสองระดบั ก็ตาม ระดบั ทอ้ งที่ ดบู ทความหลักท:ี่ ท้องท่กี ารปกครองของอังกฤษ และ รายชอื่ ทอ้ งท่ีการปกครองของอังกฤษ ระดบั ท้องท่เี ปน็ ระดับที่ตา่ ที่สุดในระดับการปกครองทอ้ งถิ่นของอังกฤษ ยกเวน้ ในลอนดอนทไี่ มม่ ีระดบั ท้องที่ การมีท้องที่มิได้มที ่วั ไปในอังกฤษแต่กเ็ ริม่ จะมีจานวนเพิ่มขึ้น ท่ีมาของชือ่ ประเทศและเมืองหลวง องั กฤษ (อังกฤษ: England) หรือในอดีตเรยี กว่า แคว้น อังกฤษ เป็นประเทศอันเป็นส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจกั ร มีพรมแดนทางบกตดิ ต่อกบั สกอตแลนด์ทางเหนือ และเวลส์ทางตะวนั ตก ทะเลไอรแ์ ลนด์ทางตะวันตกเฉยี งเหนือ ทะเลเซลติกทางตะวันตกเฉยี งใต้ ทะเลเหนือ ทางตะวนั ออก และช่องแคบอังกฤษซึง่ ค่นั ระหว่างอังกฤษกับยโุ รปแผน่ ดินใหญ่ พื้นท่ีประเทศอังกฤษส่วนใหญ่ ตั้งอยู่ทางตอนกลางและตอนใตข้ องเกาะบรเิ ตนใหญ่ในมหาสมทุ รแอตแลนติกเหนือ ประเทศอังกฤษยงั รวมถึง เกาะทีเ่ ลก็ กวา่ อีกกว่า 100 เกาะ เชน่ หมู่เกาะซิลลีและเกาะไวต์

12 คาว่า \"อิงแลนด์\" (England) ซึง่ เปน็ ชอื่ ในภาษาองั กฤษของอังกฤษในปจั จุบนั ไดม้ าจากชื่อ \"อังเกลิ \" (Angles) ซึง่ เป็นชนเผ่าหน่ึงในบรรดาชนเผา่ เยอรมันหลาย เผ่าท่เี ข้ามาตง้ั ถ่ินฐานในดนิ แดนนี้ ตั้งแตร่ าวคริสตศ์ ตวรรษท่ี 5 ถึง 6 โดยมาจาก \"Engla Land\" และกลายมาเปน็ \"England\" ในปจั จุบนั ภูมปิ ระเทศขององั กฤษส่วนมากประกอบด้วยเขาเต้ียๆ และท่ีราบ โดยเฉพาะทางตอนกลางและตอนใตข้ อง อังกฤษ อย่างไรกด็ ี ทางเหนือและทางตะวันตกเฉยี งใตเ้ ป็นที่สูง วินเชสเตอร์เป็นเมอื งหลวงเก่าของอังกฤษ กระทั่งเปลี่ยนมาเปน็ ลอนดอนใน พ.ศ. 1609 ปัจจบุ นั ลอนดอนเปน็ เขตมหานครใหญ่ที่สุดในสหราชอาณาจักร และพ้ืนท่เี มืองใหญ่ที่สุดใน สหภาพยโุ รปเมื่อวดั ดว้ ยเกณฑ์สว่ นใหญ่ ประชากรองั กฤษมีอยรู่ าว 51 ล้านคน คิด เป็น 84% ของประชากรสหราชอาณาจักร และส่วนใหญ่กระจกุ อยู่ในกรุงลอนดอน ภาคตะวันออกเฉียงใต้และ เขตเมืองขยายในภาคมิดแลนด์ส ภาคตะวันตกเฉยี งเหนอื และยอรก์ เชอร์ ซง่ึ ไดร้ ับการพัฒนาเปน็ พื้นที่ อุตสาหกรรมสาคญั ระหว่างครสิ ต์ศตวรรษที่ 19 ราชอาณาจกั รอังกฤษ ซ่งึ หลงั จาก พ.ศ. 1827 รวมเวลส์เขา้ ไปด้วยนัน้ เป็นรัฐอธปิ ไตยกระทงั่ วันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2250 เมือ่ พระราชบญั ญัติสหภาพมผี ลใช้บงั คับตามเงื่อนไขซ่ึงตกลงกันในสนธิสัญญา สหภาพ เมื่อปีกอ่ น สง่ ผลใหม้ ีการรวมทางการเมืองกบั ราชอาณาจักรสกอตแลนด์ และสถาปนาราชอาณาจักรบรเิ ตน ใหญ่ พ.ศ. 2344 บรเิ ตนใหญ่รวมกับราชอาณาจักรไอรแ์ ลนด์ ผ่านพระราชบัญญัติสหภาพอีกฉบบั หน่ึง กลายเป็นสหราชอาณาจักรบริเตนใหญแ่ ละไอร์แลนด์ พ.ศ. 2465 รฐั อสิ ระไอร์แลนด์ได้รับการสถาปนาเปน็ อาณาจักรแยกต่างหาก แต่ Royal and Parliamentary Titles Act 1927 รวมไอรแ์ ลนด์เหนือเข้ากบั สหราช อาณาจักรอีกครง้ั และสถาปนาสหราชอาณาจกั รบริเตนใหญแ่ ละไอรแ์ ลนดเ์ หนือปัจจบุ นั อยา่ งเปน็ ทางการ

บรรณานุกรม https://sites.google.com/site/prathesxangkvscom/sersthkic-khxng-pra-the-sxangkv https://sites.google.com/site/prathesxangkvscom/prawati-pra-the-sxangk https://sites.google.com/site/prathesxangkvscom/kar-pkkhrxng-khxng-prathes-xangkvs https://sites.google.com/site/prathesxangkvscom/home


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook