Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายวิชาการพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม สค31003

รายวิชาการพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม สค31003

Published by ake.katekaew, 2022-06-05 07:21:22

Description: รายวิชาการพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม สค31003

Keywords: รายวิชาการพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม สค31003

Search

Read the Text Version

44 เรอื่ งที่ 1 เทคนคิ การมีสว นรวมในการจดั ทาํ แผน 1.1 การมีสว นรว มของประชาชนในการจดั ทาํ แผน การเปดโอกาสใหประชาชนมีสวนรวมในการจดั ทําแผน ตัดสินใจ ในการ วางโครงการสําหรับประชาชนเอง มีวัตถปุ ระสงคเพื่อ 1.1.1 ใหประชาชนยอมรับในแผนการดําเนินงาน และพรอมจะรวมมือ เปนการลด การตอ ตา น และลดความรสู ึกแตกแยกจากโครงการ 1.1.2 ใหประชาชนไดรวมตัดสินใจเกี่ยวกับสถานการณ ปญหาความตองการ ทิศทาง ของการแกปญหา และผลลพั ธที่จะเกดิ ข้นึ 1.1.3 ใหประชาชนมีประสบการณตรงในการรวมแกปญหาของประชาชนเอง ทําให ประชาชนเกดิ การเรยี นรใู นกระบวนการแกป ญ หา 1.2 การจดั ทาํ เวทีประชาคม เวทีประชาคม เปนวิธีการกระตุน ใหเกิดการเรียนรูอ ยางมีสวนรวม ระหวางคนที่มี ประเด็นหรือปญหารวมกัน โดยใชเวทีในการสื่อสารเพือ่ การรับรูและเขาใจในประเด็น/ปญหา และชว ยกนั หาแนวทางแกไ ขประเดน็ ปญ หานน้ั ๆ ซ่ึงมีข้ันตอนในกระบวนการจัดทําเวทีประชาคม ดงั น้ี 1.2.1 เตรียมการ การเตรียมทีมงานจัดเวทีประชาคม ควรแบง เปน 2 สว น คือ 1) ผอู าํ นวยการเรยี นรูหลกั หรอื วทิ ยากรกระบวนการหลัก ที่มีหนาท่ีขับเคลื่อน การมสี วนรวมเวทีประชาสงั คมทง้ั กระบวน และเปนวิทยากรหลกั ทที่ ําใหเกดิ การแสดงความ คิดเห็นรวมกันระหวางผูเขารวมอภิปรายในเวทีประชาคม 2) ผูส นับสนุนวิทยากรกระบวนการ ซึง่ อาจจะแสดงบทบาทเปนวิทยากรรอง หรือผูจดบันทึกการประชุม ผูสนับสนุนฯ มีหนาทีเ่ ติมคําถามในเวทีเพือ่ ใหประเด็นบางประเด็น สมบูรณมากยงิ่ ขน้ึ สังเกตลักษณะทาทีและบรรยากาศของการอภิปราย สรุปประเด็นทีอ่ ภิปรายไป แลว และใหขอมูลเพิม่ เติมทีเ่ กี่ยวกับกลุม และบรรยากาศแกวิทยากรหลักหากพบวาทิศทางของ กระบวนการเบย่ี งเบนไปจากวตั ถปุ ระสงค หรอื ประเดน็ ทต่ี ง้ั ไว 1.2.2 ดาํ เนนิ การเวทปี ระชาคม ในกระบวนการนี้ ผูอํานวยการเรยี นรูหรือวิทยากรกระบวนการมีบทบาทมาก ที่สดุ ขั้นตอนในกระบวนการนปี้ ระกอบดวย 1) การทําความรจู กั กนั ระหวางผเู ขา รว มอภปิ ราย และทีมงานจัดการ ซง่ึ วธิ ีการ อาจจะใหห ลากหลายกิจกรรมข้นึ อยูกับกลมุ และภูมหิ ลังกลมุ จุดมงุ หมายของขัน้ ตอนนี้คอื การ ละลายพฤตกิ รรมในกลุมและระหวางกลุมกับทีมงาน เพื่อสรางบรรยากาศที่ดีระหวางการอภิปราย

45 2) บอกวตั ถปุ ระสงคของการจัดเวทปี ระชาคม เปน การบอกกลา ว เพอ่ื ใหผูเขา อภิปรายไดเตรยี มตัว ในฐานะผมู ีสวนเกย่ี วขอ งกบั ประเด็น/ปญหา การบอกวัตถุประสงคของการ จัดเวทีประชาคมนี้สามารถทําไดหลายวิธี ตั้งแตการบอกวาวัตถุประสงคของการจัดเวทีประชาคมมี อะไรบาง หรือ เริ่มดวยการถามถึงสาเหตุการเขามารวมกันในเวที การใหเ ขยี นบนกระดาษและตดิ ไวใหผูอภิปรายไดเห็นพรอมกนั การใชก ารด สี ฯลฯ อยา งไรกต็ ามการที่จะเลือกใชวิธไี หนน้ัน ตองคํานึงถึงความถนัดและทักษะของวิทยากรกระบวนการ และการกระตุนใหเกิดการมีสวนรวม ของผรู วมอภิปราย ควรใชภ าษาทส่ี อดคลอ งกบั ภูมหิ ลงั ของผเู ขา รวมอภปิ ราย และตองใหผ รู ว ม อภิปรายในเวทปี ระชาคมรูสกึ ไวใ จต้ังแตเรมิ่ ตน 3) การเกรนิ่ นาํ เขาสูท่ีมาทไ่ี ปของประเด็นการอภปิ รายในเวทปี ระชาคม เพอ่ื ให ผูเขารวมอภปิ รายไดเ ขาใจทไ่ี ปท่ีมา และความสาํ คญั ของประเด็นตอ การดําเนนิ ชวี ิต หรอื วิถชี วี ติ และบอกถงึ ความจาํ เปน ในการรว มมือกนั หรือแสดงความคดิ เหน็ ตอ ประเด็นน้ีรวมกัน เพอ่ื หา จดุ ยนื หรอื แนวทางแกป ญหาของประเดน็ ดงั กลา ว ท้งั น้ีจุดมงุ หมายของข้นั ตอนนีค้ ือกระตนุ ให ผูเ ขา รว มอภปิ รายในฐานะผูมีสว นเกย่ี วของโดยตรงตอประเดน็ /ปญหา ตอ งชว ยกนั ผลักดนั หรือมี สวนรวมในกระบวนการแกไขปญหาที่สงผลกระทบโดยตรง 4) การวางกฎ และระเบียบของการจัดเวทีประชาคมรวมกัน ขั้นตอนนีเ้ ปน ขน้ั ตอนกอ นการเร่ิมอภิปรายในประเด็นทต่ี ง้ั ไว มีจุดมุงหมายเพ่ือรวมกันกําหนดขอบเขต และการ วางระเบียบของการจัดทําเวทีประชาคมรวมกันระหวางผูดําเนินการอภิปรายและผูร วมอภิปราย ทั้งนี้เพื่อปองกันความขัดแยงระหวางการอภิปราย การมีอิทธิพลตอความคิดเห็นของคนใดคนหนึ่ง ตอคนอน่ื ๆ เพื่อใหเวทีประชาคมดาํ เนนิ ไปอยางมีประสิทธิภาพ และบรรลุตามวัตถุประสงคที่วาง ไว การวางกฎระเบียบรวมกันนี้ สามารถเริม่ ไดจากการทีว่ ิทยากรกระบวนการใหผูเ ขารวมเวที ประชาคมเสนอกติกาการพูดคุยรวมกัน วากฎกติกามารยาทของเวทีจะมีอะไรบาง เพือ่ จะชวยให การพูดคุยกันเปนไปตามวัตถุประสงคทีว่ างไว และมีบรรยากาศการพูดคุยที่ดี เมือ่ ผูเขารวมเวที เสนอกติกาใดกติกาหนึ่งขึน้ มา วิทยากรตองจดไวในกระดาษใหทุกคนเห็น เมือ่ รวบรวมขอเสนอ ไดแ ลว ใหม กี ารโหวตรว มกนั วา กตกิ ามารยาทระหวา งการจัดเวทีประชาคมที่ทุกคนตกลงรวมกันมี อะไรบาง เมื่อไดขอสรุปแลวตองเขียนกติกามารยาทนัน้ ในกระดาษ หรือกระดาน วางหรือติดไว ในทีท่ ีท่ ุกคนเห็นไดตลอดเวลาของการจัดเวทีประชาคม ขอเสนอทีไ่ ด เชน ตองปดเสียง โทรศัพทมอื ถอื ตอ งตรงตอ เวลา ตองยกมอื กอ นพูด ตอ งพูดตรงประเด็น เปนตน การไดกฎกติกา ที่มาจากกลุมจะชว ยใหกลุม เกิดความรสู กึ วา ตอ งเคารพกฎกติกาน้ัน ๆ มากกวาที่จะเปน กฎท่ีผูจัดเวที เปนฝายกําหนดขึน้ อยางไรก็ตามหากกติกาที่ผูเ ขารวมไดเสนอแตเปนกฎพืน้ ฐานทีจ่ ําเปนสําหรับ กิจกรรมระดมสมอง เชน เวทีประชาคมนัน้ วิทยากรกระบวนการจําเปนทีต่ องเสนอในทีป่ ระชุม ซ่ึงอาจจะเสนอเพิม่ เติมภายหลังจากทผ่ี เู ขารว มเวทีประชาคมไดเสนอมาแลว กฎพื้นฐาน คอื

46 (1) ทุกคนตองแสดงความคิดเห็น (หรือหากเปนกลุม ใหญ ตวั แทนของแตล ะ กลุมตองแสดงความคิดเห็น) (2) กาํ หนดเวลาทแ่ี นนอนในการพดู แตล ะครง้ั (3) ไมแทรกพูดระหวางคนอ่ืนกําลงั อภิปราย (4) ทุกคนในเวทีประชาคมมีความเทาเทียมกันในการแสดงความคิดเห็นไมวา ผูเขารวมจะมีสถานะทางสังคม หรือสถานภาพที่ตา งกนั เชน ลูกบาน ผูใ หญบ า น ผูรับบริการ ผู ใหบรกิ าร ผูหญงิ ผชู าย ฯลฯ (5) ทุกคนสามารถเสนอประเด็นใหม ๆ ได แตตองตรงกับประเด็นหลักที่ เปน ประเดน็ อภปิ ราย (6) ทกุ คนสามารถเสนอประเด็นใหม ๆ ได แตตองตรงกับประเด็นหลกั ท่ีเปน ประเดน็ อภิปราย (7) วิทยากรหลักเปน เพียงคนกลางทชี่ ว ยกระตนุ ใหเกดิ การพูดคุย และสรุป ประเด็นท่ีเกิดจากการอภิปราย ไมใชผ เู ชย่ี วชาญในการแกปญ หา 5) การอภิปรายประเด็นหรือปญหา ในขั้นตอนนีว้ ิทยากรกระบวนการ/ ผูอ ํานวยการเรียนรูตองดําเนินการอภิปรายใหบรรลุตามวัตถุประสงค ตามกระบวนการ และตาม แผนทีว่ างไว นอกจากนั้นทีมงานเองก็ตองชวยสนับสนุนใหเวทีประชาคมดําเนินการไปอยางมี ประสิทธิภาพ และตามแผนที่ไดตกลงกันไว วิทยากรหลักสามารถใชวิธีการอื่น ๆ เขามาชวย สนบั สนนุ การซักถามเพอ่ื กระตนุ การมีสว นรว มในเวทใี หมากท่สี ุด 6) การสรุป เปนขัน้ ตอนสุดทายของการจัดเวทีประชาคม ซึง่ วิทยากรหลัก/ ผูอํานวยการเรียนรูตองสรุปผลของการอภิปราย โดยแยกเปนผลทีไ่ ดจากการพูดคุยกันเพือ่ นําไป เปนแนวทางในการแกปญหาตอไป ผลทีไ่ มสามารถสรุปไดในเวทีและจําเปนตองดําเนินการอยาง ใดอยางหนึ่งตอไป ในขัน้ ตอนนีจ้ ําเปนตองมีการทบทวนรวมกัน และทําเปนขอตกลงรวมกันวา จะตองมีการดําเนินการอยางไรกับผลทีไ่ ดจากเวทีประชาคม โดยเฉพาะอยางยิง่ อาจระบุอยาง ชัดเจนวาใครจะตองไปทําอะไรตอ และจะนัดหมายกลับมาพบกันเพือ่ ติดตามความคืบหนากัน เมอ่ื ไร อยางไร 1.2.3 ตดิ ตาม-ประเมนิ ผล เปนกระบวนการตอเนือ่ งหลังจากการจัดเวทีประชาคมเสร็จสิ้นแลว ซึง่ สามารถ แบง กระบวนการนเ้ี ปน 2 ข้ันตอนใหญ คือ การติดตาม และการประเมินผล 1) ขั้นตอนการติดตาม เปนการตามไปดูวามีการดําเนินการอยางใดอยางหนึ่ง หรือไมตามทีไ่ ดตกลงกันไว ขัน้ ตอนนี้จําเปนตองเปดโอกาสใหประชาชนหรือผูท ีม่ ีสวนเกีย่ วของ ไดเขามามีสวนรวมในการติดตามผล โดยอาจจะกําหนดบทบาทหนาที่ ทําแผนการติดตาม และ กําหนดวิธีการติดตามรวมกัน และมีการติดตามรวมกันอยางสม่าํ เสมอตามแผนที่วางไว ขัน้ ตอนนี้

47 จะชวยใหผูเขารวมในเวทีประชาคม เขาใจความสําคัญของการทํางานรวมกันในฐานะเจาของ ประเดน็ /ปญ หา และเรียนรูจ ากประสบการณการติดตามเพื่อนําไปเพิม่ ทักษะการจัดการปญหาของ ชาวบานเองในอนาคต 2 ) ขน้ั ตอนของการประเมนิ ผล คือ (1) เพื่อตรวจสอบการเปลี่ยนแปลงภายหลังการจัดเวทีประชาคมวาประชาชน มีคุณภาพชีวิตทีด่ ีขึ้นหรือไม เมื่อมีการจัดการอยางใดอยางหนึง่ แลว เชน เมือ่ มีการผลักดัน ประเด็นใดประเด็นหนึ่งทีเ่ ปนปญหาเขาสูค วามสนใจของผูม ีอํานาจในการกําหนดนโยบาย หรือ บรรจอุ ยูในนโยบายของรัฐแลว เปน ตน (2) เพื่อประเมินทั้งประสิทธิภาพและประสิทธิผลของกระบวนการจัดเวที ประชาคมทั้งหมด วา ไดรับความรวมมือมากนอยเพยี งใด ลักษณะและกระบวนการที่ทําเอ้ือตอ การแลกเปล่ยี นเรียนรูรวมกันหรือไม ผลทไ่ี ดรบั คุมคาหรือไมแ ละบรรลตุ ามวัตถปุ ระสงคท ี่วางไว หรือไมอยางไร การสรุปขอมูลที่ไดจากการติดตามและการประเมนิ ผล จะชวยใหท้งั ผูจ ดั เวที ประชาคมและเขารวมไดมีบทเรียนรวมกัน และสามารถนําประสบการณที่ไดไปใชพัฒนาในการ จัดกิจกรรมประชาคมอ่นื ๆ ตอไป 1.3 การประชมุ กลุม ยอย หรือการสนทนากลมุ การสนทนากลุม หมายถึง การรวบรวมขอมูลจากการสนทนากับกลุมผูใหขอมูลใน ประเด็นปญหาที่เฉพาะเจาะจง โดยมีผูดําเนินการสนทนา (Moderator) เปนผคู อยจดุ ประเด็นใน การสนทนา เพ่ือชกั จงู ใหก ลมุ เกดิ แนวคิดและแสดงความคดิ เหน็ ตอ ประเด็นหรอื แนวทางการ สนทนาอยางกวางขวางละเอียดลึกซึ้ง โดยมีผูเขารวมสนทนาในแตละกลุมประมาณ 6-10 คน ซ่ึง เลือกมาจากประชากรเปาหมายที่กําหนดเอาไว (สํานักงานกองทุนสนบั สนนุ การวจิ ยั , 2549) 1.3.1 ขน้ั ตอนการจดั สนทนากลมุ Judith Sharken Simon (ม.ป.ป.) กลาววา การสนทนากลมุ ไมไ ดจัดทําไดใน ระยะเวลาอนั สั้น กอนทจี่ ะมีการประชุมควรมีการเตรยี มการไมนอ ยกวา 4 สปั ดาห บางคร้ังกวาท่ี จะปฏิบัตไิ ดจ ริงอาจใชเวลาถงึ 6-8 สปั ดาห กอ นที่จะมกี ารดําเนนิ งาน ผูรวมงานควรมีการตกลง ทําความเขาใจเกี่ยวกับหัวขอการสนทนาและทดสอบคําถาม เพื่อใหมีความเขาใจตรงกัน เพื่อให การสนทนาที่เกดิ ขึ้นเปน ไปตามระยะเวลาทก่ี าํ หนด ซ่งึ มีข้ันตอนในการจัดสนทนากลุม ดงั นี้ 1) กาํ หนดวัตถปุ ระสงค (6-8 สปั ดาหก อ นการสนทนากลมุ ) 2) กาํ หนดกลมุ ผรู วมงานและบุคคลกลมุ เปา หมาย (6-8 สปั ดาหก อ นการสนทนา กลมุ ) 3) รวบรวมท่ีอยแู ละเบอรโทรศัพทข องผูรวมงาน (6-8 สปั ดาหก อ นการสนทนา กลุม )

48 4) ตดั สินใจวา จะทาํ การสนทนาเปนจํานวนกีก่ ลุม (4-5 สปั ดาหก อ นการสนทนา กลุม ) 5) วางแผนเรื่องระยะเวลาและตารางเวลาการสนทนา (4-5 สปั ดาหก อ นการ สนทนากลมุ ) 6) ออกแบบแนวคําถามที่จะใช (4-5 สปั ดาหก อ นการสนทนากลมุ ) 7) ทดสอบแนวคําถามที่สรางขึ้น (4-5 สปั ดาหก อ นการสนทนากลมุ ) 8) ทําความเขาใจกับผูดําเนินการสนทนา (Moderator) และผูจดบนั ทกึ (Note taker) (4-5 สปั ดาหก อ นการสนทนากลมุ ) 9) คดั เลอื กผูเขา รวมกลุม สนทนา และจัดทาํ บตั รเชิญสง ใหผ รู วมสนทนา (3-4 สปั ดาหก อ นการสนทนากลมุ ) 10) โทรศพั ทเ พอ่ื ตดิ ตามผลและสงบัตรเชญิ ใหผ ูรวมงาน (3-4 สปั ดาหก อ นการ สนทนากลมุ ) 11) การจัดการเพื่อเตรยี มการทําสนทนากลมุ เชน จัดตาํ แหนงทีน่ งั่ จัดเตรียม เครื่องมอื อปุ กรณ เปน ตน 12) แจงสถานที่ใหผ ูเขารวมสนทนาทราบลว งหนา 2 วนั 13) จดั กลมุ สนทนา และหลังจากการประชุมควรมีการสงจดหมายขอบคุณ ผรู วมงานดวย 14) สรุปผลการประชุม วิเคราะหขอมูลและสงใหผูรวมประชุมทุกคน 15) การเขียนรายงาน 1.3.2 การดาํ เนนิ การสนทนากลมุ 1) แนะนําตนเองและทมี งาน ประกอบดวย พธิ ีกร ผูจดบันทกึ และผบู รกิ าร ท่วั ไป โดยปกตไิ มค วรใหมีผสู ังเกตการณ อาจมผี ลตอการแสดงออก 2) อธิบายถึงจุดมุงหมายในการมาทําสนทนากลุม วัตถุประสงคของการศึกษา 3) เรม่ิ เกร่ินนาํ ดวยคาํ ถามอุน เครือ่ งสรางบรรยากาศเปน กันเอง 4) เมือ่ เร่มิ คุนเคย เริ่มคาํ ถามในแนวการสนทนาท่ีจดั เตรยี มไวท ง้ิ ชว งใหม กี ารถก ประเดน็ และโตแ ยง กนั ใหพ อสมควร 5) สรางบรรยากาศใหเกิดการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นตอกัน ควบคุมเกมไมให หยุดน่ิง อยา ซกั คนใดคนหนึ่งจนเกนิ ไป คาํ ถามทีถ่ ามไมควรถามคนเดียว อยาซกั รายตวั 6) ในการน่ังสนทนา พยายามอยาใหเกิดการขมทางความคิด หรอื ชักนาํ ผูอื่นให เห็นคลอยตามกับผทู ่พี ูดเกง (Dominate) สรางบรรยากาศใหคนที่ไมคอยพูดใหแสดงความคิดเห็น ออกมาใหไ ด

49 7) พิธีกรควรเปน ผูคยุ เกงซักเกง มีพรสวรรคใ นการพดู คยุ จงั หวะการถามดี ถาม ชา ๆ ละเอียดควรมีการพูดแทรกตลกอยางเหมาะสมดวย 1.3.3 ขอดีของการจัดสนทนากลุม 1) ผูเ กบ็ ขอ มลู เปนผูไดรับการฝก อบรมเปน อยา งดี 2) เปน การนง่ั สนทนาระหวา งผูดาํ เนินการกบั ผรู ู ผูใหข อ มลู หลายคนทเ่ี ปน กลมุ จงึ กอใหเกิดการเสวนาในเรื่องทส่ี นใจ ไมมกี ารปด บัง คําตอบทไ่ี ดจากการถกประเด็นซ่งึ กนั และ กันถอื วาเปนการกล่นั กรองซึ่งแนวความคิดและเหตผุ ล โดยไมม กี ารตปี ระเดน็ ปญหาผิดไปเปน อยางอนื่ 3) การสนทนากลุม เปนการสรางบรรยากาศเสวนาใหเปนกันเองระหวางผูนําการ สนทนาของกลุมกับสมาชิกกลุมสนทนาหลาย ๆ คนพรอ มกัน จึงลดภาวการณเขนิ อายออกไปทาํ ใหสมาชิกกลุมกลาคุยกลาแสดงความคิดเห็น 4) การใชว ธิ กี ารสนทนากลุม ไดขอมูลละเอียดและสอดคลองกับวตั ถปุ ระสงค ของการศึกษาไดส าํ เร็จหรอื ไดดียิ่งขนึ้ 5) คาํ ตอบจากการสนทนากลุม มีลกั ษณะเปนคาํ ตอบเชิงเหตุผลคลาย ๆ กบั การ รวบรวมขอมูลแบบคุณภาพ 6) ประหยัดเวลาและงบประมาณของผดู าํ เนินการในการศึกษา 7) ทําใหไดรายละเอียด สามารถตอบคําถามประเภททําไมและอยางไรไดอยาง แตกฉาน ลึกซึ้งและในประเดน็ หรือเรื่องทไ่ี มไ ดค ดิ หรือเตรียมไวกอนก็ได 8) เปน การเผชิญหนากนั ในลักษณะกลุมมากกวา การสมั ภาษณตวั ตอตัว ทําใหม ี ปฏกิ ริ ยิ าโตต อบกันได 9) การสนทนากลุม จะชว ยบงชอ้ี ทิ ธิพลของวฒั นธรรมและคุณคา ตา ง ๆ ของ สังคมนั้นได เนื่องจากสมาชิกของกลุมมาจากวัฒนธรรมเดียวกัน 10) สภาพของการสนทนากลุม ชวยใหเ กิดและไดข อมูลทีเ่ ปน จรงิ 1.4 การสัมมนา “สัมมนา” มาจาก คาํ วา ส + มน แปลวา รวมใจ เปนศัพทบ ัญญัตใิ หต รงกบั คาํ วา Seminar หมายถึง การประชุมที่สมาชิกซึ่งมีความรู ความสนใจในเรื่องเดียวกันมาประชุมดวย ความรว มใจ ปรกึ ษาหารือ รวมใจกันคิดชวยกันแกปญหา ซง่ึ มผี ูใ หคํานิยามและทัศนะตาง ๆ ไว สรุปความหมายของการสัมมนาคือ การประชุมของกลุมบุคคลที่มีความรู ความสนใจ ประสบการณในเรื่องเดียวกัน ที่มีจุดมุงหมายเพื่อรวมกันวิเคราะหและหาแนวทางการแกปญหาที่ ประสบอยูตามหลักการของประชาธิปไตย

50 ประโยชนของการสมั มนา 1. ผูจ ดั สามารถดําเนนิ การจัดสัมมนาไดอ ยางมปี ระสิทธภิ าพ 2. ผูเขารวมสัมมนาไดรับความรู แนวคิดจากการเขารวมสัมมนา 3. ชวยทําใหระบบและวิธีการทํางานมีประสิทธิภาพสูงขนึ้ 4. ชวยแบงเบาภาระการปฏิบัติงานของผูบังคับบัญชา 5. เปนการพัฒนาและสงเสริมความกา วหนา ของผปู ฏิบัตงิ าน 6. เกิดความริเริ่มสรางสรรค 7. สามารถสรางความเขาใจอันดีตอเพื่อนรวมงาน 8. สามารถรวมกนั แกปญหาในการทํางานได และฝก การเปนผนู าํ องคป ระกอบของการสัมมนา 1. ผดู ําเนินการสมั มนา 2. วิทยากร 3. ผูเขารวมสัมมนา ลกั ษณะทวั่ ไปของการสมั มนา 1. เปนประเภทหนึ่งของการประชุม 2. มีการยืดหยุนตามความเหมาะสม 3. เปนองคความรูและปญหาทางวิชาการ 4. เปนกระบวนการรวมผูที่สนใจในความรูทางวิชาการ ที่มีระดับใกลเคียงกัน หรือแตกตางกันมาสรางสรรคองคความรูใหม จากการแลกเปลี่ยนความรู ความคิดเห็น นํามา ทดสอบประเมินคาความรูจากคนคนหนึ่งสูอีกคนหนึ่ง ซึ่งจะมีคุณคามากมาย เปนลักษณะการ แพรก ระจายสหู ลากหลายวงการอาชีพ ซึง่ จะทําใหค วามรูเหลา นัน้ ไดถูกนําไปใชอ ยา งแพรหลาย มากขึ้น 5. อาศัยหลักกระบวนการกลุม (Group dynamic หรือ group process) 6. เปนกิจกรรมท่ีเรง เราใหผ ูเขารวมสัมมนา มคี วามกระตือรือรน 7. มโี อกาสนําเสนอ พดู คุย โตตอบซกั ถาม และแสดงความคดิ เหน็ ตอกัน 8. ไดพ ัฒนาทักษะ การพดู การฟง การคดิ และการนําเสนอความคดิ ความเช่อื และความรอู น่ื ๆ ตลอดจนการเขียนรายงานหรือเอกสารประกอบการสัมมนา 9. ฝกการเปน ผูนําและผูต ามในกระบวนการเรียนรู คือ อาจมผี ทู รงคณุ วุฒิ คณาจารย หรอื ผเู ช่ียวชาญ ทั้งหลายมาเปนวิทยากร หรือผูดาํ เนินรายการ คอยชวย ประคับประคองกระบวนการสัมมนาใหบรรลุวัตถุประสงค ขณะเดียวกนั ผูรว มสมั มนาจะเปน ผู ตามในการเรียนรู มีการแลกเปลี่ยนความรูในระหวางการสัมมนา

51 10. เลง็ ถงึ กระบวนการเรียนรู (process) มากกวา ผลทไี่ ดร บั (product) จากการ สัมมนาโดยตรง นั่นคือ ผลของการสัมมนาจะไดในรูปของผูรวมสัมมนาไดมีการพัฒนา กระบวนการฟง การคิด การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซ่งึ กนั และกนั การทดสอบองคค วามรู การ ประเมินคาความคิดเห็นจากผูรวมสัมมนา เชน การไดเรียนรูวา การคิดของผูอื่นและของตนเองมี วิธีการคดิ ท่ีเหมือนหรือแตกตา งกนั อยา งไร รูจักตนเองวามีภมู ริ เู ปนทย่ี อมรับของบุคคลอนื่ มากนอ ย แคไหน ตนเองจะตองพัฒนาความรูความสามารถดานใด จึงจะเสนอความรู ความคิด ความเชื่อ และอน่ื ๆ ของตนเองใหผ อู ่ืนรบั ได และความรูเดิมกอ ใหเกดิ ความรใู หมอะไรบา ง อยางไร 1.5 การสาํ รวจประชามติ ประชามติ (Referendum) หมายถึง การลงประชามติ, คะแนนเสียงที่ประชาชนลง ความหมายตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 หมายถึง มติของประชาชนสวน ใหญในประเทศทีแ่ สดงออกในเรือ่ งใดเรือ่ งหนึ่งหรือในทีใ่ ดทีห่ นึง่ มติของประชาชนทีร่ ัฐใหสิทธิ ออกเสียงลงคะแนนรับรองรางกฎหมายทีส่ ําคัญ ทีผ่ านสภานิติบัญญัติแลว หรือใหตัดสินปญหา สาํ คัญ ๆ ในการบริหารประเทศ ประเภทการสาํ รวจประชามติ การสํารวจประชามติทางดานการเมือง สวนมากจะรูจักกันในนามของ Public Opinion Polls หรือการทําโพล ซ่ึงเปน ท่ีรจู ักกนั อยางแพรหลาย คือ การทําโพลการเลือกต้ัง (Election Polls) แบง ได ดงั น้ี 1. Benchmark Survey เปนการทําการสํารวจเพื่อตองการทราบความเห็นของ ประชาชนเกี่ยวกับการรับรูเรื่องราว ผลงานของผูสมัคร ชื่อผูสมัครและคะแนนเสียงเปรียบเทียบ 2. Trial Heat Survey เปนการหยั่งเสียงวาประชาชนจะเลือกใคร 3. Tracking Polls การถามเพอ่ื ดแู นวโนม การเปลี่ยนแปลง สวนมากจะทําตอน ใกลเ ลือกตัง้ 4. Cross-sectional vs. Panel เปนการทําโพล ณ เวลาใดเวลาหนง่ึ หลาย ๆ คร้งั เพ่อื ทําใหเห็นวาภาพผูสมคั รในแตละหวงเวลามีคะแนนความนยิ มเปน อยา งไร แตไมทราบรูปแบบ การเปลยี่ นแปลงท่ีเกิดข้นึ ในตัวคน ๆ เดียว จึงตองทํา Panel Survey 5. Focus Groups ไมใ ช Polls แตเปน การไดข อมลู ทคี่ อ นขางนา เช่อื ถอื ไดเ พราะ จะเจาะถามเฉพาะกลุมที่รูและใหความสําคัญกับเรื่องนน้ั ๆ จริงจัง ปจ จบุ ันนยิ มเชิญผูเชย่ี วชาญ หลาย ๆ ดานมาใหความเห็นหรือบางครั้งก็เชิญกลุมตัวอยางมาถามโดยตรงเลย การทําประชุมกลุม ยอยยังสามารถใชในการถามเพื่อดูวา ทิศทางของคําถามที่ควรถามควรเปนเชนไรดวย 6. Deliberative Opinion รวมเอาการสํารวจทั่วไป กับการทําการประชุมกลุม ยอย เขาดวยกัน โดยการนําเอาตัวแทนประชาชนมารวมกัน แลวใหขอมูลขาวสารหรือโอกาสในการ อภปิ รายประเดน็ ปญ หา แลว สาํ รวจความเหน็ ในประเดน็ ปญ หาเพอ่ื วดั ประเดน็ ทป่ี ระชาชนคดิ

52 7. Exit Polls การสัมภาษณผูใ ชสิทธิอ์ อกเสียงเมือ่ เขาออกจากคูหาเลือกตัง้ เพื่อดู วาเขาลงคะแนนใหใคร ปจจุบันในสังคมไทยนิยมมาก เพราะมีความนาเชือ่ ถือมากกวา Polls ประเภทอน่ื ๆ การสํารวจทัศนคติและความคิดเห็นทางดานการตลาด (Marketing Research) สว นมาก จะเนนการศึกษาความเห็นของผูใชสินคาและบริการตอคุณสมบัติอันพึงประสงคของสินคาและ บริการ รวมทั้งความคาดหวังในการไดรับการสงเสริมการขายที่สอดรับกับความตองการของผูใช สนิ คา และบรกิ ารดว ย การสํารวจความเหน็ เกย่ี วกับประเดน็ ท่ีเกยี่ วขอ งกับการอยูรวมกนั ในสังคม เปนการ สํารวจความคิดเห็นของสาธารณชนในมิติที่เกี่ยวของกับสภาพความเบี่ยงเบนจากการจัดระเบียบ สังคมที่มีอยูในสังคมใดสังคมหนึ่ง เพื่อนําขอมูลมากําหนดแนวทางในการแกไขปญหา ความสัมพนั ธท่เี กดิ ขึ้น เปนวิธีการที่ใชมากในทางรัฐศาสตรและสังคมวิทยา เรียกวา การวิจยั นโยบายสาธารณะ (Policy Research) กระบวนการสํารวจประชามติ 1. การกําหนดปญหาหรอื ขอมูลท่ีตอ งการสํารวจ คอื การเลือกสิง่ ทีต่ อ งการจะ ทราบจากประชาชนเกี่ยวกับนโยบาย บุคคล คณะบุคคล เหตุการณ ผลงาน และสถานที่ตาง ๆ เชน ดานการเมือง มักเกี่ยวของกับบุคคล นโยบายรฐั ดานสงั คมวทิ ยา เก่ยี วกับความสมั พนั ธ สภาพ ปญหาสังคมที่เกิดขึ้น 2. กลุมตวั อยา ง ตวั แทน คอื การกําหนดกลมุ ตัวอยา งของการสาํ รวจประชามติทีด่ ี ตองใหค รอบคลมุ ทุกเพศ วยั อาชพี ระดับการศกึ ษาและรายได เพ่ือใหไดเปนตวั แทนท่ีแทจรงิ ซง่ึ จะมผี ลตอ การสรปุ ผล หากกลุม ตัวอยา งทไี่ ดไมเปน ตวั แทนทแี่ ทจ รงิ ท้งั ในดา นคุณภาพและปรมิ าณ การสรุปอาจผิดพลาดได 3. การสรางแบบสอบถาม แบบสอบถาม คือ เครื่องมือวิจัย (Research Tool) ชนิดหนึ่งใชวัดคาตัวแปรในการวิจัย แบบสอบถามมีสภาพเหมือนมาตรหรือมิเตอรที่ใชในทาง วิทยาศาสตร หรอื ใชในชวี ิตประจาํ วนั เชน มาตรวัดความดนั น้ํา มาตรวัดปรมิ าณไฟฟา แบบสอบถามที่ใชในการทําประชามติ คือ มาตรวัดคุณสมบัติของเหตุการณที่ทําการศึกษา (Likert scale) เครื่องมือวัดทัศนคติ หรือความคิดเห็นที่กําหนดคะแนนของคําตอบในแบบสอบถาม สว นใหญก าํ หนดนาํ้ หนกั ความเห็นตอคําถามแตละขอเปน 5 ระดบั เชน “เห็นดว ยอยา งย่ิง” ใหม ี คะแนนเทากับ 5 “เหน็ ดวย” ใหมีคะแนนเทากับ 4 “เฉย ๆ” หรือ ”ไมแ นใ จ” หรือ “เหน็ ดว ยปาน กลาง” ใหมีคะแนนเทากับ 3 “ไมเ หน็ ดว ย” ใหมีคะแนนเทากับ 2 และ ”ไมเห็นดว ยอยางยิ่ง” ใหม ี คะแนนเทา กบั 1 คะแนนของคําตอบเกี่ยวกับทัศนคติหรือความคิดเห็นแตละชุด จะนํามาสรางเปน มาตรวัดระดบั ของทศั นคตหิ รอื ความคิดเห็นในเรอ่ื งนน้ั ๆ การออกแบบสอบถามเปนทั้งศาสตร และศิลป การออกแบบสอบถามไดชัดเจน เขาใจงาย สามารถเปดโอกาสใหไดมีโอกาสคิดไดบาง

53 เปนสิ่งทท่ี ําไดย าก เปนเรื่องความสามารถในการเรียบเรียงขอความใหตรงกับความเขาใจของคน ตอบ และคนตอบตอ งเขาใจคลายกนั ดวย จึงจะทาํ ใหไ ดขอ มูลทมี่ คี วามนาเชื่อถอื (Reliable) 4. ประชุมเจาหนาที่เก็บขอมูล เปนการประชุมเพื่อซักซอมความเขาใจในประเด็น คําถามที่ถามใหตรงกัน ความคาดหวังในคําตอบประเภทการใหคําแนะนําวิธีการสัมภาษณ การจด บันทึกขอ มูล การหาขอมลู เพ่ิมเตมิ ในกรณีที่ยังไมไ ดคําตอบ 5. การเก็บขอ มลู ภาคสนาม เจาหนาท่เี ก็บขอมลู จะไดร ับการฝกในเรอ่ื งวธิ ีการ สัมภาษณ การบันทึกขอมูล และการตรวจสอบความถูกตองของขอมูล การเกบ็ ขอมลู การสํารวจ ประชามติสามารถดําเนินการได 3 ทางคือ การสัมภาษณแบบเห็นหนา ( Face to Face ) การ สัมภาษณทางโทรศัพท และการสงแบบสอบถามทางไปรษณีย 6. การวิเคราะหขอมูล ในกรณีการสํารวจประชามติ การวิเคราะหขอมูลสวนมาก ไมส ลบั ซับซอ นเปนขอ มูลแบบรอยละ เพ่อื ตีความและหยิบประเด็นที่สําคัญ จัดลําดับความสําคัญ 7. การนําเสนอผลการสํารวจประชามติ มีโวหารที่ใชนําเสนอผลการสํารวจ ประชามติ ดังนี้ 7.1โวหารทเ่ี นนนยั สาํ คัญทางสถติ ิ นําเสนอผลโดยสรา งความเชือ่ มั่นจากการอา ง ถงึ ผลท่มี ีนัยสําคญั ทางสถติ ริ องรบั 7.2 โวหารวา ดว ยเปน วิทยาศาสตร การนําเสนอผลโดยการอางถึงกระบวนการ ไดม าซึ่งขอ มลู ท่ีเนน การสังเกตการณ การประมวลขอ มลู ดว ยวธิ กี ารทเี่ ปนกลาง 7.3 โวหารในเชิงปริมาณ นําเสนอผลโดยใชตัวเลขที่สํารวจไดมาสรางความ นาเชื่อถือและความชอบธรรมในประเด็นที่ศึกษา 7.4 โวหารวา ดว ยความเปน ตัวแทน การนําเสนอขอมูลในฐานะที่เปนตัวแทนของ กลมุ ตวั อยางทีท่ าํ การศึกษา 1.6 การประชาพิจารณ การทําประชาพิจารณ หมายถึง การจัดเวทีสาธารณะเพื่อใหประชาชนโดยเฉพาะ ผเู กีย่ วของหรอื ผูที่มสี วนไดเ สียโดยตรง ไดมีโอกาสทราบขอมลู ในรายละเอียดเพอ่ื เปนการเปด โอกาสใหมีสว นในการแสดงความคดิ เห็น และมสี ว นรว มในการใหข อ มลู และความคดิ เหน็ ตอ นโยบายหรือโครงการนน้ั ๆ ไมว า จะเปน การเหน็ ดว ยหรือไมเ หน็ ดว ยกต็ าม การจัดทําประชาพิจารณ เปนกระบวนการหนึ่งในการดําเนินการของรัฐเกี่ยวกับ การรับฟงความคิดเห็นของประชาชนตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยการรับฟงความ คิดเห็นของประชาชน พ.ศ. 2548 ในเร่ืองทีเ่ กีย่ วกับการจัดทาํ หรอื การดาํ เนนิ โครงการของ หนว ยงานของรฐั กอนการดาํ เนนิ โครงการ ในการรับฟงความคิดเห็นของประชาชน หนว ยงานของ รัฐตองประกาศใหประชาชนทราบถึงวิธีการรับฟงความคิดเห็น ระยะเวลา สถานท่ี ตลอดจน รายละเอียดอื่นที่เพียงพอแกการที่ประชาชนจะเขาใจและแสดงความคิดเห็นได

54 ขั้นตอนการทาํ ประชาพจิ ารณ นาํ เสนอตวั อยา งการทําประชาพจิ ารณของสภารางรฐั ธรรมนูญ เพ่ือใหรางรัฐธรรมนูญ ฉบับที่จะทําขึ้นนี้เปนของประชาชนโดยแทจริง สภารางรัฐธรรมนูญไดแตงตั้งคณะกรรมาธิการรับ ฟงความคิดเห็น และประชาพิจารณขึ้น เพื่อรวบรวมความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับราง รัฐธรรมนูญโดยมีขนั้ ตอนดังนี้คือ ขน้ั ตอนท่ี 1 สมาชิกสภารางรัฐธรรมนูญนําประเด็นหลัก และหลักการสําคัญในการแกไข ปญหา ซึง่ แยกเปน 3 ประเดน็ คอื ประเด็นเร่ืองสิทธิและการมีสวนรวมของพลเมือง ประเด็นเรื่อง การตรวจสอบการใชอํานาจรัฐ และประเด็นเรื่องสถาบันการเมืองและความสัมพันธระหวางสถาบัน การเมืองออกไปรับฟงความคิดเห็นของประชาชนเบื้องตน และนําขอมูลเสนอกรรมาธิการ ภายใน ชว งตน เดอื นเมษายน ขั้นตอนที่ 2 กรรมาธกิ ารรบั ฟง ความคิดเห็นและประชาพิจารณออกรับฟงความคิดเห็นจาก ประชาชนจังหวัดตาง ๆ จนถงึ เดอื นมถิ นุ ายน ข้ันตอนที่ 3 คณะกรรมาธิการรับฟงความคิดเห็นและประชาพิจารณสงผลสรุปความ คิดเห็นของประชาชนที่ไดจากการจัดทําสมัชชาระดับจังหวัดใหกรรมาธิการยกรางรัฐธรรมนูญ เรื่องที่ 2 การจัดทาํ แผน 2.1 แผน (plan) หมายถึง การตัดสินใจที่กําหนดลวงหนาสําหรับการเลือกใชแนวทางการ ปฏบิ ัตกิ าร ประกอบดวยปจ จยั สําคัญ คือ อนาคต ปฏบิ ัติการและสง่ิ ทีต่ อ งการใหเกิดขนึ้ นั่นคือ องคกร หรอื แตละบุคคลที่ตองรบั ผิดชอบ (ขรรคช ัย คงเสนห และคณะ,2545) แผนแบงตามขอบเขตของกิจกรรมที่ทํา (Scope of activity) เปน 2 ประเภทคือ 1. แผนกลยุทธ (Strategic plan) เปน แผนทีท่ ําขนึ้ เพอ่ื สนองความตองการใน ระยะยาวและรวมกิจกรรมทุกอยางของหนวยงาน ผูบริหารระดับสูงที่วางแผนกลยุทธจะตอง กาํ หนดวตั ถปุ ระสงคของท้งั หนว ยงาน แลว ตัดสินใจวา จะทําอยา งไร และจะจดั สรรทรัพยากร อยางไรจึงจะทําใหสําเร็จตามเปาหมายนั้น จะตองใชเวลาในการกําหนดกิจกรรมที่แตกตางกันใน แตล ะหนว ยงาน รวมทง้ั ทศิ ทางการดาํ เนินงานทไ่ี มเ หมอื นกนั ใหอ ยใู นแนวเดยี วกัน การตดั สนิ ใจ ทสี่ ําคญั ของแผนกลยทุ ธก ็คอื การเลอื กวธิ ีการในการดําเนินงานและการจดั สรรทรัพยากรท่ีมีอยู อยางจํากัดใหเหมาะสม เพื่อที่จะนําพาหนวยงานใหกาวไปขางหนาอยางสอดคลองกับสถานการณ แวดลอ มภายนอกทเ่ี ปลย่ี นแปลงตลอดเวลา 2. แผนดาํ เนนิ งานหรือแผนปฏบิ ตั กิ าร (Operational plan) เปน แผนทก่ี าํ หนด ขึ้นมาใชสําหรับแตละกิจกรรมโดยเฉพาะ เพื่อใหบรรลุเปาหมายของแตละกิจกรรมซึ่งเทากับเปน แผนงานเพื่อใหแผนกลยุทธบรรลุผลหรือเปนการนาํ แผนกลยุทธไปใชน น่ั เอง แผนดาํ เนนิ งานที่

55 แยกเปนแตละกิจกรรมกไ็ ดแ ก แผนการผลิต แผนการเงิน แผนการตลาด แผนทรพั ยากรมนษุ ย และแผนอุปกรณ เปนตน ปจจุบันหนวยงานไดนําแผนที่มีขอบขายความรับผิดชอบเชื่อมโยงนโยบายกับ แผนงาน เปน “ยุทธศาสตร” คือ การตัดสินใจจากทางเลือกที่เชอ่ื วา ดที ส่ี ดุ และเปน ไปไดทีส่ ดุ เรียกวา แผนยทุ ธศาสตร แผนทีด่ ีตอ งประกอบดว ยคุณลกั ษณะดงั ตอไปน้ี ตองกําหนดวัตถุประสงคของแผนอยางชัดเจน ตองนําไปปฏิบตั งิ าย และสะดวกตอ การปฏิบตั ิ ตองยดื หยนุ ไดตามสภาพการณ ตองกําหนดมาตรฐานของการปฏิบัติงานไว ตองมคี วามละเอียดถถ่ี ว นเปนแผนท่ีสมบรู ณแบบ ตองทาํ ใหเกิดประโยชนแ กผเู กีย่ วขอ ง เพื่อจูงใจใหทกุ คนปฏบิ ัติตามแผนนนั้ 2.2 โครงการ (Project) โครงการ คอื “แผนหรือ เคาโครงการตามที่กําหนดไว” เปนสว นประกอบสว น หนง่ึ ในการวางแผนพฒั นาท่ีชวยใหเห็นภาพ และทิศทางการพัฒนา มขี อบเขตที่สามารถติดตามและ ประเมนิ ผลได โครงการ (project) ถือเปนสวนประกอบสําคัญของแผน เปน แผนจลุ ภาคหรือแผน เฉพาะเรื่อง ที่จัดทําขึ้นเพื่อพัฒนาหรือแกปญหาใดปญหาหนึ่งขององคกร แผนงานที่ปราศจาก โครงการยอมเปนแผนงานที่ไมสมบูรณ ไมสามารถนําไปปฏิบัติใหเปนรูปธรรมได โครงการจึงมี ความสัมพันธกับแผนงาน การเขียนโครงการขึ้นมารองรับแผนงานยอมเปนส่ิงสาํ คัญและจาํ เปนย่ิง จะทาํ ให งา ยในการปฏิบัติและงา ยตอการติดตามและประเมินผล เพราะถาโครงการบรรลผุ ลสําเร็จ นัน่ หมายความวา แผนงานและนโยบายนน้ั บรรลุผลสําเร็จดวย โครงการจึงเปรียบเสมอื นพาหนะทน่ี าํ แผนปฏบิ ตั ิการไปสูก ารดําเนินงานใหเ กิดผลเพื่อไปสจู ดุ หมายปลายทางตามที่ตองการ อีกทั้งยังเปน จดุ เช่ือมโยงจากแผนงานไปสแู ผนเงนิ และแผนคนอกี ดว ย โครงการมีลักษณะสําคญั ดงั น้ี 1. เปนระบบ (System) มขี น้ั ตอนการดาํ เนนิ งาน 2. มีวัตถปุ ระสงค (Objective) เฉพาะชัดเจน 3. มรี ะยะเวลาแนน อน (มีจุดเริ่มตน และจดุ สิน้ สุดในการดาํ เนนิ งาน) 4. เปนเอกเทศและมีผูรับผิดชอบโครงการอยางชัดเจน 5. ตองใชทรัพยากรในการดําเนินการ

56 6. มีเจาของงานหรือผูจัดสรรงบประมาณ ในปจ จบุ ันสํานกั งานสง เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยไดใชวิธีการ เขียนโครงการแบบผสมผสานระหวางแบบประเพณีนิยม และแบบตารางเหตผุ ลตอเน่ือง ซงึ่ มี รายละเอยี ดและข้นั ตอน ดงั น้ี หวั ขอ ลกั ษณะ/รูปแบบ/แนวทางการเขียน 1. ชื่อโครงการ เปนช่ือทสี่ นั้ กระชบั เขาใจงาย และสอ่ื ไดชัดเจนวาเนื้อหา สาระของสิ่งที่จะทําคืออะไร โดยทั่วไปชื่อโครงการมี องคประกอบ 2 สวน คือ สวนท่ี 1 เปน ประเภทของโครงการ เชน โครงการฝกอบรม โครงการสัมมนา โครงการประชุม เชิงปฏิบตั ิการ สวนท่ี 2 เปนลกั ษณะหรอื ความเกยี่ วของของ โครงการ วา เกี่ยวกบั เรือ่ งอะไร หรือเก่ียวกบั ใคร เชน กําหนดตามตําแหนงงานของผูเขารวมโครงการ กําหนดตาม ลักษณะของเน้อื หาวชิ าหลกั ของหลกั สตู รหรือประกอบกันทง้ั สองสวน เชน โครงการอบรมอาชีพไมดอกไมประดับ โครงการสรางเสริมสุขภาพผูสูงอายุ โครงการัดการมูลฝอย ชมุ ชน เปนตน 2. หลกั การและเหตผุ ล หรือความสําคัญของโครงการ บอกสาเหตุหรือปญหาที่ทําให เกิดโครงการนขี้ ้นึ และท่สี าํ คญั คอื ตอ งบอกไดว า ถาไดทํา โครงการแลว จะแกไขปญหานี้ตรงไหน การเขียนอธบิ าย ปญหาที่มาโครงการ ควรนําขอมูลสถานการณปญหาจาก ทองถิ่นหรือพ้ืนที่ที่จะทําโครงการมาแจกแจงใหผอู านเกิด ความเขา ใจชัดเจนข้ึน โดยมีหลกั การเขยี น ดังนี้ 1. เขียนในลักษณะบรรยายความ ไมนิยมเขยี นเปน ขอ ๆ 2. เขยี นใหช ดั เจน อา นเขา ใจงาย และมีเหตผุ ล สนบั สนุนเพียงพอ ลาํ ดับแรก เปนการบรรยายถงึ เหตุผล และความจําเปนใน การจัดโครงการ โดยบอกที่มา และ ความสาํ คญั ของโครงการนน้ั ๆ ลาํ ดับท่สี อง เปนการ อธิบายถึงปญหาขอขัดขอ ง หรือพฤติกรรมท่ีเบ่ียงเบนจาก หลักการที่ควรจะเปน ซึง่ ทําใหเกิดความเสียหายในการ ปฏิบัติงาน (หรืออาจเขยี นรวมไวในลาํ ดบั แรก กไ็ ด) สุดทายเปนการ สรปุ วา จากสภาพปญ หาท่ีเกดิ ขนึ้ ผรู ับผดิ ชอบจงึ เห็น ความจําเปนที่จะตองจัดทําโครงการขึ้น

3. วัตถุประสงค 57 4. เปาหมาย ในเรื่องอะไร และสําหรับใคร เพ่ือใหเกดิ ผลอยา งไร 5. กลุมเปาหมาย ระบุสง่ิ ทีต่ อ งการใหเกดิ ขึน้ เม่ือดําเนินการตามโครงการน้ีแลว 6. วธิ ดี าํ เนนิ การ โดยตอบคําถามวา “จะทาํ เพอ่ื อะไร” หรือ “ทาํ แลว ไดอ ะไร” 7. งบประมาณ โดยตองสอดคลอ งกบั หลักการและเหตุผล วตั ถปุ ระสงคท่ีดี ควรเปนวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม ซึ่งสามารถสังเกตไดและ วดั ได องคประกอบของวตั ถุประสงคท ด่ี ี มดี งั น้ี 1. เขาใจงา ย ชดั เจน ไมคลุมเครือ 2. เฉพาะเจาะจง ไมกวางจนเกินไป 3. ระบถุ ึงผลลัพธทตี่ อ งการ วา ส่งิ ทตี่ องการใหเกิดขน้ึ คือ อะไร 4. วดั ได ทัง้ ในแงของปริมาณและคุณภาพ 5. มีความเปน ไปได ไมเ ล่ือนลอย หรือทําไดยากเกนิ ความ เปนจริง คํากริยาที่ควรใชในการเขียนวัตถุประสงคของ โครงการ แลว ทําใหสามารถวดั และประเมินผลได ไดแ ก คําวา เพือ่ ให แสดง กระทาํ ดาํ เนินการ วัด เลือก แกไ ข สาธติ ตดั สนิ ใจ วิเคราะห วางแผน มอบหมาย จาํ แนก จัดลําดบั ระบุ อธบิ าย แกป ญ หา ปรับปรุง พฒั นา ตรวจสอบ ระบสุ ่งิ ที่ตอ งการใหเกิดขน้ึ ท้ังในเชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ ในแตละชวงเวลาจากการดําเนินการตามโครงการนแ้ี ลว โดย ตอบคําถามวา “จะทําเทาใด” ใครคือกลุมเปาหมายของโครงการ หากกลุมเปาหมายมีหลาย กลุมใหบอกชัดลงไปวาใครคือกลุมเปาหมายหลกั ใครคือ กลุมเปาหมายรอง บอกรายละเอียดวิธีดําเนินการ โดยระบุเวลาและกิจกรรมการ ดาํ เนนิ โครงการ (ควรมีรายละเอียดหัวขอกิจกรรม) เปนสวนที่แสดงยอดงบประมาณ พรอมแจกแจงคาใชจายใน การดําเนินกิจกรรมขั้นตาง ๆ โดยทั่วไปจะแจกแจงเปนหมวด ยอย ๆ เชน หมวดคา วัสดุ หมวดคาใชจ า ย หมวด คาตอบแทน หมวดคาครุภัณฑ ซึ่งการแจกแจงงบประมาณ จะมีประโยชนในการตรวจสอบความเปนไปไดและความ

58 8. ระยะเวลาดาํ เนนิ งาน เหมาะสม นอกจากนี้ควรระบุแหลงที่มาของงบประมาณดวย วาเปนงบประมาณแผนดิน งบชวยเหลือจากตางประเทศ 9. สถานที่ เงินกูหรืองบบริจาค จํานวนเทาไร ในการจัดทําประมาณการ 10. ผูรบั ผิดชอบ คาใชจายของโครงการจะตองตระหนักวาคาใชจายทั้งหมด แบง ออกไดเปน 2 สวน คือ คา ใชจา ยจากโครงการ หรือ 11. โครงการ/กจิ กรรมท่ี งบประมาณสว นทีจ่ ายจรงิ และคาใชจ ายแฝง ไดแ ก เกย่ี วขอ ง คา ใชจ า ยอืน่ ๆ ท่เี กดิ ขึน้ จรงิ หรือมีการใชจ า ยอยูจรงิ แตไ ม สามารถระบุรายการคาใชจายนั้น ๆ เปนจํานวนเงินไดอยาง 12. เครือขาย/หนว ยงานทใ่ี ห ชัดเจน ดงั นัน้ ผคู ิดประมาณการตองศึกษาและทําความเขาใจ การสนบั สนนุ ในรายละเอียดโครงการหลักเกณฑและอัตราการเบิกจายเงิน งบประมาณตามระเบียบดวย ตอบคําถามวา “ทาํ เม่อื ใด และนานเทา ใด” (ระบุเวลาเริ่มตน และเวลาสน้ิ สดุ โครงการอยา งชดั เจน) โดยจะตองระบุ วัน เดือน ป เชนเดียวกบั การแสดงแผนภมู ิแกนท (Gantt Chart) เปนการระบุสถานที่ตั้งของโครงการหรือระบุวากิจกรรมนั้น จะทํา ณ สถานทแี่ หงใด เพื่อสะดวกตอ การประสานงานและ จดั เตรียมสถานท่ีใหพรอมกอ นที่จะทาํ กจิ กรรมน้ัน ๆ เปนการระบเุ พอ่ื ใหท ราบวา หนว ยงานใดเปนเจาของ หรือ รับผิดชอบโครงการ โครงการยอย ๆ บางโครงการระบุเปน ชื่อบุคคลผูรับผิดชอบเปนรายโครงการ หลาย ๆ โครงการที่หนวยงานดําเนินงานอาจมีความเกี่ยวของ กนั หรือในแตล ะแผนอาจมีโครงการหลายโครงการ หรือ บางโครงการเปน โครงการยอยในโครงการใหญ ดงั น้ันจึง ตองระบโุ ครงการท่มี ีความเกย่ี วขอ งดวย ในการดําเนินการโครงการ ควรจะประสานงานและขอความ รวมมอื กบั หนวยงานอ่ืน หากมีหนวยงานรวมดาํ เนนิ โครงการมากกวาหนึ่งหนวยงานตองระบุชื่อใหค รบถว น และ แจกแจงใหช ดั เจนดว ยวา หนวยงานทร่ี ว มโครงการแตล ะฝาย จะเขามามีสวนรวมโครงการในสวนใด ซึ่งจะเปนขอมูล สะทอนใหเห็นวาโครงการจะประสบผลสําเรจ็ และเกดิ ผล ตอ เนื่อง

13. ผลทีค่ าดวาจะไดร ับ 59 14. การประเมินโครงการ เมอ่ื โครงการน้ันเสร็จสน้ิ แลว จะเกิดผลอยา งไรบางใครเปนผู ไดรับผลประโยชนโ ดยตรงและผลประโยชนในดา น 15. ตวั ช้วี ัดผลสําเร็จของ ผลกระทบของโครงการ โครงการ บอกรายละเอียดการใหไดมาซึ่งคําตอบวาโครงการที่จัดนี้มี ประโยชนและคุมคาอยางไร โดยบอกประเด็นการประเมิน/ ตวั ชวี้ ัด แหลงขอ มลู วธิ กี ารประเมนิ ใหส อดคลอ งกับ วัตถุประสงคหรือเปาหมายของโครงการ 1. ตัวชวี้ ดั ผลผลติ (output) หมายถงึ ตัวชวี้ ดั ท่ีแสดงผลงาน เปนรูปธรรมในเชิงปริมาณและ / หรือคุณภาพอันเกิดจากงาน ตามวัตถุประสงคของโครงการ 2. ตัวชี้วดั ผลลพั ธ (out come) หมายถึง ตัวชี้วัดท่ีแสดงถึงผลประโยชนจ ากผลผลิตท่มี ีผลตอ บุคคล ชมุ ชน สิ่งแวดลอม เศรษฐกิจ และสงั คมโดยรวม เร่ืองท่ี 3 การเผยแพรส ูการปฏิบตั ิ 3.1 การเขยี นรายงาน การเขยี นรายงาน คือ การเขียนรายละเอียดตาง ๆ เกี่ยวกับการดําเนินงานของ บุคคลในหนวยงาน ซึ่งรายงานแตละประเภทนนั้ กจ็ ะมวี ิธกี ารเขียนที่แตกตา งกันออกไป รายงาน จึงเปนสิ่งจําเปนและสําคัญในการบริหารงาน และการที่จะเสนอการเขียนรายงานนั้นใหออกมา อยา งมปี ระสิทธภิ าพ และรวดเร็วนั้น ควรท่จี ะมกี ารวางแผนกําหนดเวลาเริ่มตน และเวลาสน้ิ สุด ของแตล ะรายงานไวดว ย วธิ ีการเขยี นรายงาน 1. เขยี นใหส ้ันเอาแตข อความท่จี าํ เปน 2. ใจความสําคญั ครบถว นวา ใคร ทาํ อะไร ทีไ่ หน เมื่อไหร อยา งไร 3. เขยี นแยกเร่ืองราวออกเปนประเด็น ๆ 4. เนอื้ ความท่เี ขียนตองลําดับไมสบั สน 5. ขอมูล ตัวเลข หรือสถติ ติ าง ๆ ควรไดม าจากการพบเห็นจรงิ 6. ถาตองการจะแสดงความคิดเห็นประกอบ ควรแยกความคิดออกจากตัวขาว หรอื เร่ืองราวท่ีเสนอไปนนั้ 7. การเขียนบันทึกรายงาน ถาเปนของทางราชการ ควรเปนรูปแบบที่ใชแนนอน 8. เมอื่ บนั ทกึ เสร็จแลว ตองทบทวนและตงั้ คาํ ถามในใจวา ควรจะเพิ่มเติมหรอื ตัดทอนสวนใดทิ้งหรอื ตอนใดเขียนแลว ยงั ไมช ัดเจน กค็ วรจะแกไ ขใหเรียบรอย

60 วิธีการเขยี นรายงานจากการคน ควา 1. รายงานคนควาเชิงรวบรวม เปนการรวบรวมขอมูลจากแหลงตาง ๆ มาเรียบ เรียงปะติดปะตอกันอยางมีระบบระเบียบ 2. รายงานคนควาเชิงวิเคราะห เปน การนําขอมูลตาง ๆ ท่ีไดมาวเิ คราะห หรือ คน หาคาํ ตอบในประเดน็ ใหช ัดเจน วิธกี ารนําเสนอรายงาน 1. รายงานดวยปากเปลา (Oral Reports) หรอื เสนอดว ยวาจา โดยการเสนอแบบ บรรยายตอทป่ี ระชุมตอผบู ังคับบญั ชา ฯลฯ ในกรณพี ิเศษเชนนี้ ควรจดั เตรียมหวั ขอท่ีสําคัญ ๆ ไว ใหพ รอ ม โดยการคัดประเด็นเรื่องทสี่ าํ คัญ จัดลาํ ดับเรือ่ งทีจ่ ะนาํ เสนอกอนหนา หลังไว 2. รายงานเปนลายลกั ษณอกั ษร (Written Reports) มักทาํ เปนรูปเลม เปนรูปแบบ การนําเสนออยางเปนทางการ (Formal Presentation) ลกั ษณะของรายงานท่ดี ี 1. ปกสวยเรียบ 2. กระดาษทีใ่ ชม ีคณุ ภาพดี มขี นาดถูกตอง 3. มหี มายเลขแสดงหนา 4. มสี ารบญั หรอื มีหัวขอ เรื่อง 5. มีบทสรุปยอ 6. การเวนระยะในรายงานมีความเหมาะสม 7. ไมพ มิ พข อ ความใหแ นนจนดลู านตาไปหมด 8. ไมม ีการแก ขดู ลบ 9. พิมพอยา งสะอาดและดเู รียบรอ ย 10. มีผังหรือภาพประกอบตามความเหมาะสม 11. ควรมีการสรุปใหเหลือเพียงสั้น ๆ แลวนํามาแนบประกอบรายงาน 12. จัดรูปเลมสวยงาม 3.2 การเขยี นโครงงาน โครงงานเปนกิจกรรมการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญอยางแทจริง เพราะ ผูเรียนเปนผูท ีส่ รางความรูดว ยตนเอง เรม่ิ จากการเลือกหัวขอหรือปญหาที่มาจากความสนใจ ความ สงสัย หรือความอยากรูอยากเห็นของตนเอง หัวขอของโครงงานควรเปนเรื่องใหม ที่เฉพาะเจาะจง และที่สําคัญตองเหมาะสมกับความรูความสามารถของตน การเขียนโครงงานเปนการกําหนดกรอบ ในการทํางาน การเขียนโครงงานโดยทั่วไปจะมีองคประกอบเชนเดียวกับการเขียนโครงการ แต โครงงานเปนงานที่ทําเสร็จแลวจะมีชิ้นงานดวยเมื่อมีโครงงาน และดําเนินการจัดทําโครงงานเสร็จ

61 เรียบรอยแลว ชิ้นสุดทายคือการเขียนรายงานโครงงาน การเขียนรายงานโครงงาน โดยทั่วไปมี องคประกอบดังนี้ 1. ชือ่ โครงงาน ชื่อผูท ําโครงงาน 2. คํานํา - สารบัญ 3. ที่มาของโครงงาน อธิบายเหตุผลในการทําโครงงานนี้ 4. วัตถุประสงคของการทําโครงงาน 5. วธิ ดี าํ เนนิ การควรแยกเปน 3 ข้ันตอน ขัน้ ตอนท่ี 1 การเตรียมการ ขั้นตอนที่ 2 กระบวนการ วธิ ดี าํ เนนิ งานโครงงาน ขน้ั ตอนที่ 3 ผลงานโครงการ ประโยชนท ่ไี ดรับ 6. สรปุ ผลและขอ เสนอแนะ

62 กจิ กรรมบทท่ี 5 คําชี้แจง ใหผ เู รยี นตอบคําถามตอไปนี้ โดยเขียนตอบลงในสมุดบนั ทึกกจิ กรรมของผเู รยี น แลว ตรวจสอบ ความถูกตองจากแนวเฉลยกิจกรรมทายหนังสือเรียน 1. เขียนการเตรียมประเด็นหนึ่งประเด็นในการจัดทําเวทีประชาคมโดยใชตาราง 2. บอกขอ ดีของการจัดสนทนากลมุ 3. บอกประโยชนของการสัมมนา 4. การสํารวจประชามติมีกี่ประเภท อะไรบาง 5. บอก ลักษณะของรายงานทด่ี ีมกี ่ขี อ อะไรบา ง 6. ใหผเู รยี นศึกษาคนควาความรูในเรื่องที่ตนเองสนใจแลวนํามาเขียนรายงานในรูปแบบ การเขียนรายงานคนควาเชิงรวบรวมไมนอยกวา 1 หนา กระดาษ 7. เขียนสรปุ ลกั ษณะของโครงงานหน่ึงหวั ขอโดยระบุที่มา/ชือ่ ผูเขยี นดวย 8. เขียนสรุปการทํางาน/กิจกรรมเปนกลมุ นน้ั มปี ระโยชน ทําใหไดพัฒนาตนเองอยางไร

63 บทที่ 6 บทบาท หนา ท่ขี องผูน าํ สมาชกิ ท่ดี ีของชุมชนและสังคม สาระสําคัญ สิ่งสําคัญที่มีผลตอความสําเร็จของการพัฒนาชุมชน และสังคม ก็คือ ผูนํา เพราะผูนํามี ภาระหนาที่และความรับผิดชอบทีจ่ ะตองวางแผน สัง่ การ ดูแล และควบคุมใหการทํางานใด ๆ สําเร็จ ซึ่ง ในการปฏิบัติงานตาง ๆ จะมีการแบงบทบาท หนาที่ ความรับผิดชอบ เพือ่ ใหการทํางานเปนไปดวยความ ราบรืน่ มีปญหาอุปสรรคนอยที่สุด งานสําเร็จตามวัตถุประสงคทีต่ ัง้ ไว และเกิดประโยชนตอองคการ ซ่ึง การจัดทําและขับเคลื่อนแผนพัฒนาชุมชน และสงั คม จะสาํ เร็จไดกจ็ ะตองมีผนู ําและผูตามท่ีดี ผลการเรียนรูท่ีคาดหวัง เมือ่ ศกึ ษาบทที่ 6 จบแลว ผูเรียนสามารถ 1. รูและเขาใจ บทบาท หนาที่ของผูนําชุมชน 2. เปน ผนู าํ ผูตามในการจัดทาํ และขบั เคลื่อนแผนพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม ขอบขา ยเน้ือหา เรื่องท่ี 1 ผูน ําและผตู าม เร่ืองท่ี 2 ผูน ํา ผูตาม ในการจดั ทําแผนพฒั นาชุมชน สังคม เร่ืองท่ี 3 ผนู าํ ผูตามในการขบั เคลื่อนแผนพัฒนาตนเอง ชมุ ชน สังคม

64 เรอ่ื งท่ี 1 ผูนําและผูตาม ในการจัดทําและขับเคลื่อนแผนพัฒนาชุมชน สังคม สิง่ สําคัญที่มีผลตอความสําเร็จของการ พัฒนาชุมชน และสังคม ก็คือผูน ํา เพราะผูน ํามีภาระหนาทีแ่ ละความรับผิดชอบทีจ่ ะตองวางแผน สั่งการ ดแู ล และควบคมุ ใหการทาํ งานใด ๆ สําเรจ็ ซึ่งในการปฏิบัติงานตาง ๆ จะมีการแบงบทบาท หนาที่ ความ รับผิดชอบ เพือ่ ใหการทํางานเปนไปดวยความราบรื่น มีปญหา อุปสรรคนอย และงานสําเร็จตาม วตั ถปุ ระสงคท ตี่ ้งั ไว ซ่งึ การจัดทําและขับเคลือ่ นแผนพัฒนาชุมชน สังคม จะสําเร็จไดตองอาศัยการทํางาน ทมี่ ผี นู าํ และผตู ามท่ดี ี 1.1 ผนู าํ ความหมายของผนู าํ ผูน ํา (Leader) คอื บุคคลที่มีความสามารถในการชกั จงู ใหคนอืน่ ทํางานในสวนตาง ๆ ทีต่ องการให บรรลุเปาหมายและวัตถุประสงคที่ตั้งไว ทัง้ นีผ้ ูน ําอาจเปนบุคคลทีม่ าจากการเลือกตัง้ หรือแตงตั้ง หรือการ ยกยองขึ้นมาของกลุม เพื่อใหทําหนาทีเ่ ปนผูชีแ้ นะและชวยเหลือใหกลุม ประสบความสําเร็จ และมีการเขียน ชื่อผูนําแตกตางกันออกไปตามลักษณะงานและองคการทีอ่ ยู เชน ผูบริหาร ผูจ ัดการ ประธานกรรมการ ผอู ํานวยการ อธกิ ารบดี ผวู า ราชการ นายอาํ เภอ กํานัน เปนตน องคป ระกอบของความเปนผูนํา 1. ความรู เชน วิชาการ รรู อบ รูตน รูคน รหู นา ที่ เปนตน 2. ความคิดและจิตใจ เชน คิดเชิงบวก คิดเชิงวิเคราะห คิดเชิงระบบ หลักคิด สมาธิ วิสัยทัศน คิดริเร่ิมสรางสรรค เปนตน 3. บุคลิกภาพ เชน การวางตน ความมั่นใจ เอกลักษณ อารมณ การพดู การเปนผูให เปนตน 4. ความสามารถ เชน รูปแบบการทํางาน การตดั สนิ ใจ เปน ตน ประเภทของผนู ํา ผูนําตามลกั ษณะของการใชอ าํ นาจหนาท่ี แบง ไดเปน 3 ประเภท คอื 1. ผูน ําแบบเผด็จการ (Autocratic Leadership) หมายถึง ผูน ําทีเ่ นนการบังคับบัญชาและการออก คําสัง่ มักจะทําการตัดสินใจดวยตนเองเปนสวนใหญ และไมคอยมอบหมายอํานาจหนาที่ใหแกผูต ามหรือ ผใู ตบ ังคบั บญั ชามากนกั ลักษณะของผนู าํ ชนิดน้เี ปน ลกั ษณะเจา นาย 2. ผูน ําแบบประชาธิปไตย (Democratic Leadership) เปนผูนําทีใ่ หความสําคัญกับผูต ามหรือ ผใู ตบงั คบั บัญชา ไมเนน การใชอาํ นาจหนาที่ หรอื กอใหเกดิ ความเกรงกลัวในตัวผูนํา แตจะใหโอกาส ผู ตาม ไดแสดงความคิดเห็น ในการปฏิบัติงานทุกคนจะมีโอกาสเขารวมพิจารณาและรวมตัดสินใจไดดวย

65 3. ผูน ําแบบเสรีนิยม (Laissez – faire or Free – rein Leadership) ผูน ําชนิดนี้จะใหอิสระเต็มทีก่ ับ ผตู าม หรอื ใหผตู ามสามารถทําการใด ๆ ตามใจชอบ ผูต ามจะตัดสนิ ปญหาตา ง ๆ ดวยตนเอง และอาจไดรับ สทิ ธใิ นการจดั ทําเปา หมายหรอื วัตถุประสงค หรอื จดั ทาํ แผนงานตาง ๆ ได ผูน าํ ตามลกั ษณะการจัดการแบบมงุ งานกบั มุงคน แบงได 2 ประเภท คอื 1. ผูนําแบบมุงงาน (Job Centered) ผนู าํ ชนิดนี้ใหความสําคัญตองาน โดยถือวาคนเปนปจจัยทีจ่ ะ นํามาใชชวยใหการทํางานประสบความสําเร็จ ซ่ึงจะตองควบคุมดูแลอยางใกลชิด และไมควรมอบอํานาจ การตัดสินใจใหกบั ลกู นอง 2. ผนู าํ แบบมงุ คน (Employee Centered) ผูนําชนิดนี้ใหความสําคัญและเห็นคุณคาของคน มีความ เช่ือมั่นในตัวลูกนองหรือผูต าม จะไมขัดขวาง และคอยใหความชวยเหลือสนับสนุน สงเสริมใหลูกนองมี สว นรว มในการตดั สนิ ใจตา ง ๆ ผนู ําตามลกั ษณะการยอมรบั จากกลุมหรือสังคม แบง ได 5 ประเภท คือ 1. ผูน าํ ตกทอด (Hereditary Leader) คือ ผทู กี่ ลมุ หรอื สังคมใหการยอมรบั ในลักษณะทเ่ี ปน การสบื ทอด เชน การไดรบั ตําแหนงตกทอดมาจากบรรพบุรุษ หรือผูที่เปน ท่ีเคารพนับถอื ของกลมุ หรือสังคมน้นั มา กอ น 2. ผูนําอยางเปนทางการ (Legal Leader) คือ บุคคลท่ีกลมุ หรือสังคมใหการยอมรบั ในลกั ษณะที่ เปนทางการ เชน การไดรับการแตง ตั้งหรือไดรับการเลือกต้งั อยางเปนทางการ เน่อื งจากมคี ุณสมบัติ เหมาะสมท่จี ะเปน ผนู าํ 3. ผูนําตามธรรมชาติ (Natural Leader) คือ ผนู ําที่กลมุ หรอื สงั คมยอมรับสภาพการเปน ผูนําของ บคุ คล ใดบคุ คลหนึ่งใหเปน ผูนาํ กลมุ ไปสู เปา หมายอยา ง ไมเปนทางการ และผูนําก็ปฏิบัติไปตามธรรมชาติ ไมไดมีการ ตกลงกันแต ประการใด 4. ผนู ําลกั ษณะพเิ ศษ หรือ ผูนาํ โดยอํานาจบารมี (Charismatic Leader) คือ ผูที่ไดรบั การยอมรับจากกลุมหรือสังคมในลักษณะที่เปนเพราะความศรัทธา ทั้งนี้เนื่องจากมีความเคารพ เช่ือถอื เพราะ บุคคลนน้ั มี คุณสมบัติพิเศษทเ่ี ปนทย่ี อมรบั ของกลมุ 5. ผนู าํ สัญลกั ษณ (Symbolic Leader) คือ บคุ คลทีไ่ ดร บั การยอมรบั ในลกั ษณะท่เี ปน เพราะบคุ คล นั้นอยใู นตาํ แหนงหรือฐานะ อนั เปนทเี่ คารพยกยอง ของคนท้งั หลาย คุณลักษณะของผูนาํ 1. ทางความรูแ ละสติปญญา เชน รูรอบ มที กั ษะการคดิ ที่ดี ชอบริเรมิ่ สรางสรรค เปน ตน 2. ทางรางกาย เชน มีสขุ ภาพดี มมี าดที่ดดู ี เปนตน 3. ทางอารมณแ ละวฒุ ภิ าวะ เชน สมาธดิ ี มีความเชอื่ ม่ันในตนเอง ปรบั ตัวและมคี วามยืดหยนุ สงู เปนตน 4. ทางอปุ นิสัย เชน นาเชอ่ื ถือไวใ จได กลา ท่จี ะเผชญิ ปญหาอุปสรรค รับผิดชอบดี มงุ ม่ัน อดทน พากเพยี ร พยายาม ชอบสังคม เปน ตน

66 ผูนาํ ทด่ี ี ผูนาํ ท่ดี ี ควรมคี ณุ สมบตั ิ ดังนี้ 1. วสิ ัยทัศน (Vision) ผูน าํ ท่ีดตี องมีวิสัยทัศน การมวี สิ ัยทัศนเปน การมองการณไกล เพ่ือกาํ หนด ทิศทางที่ควรจะเปนในอนาคต การมองเห็นกอนคนอื่นจะทําใหประสบความสําเร็จกอน และเปนแรงขับที่ นําไปสูจุดหมายที่ตองการ และผูน าํ จะตอ งสามารถสื่อสารวิสยั ทัศนของตนไปยงั ผูเกยี่ วขอ งได และชกั จูง หรือกระตนุ ใหผูตามพงึ ปฏิบัตไิ ปตามวิสัยทัศนของผูนาํ นั้น ๆ 2. ความรู (Knowledge) การเปน ผูนํานน้ั ความรูเปนสงิ่ จําเปน ที่สุด ความรใู นท่ีนีม้ ิไดหมายถงึ เฉพาะความรูเก่ียวกบั งานในหนาทเ่ี ทา น้ัน หากแตรวมถึงการใฝห าความรูเพ่มิ เติมในดานอน่ื ๆ ดวย การจะ เปน ผูนําท่ีดี หวั หนา งานจงึ ตองเปนผูรอบรู ยงิ่ รอบรูม ากเพยี งใด ฐานะแหงความเปนผูนําก็จะยิ่งมั่นคงมากขึ้น เพียงนน้ั 3. ความรเิ ริม่ (Initiative) ความริเริ่ม คือ ความสามารถที่จะปฏิบัติสิ่งหนึ่งสิ่งใดในขอบเขต อํานาจหนาที่ไดดวยตนเอง โดยไมตองคอยคําสั่ง หรือความสามารถในการแสดงความคิดเห็นที่จะแกไขสิ่ง หนง่ึ สง่ิ ใดใหดีขึน้ หรือเจริญขน้ึ ไดด ว ยตนเอง ความริเริ่มจะเจริญงอกงามได หัวหนางานจะตองมีความ กระตือรอื รน คือมีใจจดจอ งานดี มคี วามเอาใจใสตอหนาท่ี มีพลงั ใจท่ตี องการความสาํ เรจ็ อยูเบ้อื งหนา 4. มีความกลาหาญและความเด็ดขาด ( Courage and Firmness) ผูนําที่ดีจะตองไมกลัวตอ อันตราย ความยากลําบาก หรือความเจ็บปวดใดๆ ทั้งทางกาย วาจา และใจ ผูน ําทีม่ คี วามกลาหาญ จะชวยให สามารถเผชิญตองานตางๆ ใหสําเร็จลุลวงไปได นอกจากความกลาหาญแลว ความเด็ดขาดก็เปนลักษณะ หนึ่งทจี่ ะตองทําใหเ กิดในตวั ของผนู าํ 5. การมีมนษุ ยสมั พันธ (Human Relations) ผูน ําท่ดี จี ะตอ งรูจักประสานความคิด ประสานประโยชน สามารถทํางานรวมกับคนทุกเพศ ทุกวัย ทุกระดับการศึกษาได ผนู ําทีม่ มี นษุ ยสัมพันธด ี จะชวยใหปญหาใหญก ลายเปนปญหาเล็กได 6. มีความยตุ ธิ รรมและซื่อสัตยส จุ รติ ( Fairness and Honesty) ผูนาํ ทด่ี ีจะตองอาศยั หลกั ของความถูกตอง หลกั แหง เหตผุ ลและความซอื่ สตั ยส ุจริตตอ ตนเองและผูอืน่ เปนเครื่องมือในการวนิ ิจฉัยสัง่ การ หรือปฏิบัติงานดวยจิตที่ปราศจากอคติ ปราศจากความลําเอียง ไมเลนพรรคเลนพวก 7. มีความอดทน (Patience) ความอดทนจะเปน พลงั อันหน่ึงท่จี ะผลกั ดนั งานใหไ ปสู จุดหมายปลายทางไดอยางแทจริง 8. มคี วามต่นื ตวั ( Alertness ) ความตื่นตัว หมายถึง ความระมัดระวัง ความสุขุม รอบคอบ ความไมประมาท ไมยืดยาดหรือขาดความกระฉับกระเฉง มีความฉับไวในการปฏิบัติงานทันตอเหตุการณ ความตน่ื ตัวเปน ลักษณะทแ่ี สดงออกทางกาย และทางจิตใจ จะตองหยุดคิดไตรตรองตอเหตุการณตาง ๆ ที่ เกดิ ขนึ้ รูจกั ใชดุลยพนิ จิ ทีจ่ ะพิจารณาสิ่งตา ง ๆ หรอื เหตุตาง ๆ ไดอยา งถกู ตอ ง คอื ผูนําทีด่ จี ะตอ งรูจักวิธี ควบคุมตัวเองนั่นเอง (Self Control)

67 9. มคี วามภกั ดี (Loyalty) การเปน ผูนาํ หรอื หวั หนา ท่ีดีนนั้ จําเปน ตองมคี วามจงรกั ภกั ดีตอหมู คณะ ตอ สวนรวมและตอองคการ ความภักดีน้ี จะชวยใหผนู ําไดร ับความไววางใจ และปกปองภยั อนั ตราย ในทุกทิศไดเปนอยางดี 10. มีความสงบเสงี่ยมไมถือตัว (Modesty) ผูนําทีด่ ีจะตองไมหยิง่ ยโส ไมจองหอง ไมวางอํานาจ และไมภูมใิ จในสงิ่ ท่ีไรเ หตผุ ล ความสงบเสง่ยี มน้ี ถามีอยูในผนู ําหรือหัวหนางานคนใดแลว ก็จะทําใหผูตาม หรือลูกนองมีความนับถือ และใหความรวมมือเสมอ การเสริมสรา งภาวะผูน ําชมุ ชน การเสริมสรางภาวะผูน ําชุมชน หมายถึง การทําใหผูน ําชุมชนมีภาวะผูน ําเพิ่มขึน้ หรือการทําให ผูนําชุมชนมีการปรับปรุงความสามารถในการทําหนาที่หรือการเขาไปมีบทบาทในแตละดานใหกับชุมชนได ดีขึ้น การเสริมสรางภาวะผูน ํา ไดแก การพัฒนาบุคลิกภาพ การพัฒนารูปลักษณ การพัฒนาทักษะในการ ติดตอสื่อสาร การพัฒนาความทรงจํา และการพัฒนาความคิดริเริ่มสรางสรรค การพัฒนาบุคลิกภาพของผนู าํ ไดแก การเสริมสรางมนุษยสัมพันธ เชน การควบคุมตนเอง การ รับฟงผูอ ืน่ การมีความซื่อสัตยตองาน เพื่อนรวมงาน การรูจ ักถอมตน การใหความรวมมือกับผูอืน่ การ ถนอมน้าํ ใจผูอ่นื เปนตน การเขาใจความตองการของชุมชน และการสรางภาพลักษณ เชน ความมัน่ ใจใน ตัวเอง แรงจูงใจในการทาํ งาน การปรับตัวเขากบั ผอู ืน่ การแสดงความคดิ เหน็ เปนตน การพัฒนารูปลักษณของผูนํา ไดแก การออกกําลังกาย การรับประทานอาหารที่เปนประโยชน ถูกหลักโภชนาการ การรักษารูปรา งและสัดสวน การรูจักการแตงกาย และการพัฒนามารยาท เชน มารยาท ในการแนะนาํ ตวั มารยาทในโตะ อาหาร มารยาทตอ คนรอบขา ง มารยาทในทท่ี าํ งาน มารยาทในการประชมุ เปน ตน การพัฒนาทักษะในการตดิ ตอ ส่ือสาร ไดแ ก การพดู การฟง การสอื่ สารทางโทรศัพท การพูดใน ทชี่ มุ ชน การวิเคราะหก ลมุ ผูฟ ง การวิเคราะหเน้ือหา การอาน การเขียน การใหค าํ แนะนํา คาํ ปรึกษา การพัฒนาความทรงจํา ไดแก การจํารายละเอียดของงาน การจํารายละเอียดเกี่ยวกับบุคคล การจําเกี่ยวกบั ตัวเลข การพัฒนาความคิดริเริม่ สรางสรรค เปนการพัฒนาเพือ่ หาวิธีการใหม ๆ ทําใหกลาคิด กลา แสดงออก ทําใหมองโลกกวางและมีความยืดหยุน สรางผลงานใหม ๆ ภาวะผนู าํ ของชุมชน 1. ดา นการบรหิ ารตนเอง ผูนําควรเปนผูมีความรูความสามารถ มคี ุณธรรม ศีลธรรม จริยธรรม มวี นิ ยั ในตนเอง และมีบุคลกิ ภาพดี 2. ดานการบริหารงาน ผูนําควรมีการวางแผน การปรับปรุงแกไขงบประมาณ การเงิน บัญชี การบริหารงบประมาณ การเงิน บัญชี การพัฒนางานอยางตอเนือ่ ง การควบคุมและประเมินผล การสราง และการพัฒนาทีมงาน และการมีความรับผิดชอบตอชุมชน 3. ดา นการบริหารสังคม ผูนาํ ควรมีมนษุ ยสัมพนั ธทีด่ ี ความเปนประชาธิปไตย การประสานงาน ดี และการเปนทป่ี รกึ ษาทด่ี ี

68 หนา ทขี่ องผูนาํ ชุมชน ในการทําหนาทีเ่ ปนผูน ําชุมชนนัน้ จะตองเปนผูร ักษาหรือประสานใหสมาชิกของชุมชนอยู รวมกัน คือ ตองอยูใกลชิดกับชุมชน มีความสัมพันธกับคนในชุมชน และเปนที่ยอมรับของคนในชุมชน อีกทัง้ ผูน ําจะตองเปนผูป ฎิบัติภารกิจของชุมชนใหบรรลุวัตถุประสงค คือ ตองรับผิดชอบในกระบวนการ วิธีการทํางานดวยความมัน่ คงและเขาใจ และตองทํางานใหบรรลุเปาหมาย นอกจากนัน้ ผูนําชุมชนจะตอง มีบทบาทในการสนับสนุนใหเกิดการติดตอสัมพันธในกลุม คือ จะตองปฏิบัติงานในลักษณะอํานวยความ สะดวกใหสมาชิกในชุมชนเกิดการติดตอสัมพันธและปฏิบัติตอกันดวยดี การติดตอสื่อสารที่ดีจึงเปนสิ่ง สําคญั และเปนการชวยใหหนาท่ผี นู ําชุมชนบรรลุเปาหมาย แนวทางในการทาํ หนา ทผ่ี ูนาํ ชมุ ชน 1. สรางความสามัคคีใหเกิดขึ้นในชุมชน 2. กระตนุ ใหสมาชิกทําสง่ิ ทเ่ี ปนประโยชนต อ ชุมชน 3. พัฒนาสมาชกิ ใหเกิดภาวะผนู ํา 4. รวมกับสมาชิกกําหนดเปาหมายของชุมชน 5. บริหารงาน และประสานงานในชุมชน 6. ใหค าํ แนะนาํ และชี้แนวทางใหกับชุมชน 7. บํารุงขวัญสมาชิกในชุมชน 8. เปน ตวั แทนชมุ ชนในการติดตอ ประสานงานกบั หนว ยงานอน่ื ๆ 9. รับผดิ ชอบตอผลการกระทําของชุมชน บทบาทผนู ําชมุ ชน ดา นเศรษฐกจิ 1. ทําใหครัวเรือนสามารถพึ่งตนเองได 2. สงเสริมอาชีพที่ตอบสนองตอความตองการของชุมชน 3. สงเสริมวิสาหกิจชุมชนตามความเหมาะสม ดา นการจัดการทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ มในชมุ ชน 1. บริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติอยางเหมาะสม 2. เสริมสรางสภาพแวดลอมที่ดี 3. วางระบบโครงสรางพื้นฐานเพียงพอตอความตองการ ดา นสุขภาพอนามัย 1. วางระบบโครงสรางพื้นฐานเพื่อสุขภาพจากการมีสวนรวมของชุมชน 2. จัดการเพื่อเสรมิ สรา งสุขภาพ 3. การปอ งกนั โรค 4. การดแู ลสขุ ภาพดว ยตนเอง

69 ดา นศาสนา วฒั นธรรมและประเพณี 1. การนับถอื ศาสนาท่ียดึ เหนีย่ วจิตใจ 2. การมวี ิถีชีวติ แบงปนเอ้ืออาทร 3. การอนุรักษสืบสานวัฒนธรรมประเพณีของชุมชน ดานการพัฒนาคน 1. การจัดการความรู / ภูมิปญญา 2. การพัฒนาผูนาํ / สมาชิกในชุมชน ดา นการบริหารจดั การชมุ ชน 1. การจัดทําระบบขอมูล 2. การจัดทําแผนชุมชน 3. การจดั สวสั ดกิ ารชุมชน 4. การเสริมสรางการเมือง การปกครองตามระบอบประชาธิปไตย ดานความมนั่ คงปลอดภัยในชวี ิตและทรัพยสิน 1. การปองกันรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสินของชุมชน 2. การปองกันภัยธรรมชาติ 1.2 ผูตาม ความหมายของผตู าม (Followers) และภาวะผตู าม (Followership) ผูตาม และภาวะผตู าม หมายถงึ ผปู ฏบิ ตั งิ านในองคการทมี่ หี นา ที่ และความรับผิดชอบที่จะตอง รับคําสั่งจากผนู าํ หรือผบู งั คบั บัญชามาปฏิบัติใหส ําเร็จและบรรลุวัตถุประสงค พฤตกิ รรมของผูต าม 5 แบบ ดงั น้ี 1. ผตู ามแบบหางเหนิ มลี ักษณะเปนคนเฉื่อยชา มีความเปนอิสระ และมีความคิดสรา งสรรคส งู สว นมากเปน ผตู ามทีม่ ปี ระสทิ ธิผล มีประสบการณ และผานอุปสรรคมากอน 2. ผูตามแบบปรับตาม หรอื เรียกวา ผตู ามแบบครับผม มีลกั ษณะเปน ผทู ีม่ ีความกระตือรือรน ในการทํางาน แตขาดความคิดสรางสรรค 3. ผูตามแบบเอาตัวรอด มีลกั ษณะเลอื กใชพฤตกิ รรมแบบใดขน้ึ อยูกบั สถานการณทจ่ี ะเอื้อ ประโยชนก บั ตวั เองไดมากท่ีสดุ และมีความเสี่ยงนอ ยที่สดุ 4. ผูตามแบบเฉื่อยชา มีลักษณะชอบพง่ึ พาผูอนื่ ขาดความอิสระ ไมมีความคิดริเริ่มสรางสรรค 5. ผตู ามแบบมปี ระสิทธิผล มลี กั ษณะเปน ผทู มี่ คี วามตั้งใจในการปฏิบัติงานสูง มีความสามารถ ในการบรหิ ารจัดการงานไดด วยตนเอง

70 ลักษณะผตู ามที่มปี ระสิทธผิ ล ดงั น้ี 1. มีความสามารถในการบริหารจัดการตนเองไดด ี 2. มีความผูกพนั ตอองคการและวัตถุประสงค 3. ทํางานเต็มศักยภาพ และสุดความสามารถ 4. มีความกลาหาญ ซอ่ื สัตย และนาเชือ่ ถอื การพฒั นาศักยภาพตนเองของผตู าม การพฒั นาลกั ษณะนิสัยตนเองใหเ ปนผตู ามทม่ี ีประสทิ ธผิ ล มี 7 ประการ คอื 1. ตองมีนสิ ยั เชิงรกุ (Be Proactive) 2. เรม่ิ ตนจากสว นลกึ ในจิตใจ (Begin with the end in Mind) 3. ลงมือทําสง่ิ แรกกอน (Put first Things first) 4. คิดแบบชนะทั้งสองฝาย (Think Win-Win) 5. เขาใจคนอนื่ กอนจะใหค นอนื่ เขาใจเรา (Seek first to Understand, Then to be Understood) 6. การรวมพลงั (Synergy) หรอื ทํางานเปนทีม (Team Work) 7. ลบั เลื่อยใหค ม หรือพฒั นาตนเองอยเู สมอ (Sharpen The Saw) แนวทางสงเสรมิ และพฒั นาผูตามใหม ีคณุ ลกั ษณะผูตามท่ีพงึ ประสงค มดี ังน้ี 1. การดแู ลเอาใจใส เรื่องความตอ งการข้ันพืน้ ฐานของมนษุ ยใหก ับสมาชิกและเปน ธรรม 2. การจูงใจดวยการใหรางวัลคําชมเชย 3. การใหความรู และพัฒนาความคิดโดยการจัดโครงการฝกอบรม สัมมนาและศึกษาดูงาน 4. ผูนําตองปฏบิ ัตติ นใหเปนแบบอยาง 5. มีการประเมินผลการปฏิบัติงานอยางตอเนื่อง 6. ควรนําหลกั การประเมินผลงานท่ีเนนผลสมั ฤทธิ์ 7. สง เสรมิ การนาํ หลักธรรมมาใชในการทํางาน 8. การสงเสรมิ สนบั สนนุ ใหผูตามนําหลักธรรมาภิบาลมาใชในการปฏิบัติงานอยางจริงจัง เรือ่ งที่ 2 ผูนาํ ผูต ามในการจัดทําแผนพฒั นาชมุ ชน สงั คม แผนพัฒนาชุมชน สังคม มีชือ่ เรียกแตกตางกันไปในแตละทองถิน่ เชน แผนชุมชน แผนชุมชน พึ่งตนเอง แผนชีวิต แผนชีวิตชุมชน แผนชีวิตชุมชนพึง่ ตนเอง แผนแมบทชุมชน แผนแมบทชุมชน พง่ึ ตนเอง เปนตน แผนชุมชน คือ เครือ่ งมือพัฒนาชุมชนที่คนในชุมชนรวมตัวกันจัดทําขึน้ เพื่อใชเปนแนวทางใน การพัฒนาชุมชนของตนเองใหเปนไปตามสภาพปญหาและความตองการทีช่ ุมชนประสบอยูร วมกัน โดยคน ในชุมชนรวมกันคิด ตดั สนิ ใจ กําหนดแนวทางและทํากิจกรรมการพัฒนาของชุมชนดวยหลักการพึง่ ตนเอง ตามศักยภาพ ภูมิปญญา วถิ ีชวี ติ วฒั นธรรม ทรพั ยากรและสง่ิ แวดลอ ม ในทองถน่ิ เปนหลกั

71 กลา วโดยสรปุ แผนชุมชน หมายถึง แผนทที่ ุกคนในชุมชนมสี ว นรวมคดิ รวมทําทุกขั้นตอน เพื่อ ใชแกปญหาชุมชนตนเองและทุกคนในชุมชนไดรับผลประโยชนจากการพัฒนารวมกัน การจัดทําแผนพัฒนาชุมชนนั้น ผูนําชุมชนจะตองเปนผูร ิเริม่ จัดทําโดยสรางการมีสวนรวมของคน ในชุมชน ดงั น้ี 1. เตรียมความพรอมทีมงาน 1.1 ทีมงานจัดทําแผน ผูน ําชุมชนรวมกับทีมงานพัฒนาชุมชนระดับอําเภอเผยแพรความคิด สรางความรูค วาม เขาใจแกสมาชิกในชุมชนเกีย่ วกับแผนชุมชนถึงกระบวนการ เทคนิคการเปนวิทยากร บทบาท หนาที่ ความสําคัญในการจัดทําแผนชุมชนเพือ่ คนหา คัดเลือกบุคคลเปนคณะทํางานระดับหมูบาน/ชุมชน รวมกบั ทกุ ภาคสวนโดยพิจารณา ผูที่มีคุณสมบัติเหมาะสมกับการทํางาน ตองการทํางานเพื่อชุมชน ชุมชนให การยอมรับใหเปนคณะทํางาน เชน กํานัน ผูใ หญบาน ผูน ําตามธรรมชาติ แกนนําอาสาสมัครสาธารณสุข ประจําหมูบาน (อสม.) อาสาพัฒนาชุมชน (อช.) ภูมิปญญา ผูเ ฒาผูแ ก พระสงฆ นักวิชาการทองถิน่ บุคคล ในองคการบริหารสวนตําบล (อบต.) สว นราชการและหนว ยงานเอกชน เปนตน 1.2 ทีมงานผูสงเสรมิ กระบวนการจัดทาํ แผน ทีมงานภาคีเครือขายในการจัดทําแผน เปนภาคีการพัฒนาซึง่ มีทัง้ ภาคราชการ ภาคประชาสังคม สถาบันวิชาการ และองคกรพัฒนาเอกชน จาํ นวน 19 องคกร ไดแ ก 1.2.1 ภาคราชการ จํานวน 11 องคกร คือ กรมการปกครอง กรมสงเสริมการปกครองสวน ทองถิน่ สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (กศน.) กรมสงเสริมวิชาการ เกษตร กรมการพัฒนาชุมชน (พช.) กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ (สบส.) กรมประชาสัมพันธ องคการ สอ่ื สารมวลชนแหงประเทศไทย (อสมท.) ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร (ธกส.) สํานักงาน คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (สศช.) และสํานักงานกองบัญชาการทหารสูงสุด (บก.สงู สดุ ) 1.2.2 ภาคประชาสังคม จํานวน 3 องคกร คือ สถาบันพัฒนาองคกรชุมชน (พอช.) สํานักงานคณะกรรมการกองทุนหมูบ านและชุมชนเมืองแหงชาติ (สทบ.) และสํานักงานคณะกรรมการ กองทนุ เพ่อื การวจิ ัย (สกว.) 1.2.3 สถาบันวิชาการ จํานวน 2 องคก ร คอื ทบวงมหาวทิ ยาลยั และสถาบนั ราชภฏั 1.2.4 ภาคเอกชน จํานวน 3 องคกร คือ มูลนิธิหมูบ าน วิทยาลัยการจัดการทางสังคม (วจส.) และสถาบันชุมชนทองถิ่นพัฒนา 2. เตรียมความพรอมขอ มูลและพนื้ ที่ 2.1 ขอ มูล ไดแ ก ขอ มลู ความจําเปนพื้นฐาน (จปฐ.) ขอมูลพื้นฐานระดับหมูบ าน/ชุมชน (กชช. 2 ค) คือ ขอมูลพืน้ ฐานของหมูบ านทีแ่ สดงใหเห็นสภาพทั่วไปและปญหาตาง ๆ ของหมูบ าน ไดแก

72 โครงสรางพืน้ ฐาน เศรษฐกิจ สุขภาพและอนามัย ความรูแ ละการศึกษา ความเขมแข็งของชุมชน ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ ม สภาพแรงงาน ยาเสพตดิ ขอ มลู ศกั ยภาพชมุ ชน 2.2 พ้ืนที่ คอื ความพรอมของพื้นที่มีดานใดบาง เชน ทุนทางสังคม ไดแก บุคคล ภูมิปญญา ทุน ทางเศรษฐกจิ ไดแ ก ทรพั ยากรในการประกอบอาชพี ทนุ ของชมุ ชนทเ่ี ออ้ื ตอ การวางแผนชมุ ชน 3. ดาํ เนินการจดั ทาํ แผนชุมชนการจดั ทาํ แผนพัฒนาชุมชนน้ัน คณะทํางานซึ่งเปนแกนนําชุมชนในการจัดทํา แผนใชเวทีประชาคมในการประชุมเพื่อวางแนวทางดว ยกระบวนการกลุมชุมชน ดงั น้ี 3.1 การศึกษาชมุ ชนตนเอง คณะทํางานชุมชนนําพาสมาชิกชุมชนใหศึกษาเรียนรูช ุมชนของตนเอง เชน สภาพการเงิน ของครัวเรือนเปนอยางไร สภาพทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอมในอดีตกับปจจุบันแตกตางกันหรือไม อยางไร เน่ืองจากเหตุใด สภาพสังคมนัน้ พฤติกรรมของคนในชุมชนพึงประสงคเปนไปตามจารีตประเพณี วัฒนธรรมเพียงใด เปนตน 3.2 สํารวจรวบรวมขอมูลชุมชน ผูน ําและสมาชิกในชุมชนรวมกันออกแบบเครื่องมือสํารวจขอมูลเอง หรือนําแบบสํารวจ ขอมูลที่หนว ยงานมอี ยู เชน กชช. 2ค หรอื จปฐ. มาปรับปรุงเพิม่ เติมขอมูลทีต่ องการทราบ แลวนําไปสํารวจ ขอมูลชุมชน หรือสํารวจขอมูลโดยการจัดเวทีประชาคมเพือ่ เรียนรูส ภาพปญหาและความตองการของชุมชน ซง่ึ ผูสาํ รวจขอมูลและผใู หขอ มูลก็คือคนในชมุ ชนน้ันเอง 3.3 วเิ คราะหข อ มูล/สังเคราะหขอ มลู คณะทํางานชุมชน ผูน ําชุมชน สมาชิกในชุมชนรวมกับทีมงานสงเสริมกระบวนการ จัดทําแผนชุมชนนําขอมูลทีเ่ ก็บรวบรวมมาแยกแยะตามประเภทของขอมูล เชน ขอมูลดานครอบครัว ดาน เศรษฐกิจ ดานอาชีพ ดานสังคม ดานการคมนาคม ดานการศึกษา ศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม ดานการ สาธารณสุข ดานการเมืองการปกครอง ดานโครงสรางพืน้ ฐานทีจ่ ําเปนตอการดํารงชีวิต ดาน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เปน ตน ซึ่งจะทําใหทราบถึงปญหาและสาเหตุของปญหาในชุมชน 3.4 จดั ทําแผนชุมชน 3.4.1 ยกรางแผนชุมชน คณะทํางานจัดทําแผนเชิญบุคคลทีม่ ีความรอบรูแ ละมีสวน เกี่ยวของกับการทําแผน ประชาชนในชุมชน ประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทํารางเคาโครงของแผนชุมชน จัดทํา แผนงาน โครงการกิจกรรมบนพืน้ ฐานของขอมูลชุมชนทีส่ อดคลองกับแนวนโยบายของรัฐ ยึดหลักแนว ทางการพ่งึ ตนเองอยางยงั่ ยนื 3.4.2 ประชาพิจารณแผนชุมชน จัดประชุมประชาคมสมาชิกชุมชนเพื่อนําเสนอรางแผน ใหสมาชิกในชุมชนรวมแสดงความคิดเห็น รวมกันพิจารณาตรวจสอบขอมูล แกไข ปรับปรุง เพิ่มเติม แผนงานโครงการ กิจกรรมใหถูกตองตามความเปนจริงและเปนปจจุบัน สอดคลองกับสภาพปญหาและ ความตองการของชุมชน ประชาชนในชุมชนใหความเห็นชอบ ยอมรับเปนเจาของรวมกันเพือ่ ผลักดันแผน

73 ชุมชนใหเกิดการใชงานไดจริง แลวจัดทําเอกสารเปนรูปเลมที่สามารถอางอิง นําไปใชในการประสานงาน การสนับสนุนใหเกิดโครงการ กิจกรรมตามทีก่ ําหนด ตลอดจนใชเปนเครือ่ งมือการดําเนินงานพัฒนาชุมชน และประสานความรวมมือยกระดับคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นของสมาชิกในชุมชนและสามารถตรวจสอบระดับ ความกาวหนาของการพัฒนากับแนวทางที่วางไวได กลาวโดยสรุปแลวทั้งผูนําและผูตามจะตองมีสวนรวมในกระบวนการจัดทําแผนพัฒนาชุมชนทุก ขัน้ ตอน ทั้งในดานการศึกษาเรียนรูชุมชน ตนเอง การสํารวจ รวบรวม วิเคราะห สังเคราะหขอมูล ตรวจสอบ ขอมูล เพื่อคนหาปญหาและสาเหตุของปญหา ยกรางแผนและจัดทําแผนฉบับสมบูรณ เมื่อแตละหมูบาน/ชุมชน ไดจัดทําแผนพัฒนาชุมชนเสร็จแลว ก็นํามาบูรณาการในระดับตําบล/ เทศบาล อําเภอ และจงั หวดั เปน แผนพฒั นาสงั คม ดงั น้ี 1. คณะทํางานแผนระดับหมูบ าน/ชุมชน นําแผนชุมชนตนเองเขารวมบูรณาการแผนชุมชน สังคม ระดับตําบล / เทศบาล โดยคณะทํางานระดับตําบล/เทศบาล เปนผูอ ํานวยการบูรณาการขึน้ จากนั้นมอบแผน ของหมูบ าน/ชุมชน ระดับตําบล/เทศบาล ใหแกองคกรปกครองสวนทองถิน่ และหนวยงานภาคีเครือขาย นําไปบูรณาการกับแผนพัฒนาทองถิ่นและแผนพัฒนาของหนวยงานภาคีตางๆ และนําไปสูก ารปฏบิ ตั ิ 2. ในระดับอําเภอก็จะนําแผนชุมชนมาบูรณาการเปนแผนพัฒนาระดับอําเภอและแผนพัฒนาของทุก ๆ อําเภอ ก็จะถูกนํามาบูรณาการเปนแผนระดับจังหวัด ซึง่ แผนพัฒนาชุมชน สังคมนี้ ภาครัฐก็สามารถนํามา กําหนดเปนแผนยุทธศาสตรในการพัฒนาประเทศไดเปนอยางดี เนื่องดวยแผนนัน้ เกิดขึน้ มาจากการมีสวน รวมในการพัฒนาจากประชาชนในทองถิ่น 3. คณะทํางานแผน ซึ่งเปนผูนําในการจัดทําแผนตองติดตามผลวา แผนที่ไดจัดทําขึน้ นั้นมีผลเปน อยางไร มีหนวยงานใดบางทีแ่ ปลงแผนพัฒนาชุมชนไปดําเนินการ ดําเนินการแลวมีผลอยางไร แกปญหาได หรือไม แผนใดไมไดรับการนําไปสูการปฏิบัติ แลวสรุปเปนขอมูลเพื่อใชเปนแนวทางในการจัดทํา แผนพฒั นาหมบู า น / ชุมชน ในครัง้ ตอไป 4. คณะทํางานแผน ทําการทบทวนปรับปรุงแผนพัฒนาอยางตอเนือ่ งทุกป เพือ่ ใหกระบวนการเรียนรู การจัดทําแผนพัฒนาชุมชน สังคม แบบมีสวนรวมนัน้ เปนเครื่องมือในการพัฒนาศักยภาพยกระดับคุณภาพ ของคนในหมูบาน / ชุมชน เรื่องที่ 3 ผนู ํา ผตู ามในการขบั เคลอ่ื นแผนพัฒนาตนเอง ชมุ ชน สังคม เมือ่ จัดทําแผนชุมชนเปนรูปเลมเอกสารเรียบรอยแลว ผูน ําชุมชนและประชาชนในชุมชนมีสวน รวมขับเคลือ่ นนําไปสูก ารปฏิบัติจึงจะมีคุณคาและเกิดประโยชนตอชุมชน ซึ่งแนวทางในการขับเคลื่อนมี ดงั น้ี 1. คณะทํางานระดับหมูบาน/ชุมชน และชาวบาน ซึง่ เปนสมาชิกของชุมชนจัดประชุมปรึกษา หารือ รว มกนั พจิ ารณาการนาํ โครงการ/กจิ กรรมไปดาํ เนินการใหบ รรลวุ ตั ถปุ ระสงคท ีก่ าํ หนดโดย

74 1.1 จัดลําดับความสําคัญของโครงการ/กิจกรรม วาโครงการใด มีความสําคัญทีต่ องดําเนินการ กอ น-หลงั 1.2 จัดประเภทของแผนงาน ซึ่งแบงออกเปน 3 ประเภท คอื 1.2.1 แผนชุมชนที่ชุมชนสามารถดําเนินการไดเอง 1.2.2 แผนชมุ ชนทช่ี มุ ชนและหนว ยงานภายนอก รว มกนั ดาํ เนนิ การ 1.2.3 แผนชุมชนที่ตองประสานหนวยงานภายนอก เขามาใหการสนับสนุน 2. แบงบทบาทหนาที่ของคณะทํางาน อาสาสมัคร สมาชิกชุมชน เปนผูร ับผิดชอบแผนงาน โครงการ/กจิ กรรม เพอ่ื ผลกั ดนั ใหมกี ารนําไปปฏบิ ัติจรงิ ในชมุ ชน 3. รว มกนั ดาํ เนินกจิ กรรมของโครงการใหบรรลุผลตามทีต่ ั้งไวในแผน 4. ติดตามผลความกาวหนา ปญหา อุปสรรคของการดําเนินโครงการตามแผนงาน เพือ่ ชวยกัน แกไ ขปญหาอุปสรรคท่เี กิดข้ึน 5. ประเมินผลการดําเนินการโครงการกิจกรรมสําเร็จตามวัตถุประสงคที่ตั้งไวหรือไม เพียงใด กจิ กรรมบทที่ 6 1. ใหผูเรียนอธิบายความหมายของผูนําชุมชน และหนาที่ของผูน าํ ชมุ ชน 2. ใหผ ูเรยี นอธบิ ายการเปนสมาชกิ ท่ดี หี รอื ผูตามทีด่ ี 3. ใหผเู รยี นแบง กลมุ ๆ ละ 5 คน และรว มกนั ระดมความคดิ โดยแบงบทบาทหนาที่ของสมาชิก ในกลุม ใหเ ปนผนู าํ และผตู าม ในการจดั ทาํ โครงการการปองกัน ”ไขห วดั 2009” หรือ “ไขห วดั ใหญส าย พันธุใ หม ชนดิ เอ (เอช 1 เอน็ 1)” ในชุมชนของผเู รยี น วาควรปฏิบัติหนาที่อยางไรใหเกิดความเหมาะสม

75 แนวเฉลยกจิ กรรม แนวเฉลยกจิ กรรมบทท่ี 1 ขอ 1 ความหมาย 1. การพัฒนาตนเอง หมายถึง ความตองการของบุคคลที่จะพัฒนาความรู ความสามารถ ของตนจากทเี่ ปน อยู ใหมีความรู ความสามารถทีม่ ากขน้ึ หรอื สงู ข้นึ 2. การพัฒนาชุมชน หมายถึง กระบวนการสงเสริมความเปนอยูของประชาชนใหดีขึน้ โดย ประชาชนเขา รว มมอื และริเริม่ ดําเนนิ งานเอง 3. การพฒั นาสงั คม หมายถงึ กระบวนการเปลีย่ นแปลงท่ีดีท้ังดานเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครอง วัฒนธรรม เพื่อประชาชนจะไดมีชีวิตความเปนอยูที่ดีขึ้นทัง้ ทางดานอาหาร ทีอ่ ยูอ าศัย การศกึ ษา สขุ ภาพอนามัย การมีงานทํา มีรายไดเพียงพอในการครองชีพ ประชาชน ไดรับความเสมอภาค ความยุติธรรม มีคุณภาพชีวิต ทัง้ นี้ประชาชนจะตองมีสวนรวมในกระบวนการเปลีย่ นแปลงทุกขั้นตอน อยางมีระบบ ขอ 3 หลักการพฒั นาตนเอง มดี งั ตอไปน้ี 1. บุคคลตองสามารถปลดปลอ ยศักยภาพระดับใหมออกมา 2. คนท่ีมกี ารพฒั นาตนเอง ควรรบั รูความทาทายในตวั คนทั้งหมด (Total self) 3. เปนการริเริ่มดวยตัวเอง แรงจูงใจเบือ้ งตนเกิดขึน้ ผานผลสัมฤทธิ์ของตัวเอง และการทําให บรรลุความสาํ เร็จดว ยตนเอง รางวัลและการลงโทษจากภายนอกเปน เรื่องทรี่ องลงมา 4. การพัฒนาตนเอง ตอ งมกี ารเรยี นรู มีการหย่ังเชงิ อยา งสรางสรรค 5. การพฒั นาตนเอง ตองเต็มใจท่จี ะเสี่ยง ขอ 4 ประโยชนทีไ่ ดร บั จากการพัฒนาตนเองที่เกดิ ขนึ้ กบั ตนเอง 1. การประสบความสําเร็จในการดํารงชีวติ 2. การประสบความสําเร็จในการประกอบอาชพี การงาน 3. การมีสุขภาพอนามยั สมบูรณ 4. การมีความเชื่อมั่นในตนเอง 5. การมีความสงบสขุ ทางจติ ใจ ขอ 5 การพัฒนาตนเองดวยวธิ หี าความรเู พ่มิ เตมิ กระทาํ ไดโ ดย 1. การอา นหนงั สือเปน ประจาํ และอยา งตอเน่อื ง 2. การเขารว มประชมุ หรือเขา รบั การฝก อบรม

76 3. การสอนหนงั สือหรือการบรรยายตา ง ๆ 4. การรว มกิจกรรมตา ง ๆ ของชุมชนหรอื องคการตา ง ๆ ขอ 6 แนวคดิ พ้ืนฐานของการพฒั นาชมุ ชน 1. การมสี วนรว มของประชาชน (People Participation) 2. การชวยเหลือตนเอง (Aide Self-Help) 3. ความคิดรเิ ริม่ ของประชาชน (Initiative) 4. ความตองการของชมุ ชน (Felt-Needs) 5. การศกึ ษาภาคชวี ติ (Life-Long Education) ขอ 7 หลักการพัฒนาชุมชน 1. ยดึ หลกั ความมีศักดิศ์ รี และศักยภาพของประชาชน 2. ยดึ หลกั การพึ่งตนเองของประชาชน 3. ยึดหลักการมสี ว นรว มของประชาชน 4. ยึดหลักประชาธปิ ไตย ขอ 8 แนวคิดของการพัฒนาสังคม 1. กระบวนการ (Process) การแกปญหาสังคมตองกระทําตอเนือ่ งกันอยางมีระบบ เพือ่ ให เกดิ การเปล่ียนแปลงจากลกั ษณะหน่ึงไปสูอกี ลกั ษณะหน่ึง ซ่งึ จะตอ งเปน ลักษณะที่ดกี วาเดิม 2. วิธีการ (Method) การกําหนดวิธีการในการดําเนินงาน โดยเฉพาะเนนความรวมมือของ ประชาชนในสงั คมน้ันกับเจา หนา ทข่ี องรัฐบาลท่ีจะทาํ งานรวมกัน 3. กรรมวิธีเปลี่ยนแปลง (Movement) การพัฒนาสังคมจะตองทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงให ได และจะตอ งเปล่ียนแปลงไปในทางท่ดี ีข้นึ 4. แผนการดําเนินงาน (Planning) การพัฒนาสังคมจะตองทําอยางมีแผน มีขั้นตอน สามารถตรวจสอบ และประเมินผลได แนวเฉลยกจิ กรรมบทท่ี 2 ขอ 1 ขอ มลู คอื ขอ เทจ็ จรงิ ของบุคคล สัตว สง่ิ ของ หรือเหตุการณต า ง ๆ ทีเ่ กดิ ข้ึน ซ่ึง อาจเปนขอความ ตัวเลข หรอื ภาพก็ได ขอ 2 ขอ มลู มีความสาํ คญั ดังน้ี ความสาํ คัญของขอมูลตอ ตนเอง 1. ทําใหมนุษยสามารถดํารงชีวิตอยูร อดปลอดภัย มนุษยรูจ ักนําขอมูลมาใชในการดํารงชีวิตแต โบราณแลว มนุษยรูจ ักสังเกตสิ่งตาง ๆ ที่อยูร อบตัว เชน สังเกตวาดิน อากาศ ฤดูกาลใดที่เหมาะสม

77 กับการปลูกพืชผักกินไดชนิดใด พืชชนิดใดใชเปนยารักษาโรคได สะสมเปนองคความรูแ ลวถายทอดสืบ ตอกันมา ขอมูลตาง ๆ ทําใหมนุษยสามารถนําทรัพยากรธรรมชาติมาใชเปนอาหาร สิ่งของเครือ่ งใช ที่ อยอู าศยั และยารกั ษาโรคเพ่ือการดํารงชพี ได 2. ชว ยใหเ รามีความรูความเขาใจเรื่องราวตาง ๆ ท่ีเกิดขึ้นรอบตัว เชน เร่ืองรางกาย จิตใจ ความตองการ พฤติกรรมของตนเอง และผูอ่ืน ทําใหมนุษยสามารถปรับตัวเอง ใหสามารถอยูร วมกับคน ในครอบครัวและสังคมไดอยา งมีความสงบสุข 3. ทาํ ใหตนเองสามารถแกป ญหาตา ง ๆ ทเ่ี กิดขึ้นใหผ านพน ไปไดดวยดี การตัดสินใจตอการ กระทําหรือไมก ระทาํ ส่ิงใดท่ีไมม ีขอ มลู หรอื มขี อมลู ไมถูกตองอาจทําใหเ กิดการผิดพลาดเสยี หายได ความสาํ คญั ของขอ มูลตอชมุ ชน/สังคม 1. ทําใหเกิดการศึกษาเรียนรู ซึ่งการศึกษาเปนสิง่ จําเปนตอการพัฒนาชุมชน/สังคมเปน อยางยงิ่ ชุมชน /สงั คมใดท่มี ผี ูไดร ับการศึกษา การพัฒนากจ็ ะเขา ไปสูช มุ ชน/สงั คมนัน้ ไดงา ยและรวดเรว็ 2. ขอมูลตาง ๆ ทีส่ ะสมเปนองคความรูน ัน้ สามารถรักษาไวและถายทอดความรูไปสูคนรุน ตอ ๆ ไปในชุมชน/สังคม ทําใหเกิดความรูค วามเขาใจ วัฒนธรรมของชุมชน/สังคม ตนเอง และตาง สังคมไดกอใหเกิดการอยรู วมกันไดอ ยา งสงบสุข 3. ชวยเสริมสรางความรู ความสามารถใหม ๆ ในดานตาง ๆ ทั้งทางดานเทคโนโลยี การศึกษา เศรษฐศาสตร การคมนาคม การเกษตร การพาณิชย ฯลฯ ที่เปนพื้นฐานตอการพัฒนา ชุมชน/สงั คม ขอ 3 ประโยชนของขอมลู 1. เพื่อการเรียนรู 2. เพื่อการศึกษาคนควา 3. เพ่ือใชเปน แนวทางในการพฒั นา 4. เพื่อใชในการนาํ มาปรบั ปรงุ แกไข 5. เพื่อใชเปน หลกั ฐานสําคัญตา ง ๆ 6. เพ่ือการส่ือสาร 7. เพ่ือการตัดสนิ ใจ

78 แนวเฉลยกจิ กรรมบทท่ี 3 1. ถาครตู องการศกึ ษาพฤติกรรมการทํางานกลมุ ของนักศกึ ษา ครคู วรจะเกบ็ รวบรวมขอ มลู ดวยวธิ ีสงั เกตจงึ จะเหน็ พฤติกรรมการทํางานกลมุ ของนกั ศึกษา 3. คะแนนเฉล่ียของหมวดวิชาภาษาไทย ของนกั ศกึ ษาระดบั ประถมศึกษา หาไดดงั นี้ = 33 + 36 + 25 + 29 + 34 + 28 + 37 = 222 = 31.71 77 4. การประกอบอาชีพของคนในชมุ ชน อาชพี จํานวน เลย้ี งไก 26 คน เลย้ี งววั 30 คน ทาํ ไรขา วโพด 15 คน ทําสวนผลไม 50 คน รวมท้งั หมด 121

79 แนวเฉลยกจิ กรรมบทท่ี 5 ขอ 1 ตวั อยา ง การเตรยี มประเดน็ การจดั ทาํ เวทีประชาคมโดยใชต าราง ประเด็น ประเดน็ ยอ ย ขอมูลที่ตองการส่อื ในประชาคม ความคดิ เห็นของ - ความพอใจในบริการ - เพ่อื ใหประชาชน/ผเู กี่ยวของแสดง ประชาชนเรื่องการ - ความตองการใหเ กดิ การ ความรูสกึ /ความคิดเหน็ เหมือนเปน ใหบ รกิ ารหอ งสมุด ประชาชนอําเภอ...... ปรับปรงุ บรกิ าร เจา ของบรกิ าร - การมสี ว นรว มของประชาชน - ในฐานะเจา ของบริการสามารถบอก ในการปรบั ปรุงบริการ ไดว า ตองการบรกิ ารแบบใด - ในฐานะเจาของบริการ เปนหนา ที่ และท่ีตองการวมมือกันในการสนบั สนนุ ใหเ กดิ การจดั บริการตามท่ีตองการ ขอ 2 ขอ ดขี องการจัดสนทนากลุมมี 10 ขอ ดังนี้ 1. ผเู ก็บขอมลู เปนผูไดรับการฝก อบรมเปน อยางดี 2. เปนการนงั่ สนทนาระหวา งนกั วจิ ัยกับผูรูผูใหขอมลู หลายคนท่ีเปน กลมุ จึงกอใหเ กิดการ เสวนาในเรื่องทสี่ นใจ ไมม ีการปดบงั คําตอบทไี่ ดจากการถกประเดน็ ซ่งึ กันและกันถือวาเปนการ กลนั่ กรองซง่ึ แนวความคิดและเหตุผล โดยไมมีการตีประเด็นปญ หาผิดไปเปน อยา งอื่น 3. การสนทนากลุม เปนการสรางบรรยากาศเสวนาใหเปน กันเองระหวา งผนู ําการสนทนา ของกลมุ กับสมาชิกกลุมสนทนาหลาย ๆ คนพรอ มกัน จึงลดภาวการณเ ขนิ อายออกไปทําใหสมาชิกกลุม กลา คุยกลา แสดงความคิดเห็น 4. การใชวธิ ีการสนทนากลุม ไดข อมูลละเอยี ดและสอดคลองกบั วัตถุประสงคข องการศึกษา ไดส ําเร็จหรอื ไดด ียง่ิ ขน้ึ 5. คาํ ตอบจากการสนทนากลมุ มีลกั ษณะเปนคาํ ตอบเชิงเหตผุ ลคลา ย ๆ กับการรวบรวม ขอ มูลแบบคณุ ภาพ 6. ประหยัดเวลาและงบประมาณของนกั วจิ ัยในการศึกษา 7. ทําใหไดรายละเอียด สามารถตอบคําถามประเภททาํ ไมและอยางไรไดอยางแตกฉาน ลกึ ซ้งึ และในประเด็นหรือเรื่องที่ไมไดคิดหรือเตรยี มไวก อนกไ็ ด 8. เปนการเผชญิ หนากันในลกั ษณะกลมุ มากกวาการสมั ภาษณต ัวตอตวั ทาํ ใหม ปี ฏิกิริยา โตตอบกนั ได

80 9. การสนทนากลุม จะชว ยบง ชอี้ ิทธพิ ลของวัฒนธรรมและคุณคาตาง ๆ ของสังคมน้ันได เนอื่ งจากสมาชิกของกลมุ มาจากวัฒนธรรมเดียวกัน 10. สภาพของการสนทนากลุม ชว ยใหเกิดและไดขอมลู ทีเ่ ปน จรงิ ขอ 3 ประโยชนข องการสมั มนามี 8 ขอ ดังน้ี 1. ผจู ัดหรือผูเรียนสามารถดําเนนิ การจัดสัมมนาไดอยางมปี ระสทิ ธิภาพ 2. ผเู ขา รว มสัมมนาไดร ับความรู แนวคิดจากการเขารวมสัมมนา 3. ชวยทําใหร ะบบและวิธีการทํางานมีประสทิ ธภิ าพสูงขน้ึ 4. ชวยแบงเบาภาระการปฏิบตั ิงานของผูบ ังคบั บัญชา 5. เปน การพัฒนาและสงเสริมความกา วหนา ของผูปฏิบัติงาน 6. เกิดความริเริ่มสรา งสรรค 7. สามารถสรางความเขา ใจอันดีตอเพ่ือนรวมงาน 8. สามารถรวมกนั แกปญหาในการทาํ งานได และฝก การเปน ผนู าํ ขอ 4 การสาํ รวจประชามติมี 7 ประเภท ดังน้ี การสํารวจประชามตทิ างดานการเมือง สวนมากจะรูจกั กันในนามของ Public Opinion Polls หรอื การทําโพล ซ่ึงมที ่ีรูจ ักกันอยา งแพรห ลาย คือ การทําโพลการเลอื กตัง้ (Election Polls) แบง ได ดังน้ี 1. Benchmark Survey เปนการทําการสาํ รวจเพ่อื ตองการทราบความเห็นของประชาชนเก่ยี วกบั การรับรเู รอื่ งราว ผลงานของผสู มคั ร ชอ่ื ผูส มัครและคะแนนเสียงเปรยี บเทียบ 2. Trial Heat Survey เปนการหยง่ั เสยี งวาประชาชนจะเลอื กใคร 3. Tracking Poll การถามเพื่อดแู นวโนม การเปลี่ยนแปลง สว นมากจะทําตอนใกลเ ลือกต้ัง 4. Cross-sectional vs. Panel เปนการทาํ โพล ณ เวลาใดเวลาหนง่ึ หลาย ๆ คร้งั เพอ่ื ทาํ ใหเห็น วา ภาพผสู มคั รในแตละหวงเวลามีคะแนนความนยิ มเปนอยางไร แตไ มทราบรูปแบบการเปลี่ยนแปลงท่ี เกิดข้ึนในตวั คนๆเดียว จึงตองทํา Panel Survey 5. Focus Groups ไมใช Poll แตเ ปนการไดข อมูลที่คอ นขา งนา เชอ่ื ถือไดเพราะจะเจาะถาม เฉพาะกลุมทรี่ แู ละใหความสําคญั กับเรอ่ื งน้ีจรงิ จงั ปจ จบุ ันนิยมเชิญผเู ช่ียวชาญหลาย ๆ ดานมาให ความเหน็ หรอื บางคร้ังก็เชิญตัวกลุมตัวอยา งมาถามโดยตรงเลย การทําประชุมกลุมยอยยงั สามารถใชใน การถามเพอ่ื ดวู า ทิศทางของคาํ ถามทค่ี วรถามควรเปนเชนไรดว ย 6. Deliberative Opinion รวมเอาการสาํ รวจท่ัวไป กับการทาํ การประชุมกลมุ ยอยเขาดวยกัน โดยการนําเอาตัวแทนประชาชนมารวมกัน แลว ใหขอมูลขา วสารหรือโอกาสในการอภิปรายประเดน็ ปญหา แลวสาํ รวจความเห็นในประเด็นปญ หาเพือ่ วัดประเดน็ ที่ประชาชนคิด

81 7. Exit Polls การสมั ภาษณผใู ชสิทธิอ์ อกเสียงเม่อื เขาออกจากคูหาเลอื กต้ัง เพ่ือดูวาเขา ลงคะแนนใหใ คร ปจจุบนั ในสังคมไทยนยิ มมาก เพราะมคี วามนาเช่ือถือมากกวา Poll ประเภทอื่น ๆ ขอ 5 ลักษณะของรายงานที่ดีมี 12 ขอ ดงั นี้ 1. ปกสวยเรยี บ 2. กระดาษท่ใี ชมีคุณภาพดี มขี นาดถกู ตอ ง 3. มีหมายเลขแสดงหนา 4. มสี ารบญั หรอื มีหัวขอเร่ือง 5. มีบทสรุปยอ 6. การเวนระยะในรายงานมีความเหมาะสม 7. ไมพ มิ พข อความใหแ นนจนดูลานตาไปหมด 8. ไมม กี ารแก ขูดลบ 9. พมิ พอยา งสะอาดและดเู รียบรอย 10. มผี ังหรือภาพประกอบตามความเหมาะสม 11. ควรมีการสรุปใหเ หลอื เพยี งสัน้ ๆ แลว นํามาแนบประกอบรายงาน 12. จัดรูปเลมสวยงาม ขอ 6 ภาพ ทอมสั เจฟเฟอรสัน (THOMAS JEFFERSON) ทอมสั เจฟเฟอรสนั เปน ประธานาธิบดีแหง สหรัฐอเมริกา คนท่ี 3 (ดาํ รงตาํ แหนง ระหวางวนั ท่ี 4 มนี าคม ค.ศ. 1801 – 4 มีนาคม ค.ศ. 1809) และผปู ระพันธ “คาํ ประกาศอิสรภาพ” (Declaration of Independence) เขาเปนประธานาธบิ ดีคนแรกท่ีเปน หัวหนา พรรคการเมือง และใชอาํ นาจผา นพรรคการเมอื งในการควบคุมรฐั สภาของสหรัฐอเมรกิ า และเปน 1 ใน 4 ประธานาธิบดี สหรฐั อเมริกาทีร่ ูปใบหนา ไดรบั การสลักไวท ี่อนสุ รณส ถานแหงชาติ เมานตร ชั มอร (Mount Rushmore) ใบหนา ของเขาปรากฏบนธนบัตรราคา 2 ดอลลารสหรฐั และเหรียญนกิ เกิล 5 เซนต

82 ภาพสลักใบหนาทอมัส เจฟเฟอรส นั (THOMAS JEFFERSON) ทอ่ี นุสรณสถานแหง ชาติ เมานตร ัชมอร (Mount Rushmore) ขอ 7 ตัวอยา ง ลักษณะของโครงงาน ที่มีผูเขียนไว ดังน้ี ลดั ดา ภูเกียรติ (2544) โครงงานนับวา เปน กระบวนการเรยี นรูอ ยางหนึ่งที่เนนการสรางความรูด ว ย ตนเองของผูเรียนโดยการบูรณาการสาระความรตู า ง ๆ ที่อยากรูใ หเ อื้อตอกัน หรือรวมกันสรา งเสรมิ ความคิด ความเขา ใจ ความตระหนกั ท้ังดานสาระและคุณคาตาง ๆ ใหก ับผูเรยี น โดยอาศัยทักษะทาง ปญญาหลาย ๆ ดา น ทง้ั ทเ่ี ปน ทกั ษะข้นึ พ้นื ฐานในการแสวงหาความรูแ ละทักษะขึ้นสูงท่ีจําเปน ในการคิด อยางสรา งสรรคและมีวจิ ารณญาณ สวุ ิทย – อรทยั มูลคํา (2545) การจัดการเรียนรแู บบโครงงาน เปน กระบวนการเรียนรูที่เปด โอกาสใหผูเรยี นไดศ ึกษาคน ควาและลงมือปฏิบัตกิ ิจกรรมตามความสนใจ ความถนัดและความสามารถ ของตนเอง ซง่ึ อาศัยกระบวนการทางวิทยาศาสตร หรอื กระบวนการอ่ืน ๆ ทเ่ี ปนระบบไปใชใ นการศึกษา หาคําตอบในเรื่องน้นั ๆ กรมการศกึ ษานอกโรงเรยี น (2546) การทาํ โครงงานของนักศึกษาการศึกษานอกโรงเรียนนน้ั มี วตั ถุประสงคเพ่อื ใหน ักศึกษาไดน าํ องคความรจู ากหมวดวิชาทลี่ งทะเบียนเรียนไปศึกษาเพิม่ เติมโดย ผลติ ผลงานท่ีเปนการบูรณาการองคความรตู ามหมวดวิชาท่ลี งทะเบยี นเรียนกับการนําไปประยุกตใ ชใน ชวี ติ ประจําวันจากการปฏบิ ัติจรงิ ในเรอ่ื งทีส่ อดคลองกบั ความสนใจความตองการของตนเองรวมท้งั สามารถสรา งและสรุปองคค วามรูที่ไดอยา งเปนระบบ สรุ พล เอ่ียมอทู รพั ย (2547) การสอนแบบโครงงานยงั เนน ใหผ ูเรยี นมีความคิดที่ตองการจะ คน หาคําตอบที่ตอ งการรหู รือคิดแกปญ หาตาง ๆ โดยการทํางานกลมุ อยา งมรี ะบบขน้ั ตอน สามารถคิด สรางสรรคในเร่ืองตาง ๆ ทเ่ี ปนประโยชนตอตนเองและสังคมได การสอนแบบโครงงานหรอื การใหผูเรียน จัดทําโครงงานตอ งการใหผเู รียนเกิดกระบวนการเรยี นรูดังน้ี 1. มีความคิดและแสดงออกอยางอิสระสามารถคิดเปน ทําเปน และแกปญหาได 2. มีความคิดสรา งสรรค จากการศกึ ษาคนควา การคิดวิเคราะห คิดสงั เคราะห การวนิ จิ ฉยั การสรุปผลประเมนิ คา คิดแยกแยะ 3. มีความคิดในการเสาะแสวงหาความรหู รือแหลง การเรียนรูตาง ๆ ไดตามความสนใจและ ความชอบของตนเอง

83 4. รูจักการทํางานเปน ทีม เปนกลมุ ใหความสนใจตอเพ่อื นรวมงาน เรยี นรูการอยูร วมกัน อยางเปน ประชาธิปไตย รูจ ักการชวยเหลือซง่ึ กันและกนั และการใหอภยั ตอ กัน 5. การฝกปฏบิ ัตงิ านและการเรียนรจู ากการปฏิบัตงิ านจริงท่เี ห็นในชวี ติ ประจาํ วัน และ สามารถนาํ ความรูและประสบการณท ่ีไดจากการฝกปฏิบัตไิ ปประยกุ ตใชใ นชีวิตประจําวันได 6. ฝกการควบคุมอารมณแ ละจิตใจของตนเอง เพ่ือการอยูรวมกันในสังคมไดอยางมี ความสขุ สุวิทย – อรทยั มูลคํา (2544) โครงงานเปนกระบวนการที่ตรงกับหลักการเรียนรูอยา งมี ประสิทธภิ าพทว่ี า “การเรยี นรจู ะมีประสิทธิภาพยงิ่ ขึน้ เมื่อผเู รยี น” - รวู าตองทําอะไร - เขาใจวา ทาํ ไมตองกระทาํ สง่ิ นั้น - รูวา เม่ือไรจะถูกประเมนิ และดวยวิธีใด - ไดม โี อกาสเขาถงึ สือ่ ทสี่ ามารถเขา ใจได - มโี อกาสในการพฒั นาทักษะ - ไดร ับการสนับสนุนที่เหมาะสมจากครู เพอ่ื น และผูเ กี่ยวขอ ง - ไดทํางานตามจังหวะเวลาทีเ่ หมาะสมกับตนเอง - สนใจในสง่ิ ท่ีกําลงั ทํา - ไดท ํากิจกรรมอยา งหลากหลาย - ไดม โี อกาสทบทวนความกาวหนา ของตนเอง - มคี วามเปนเจา ของสง่ิ ที่กาํ ลงั ทาํ ขอ 8 การพฒั นาตนเอง จากการมสี ว นรว มในการทํางาน / กจิ กรรม ดงั น้ี การทํางานเปน กลุมเปนทมี ทําใหผ ูเรยี นไดมีการแลกเปลย่ี นเรยี นรซู ่ึงกนั และกนั ไดฝกการ ประเมินตนเอง รจู กั ตนเอง เหน็ คุณคา ของตนเองและยอมรบั ผอู ่นื เกิดการเขาใจอารมณ ความรูส ึกนึก คิดของผูอ่นื และการควบคุมตนเอง เปน การชวยพฒั นาความเฉลยี วฉลาดทางอารมณ หรอื ระดับ สติปญญาทางอารมณ (Emotional Quotient) หรอื ความสามารถในการตระหนกั ถึงความรูสึกของตนเอง (การมสี ติ) และผูอ่ืน พรอมทง้ั สามารถบริหารหรือจดั การอารมณของตนได เชน การฝกควบคมุ อารมณ ของตนเอง ทําใหเปนคนมวี ินัยในตนเองและตรงตอเวลาและสามารถสรา งสมั พนั ธภาพ (การมีมนษุ ย สมั พนั ธ) กบั ผูอ่นื ไดเปน อยา งดี รูจักกระตุนและจูงใจตนเอง ทําใหเ กิดความพยายาม มุมานะ ในการ ทาํ งานจนประสบความสําเร็จในชีวิต นอกจากนี้ยงั เปนการพฒั นาระดับสติปญญาทางศลี ธรรมหรอื ระดับ ความไมเห็นแกตัว (Moral Quotient) ใหกบั ผเู รียนโดยไมร ูตวั อีกดวย (ลดั ดา ภเู กยี รติ. 2544 : 28-29)

84 แนวเฉลยกจิ กรรมบทท่ี 6 ขอ 1 ผูนําชมุ ชน หมายถงึ บุคคลทม่ี ีความสามารถในการชักจงู ใหคนอ่ืนทํางานในสวนตา ง ๆ ที่ตองการ ใหบรรลุเปาหมายและวตั ถุประสงคที่ตั้งไว ซ่ึงผูน าํ ชุมชนอาจเปนบคุ คลท่มี าจากการเลือกต้ัง หรือแตงต้งั หรือการยกยอ งข้นึ มาของสมาชิก เพอ่ื ใหทําหนา ทเี่ ปน ผูชี้แนะและชว ยเหลอื ใหการจัดทาํ และขบั เคลอ่ื น แผนพัฒนา ชมุ ชน ประสบความสําเร็จ หนา ที่ผนู าํ ชุมชน มีดังนี้ 1. สรา งความสามัคคีใหเ กิดข้ึนในชุมชน 2. กระตนุ ใหส มาชิกทาํ สง่ิ ที่เปน ประโยชนตอชมุ ชน 3. พัฒนาสมาชิกใหเ กิดภาวะผูนาํ 4. รวมกับสมาชิกกาํ หนดเปาหมายของชุมชน 5. บริหารงาน ประสานงานในชุมชน 6. ใหคาํ แนะนาํ ช้แี นวทางใหกับชมุ ชน 7. บํารุงขวัญสมาชิกในชมุ ชน 8. เปนตัวแทนชมุ ชนในการตดิ ตอ ประสานงานกบั หนวยงานอน่ื ๆ 9. รบั ผิดชอบตอ ผลการกระทําของชมุ ชน ขอ 2 การเปน สมาชิกท่ีดหี รือผตู ามที่ดี ควรมลี กั ษณะดังน้ี เปนผูมีความสามารถในการบริหาร จดั การตนเองไดด ี มคี วามผูกพันตอ ชุมชนตอวตั ถปุ ระสงคข องงาน ทาํ งานเตม็ ศักยภาพ และสุด ความสามารถ และมคี วามกลา หาญ ซอ่ื สัตย และนาเชื่อถอื ขอมูล กชช.

85 บรรณานกุ รม ภาษาไทย กรมการศกึ ษานอกโรงเรยี น. ความหมายของคาํ เกย่ี วกบั แผนงาน โครงการ. กรงุ เทพฯ: ศนู ยเ ทคโนโลยีทางการศึกษา, 2545. กรมการศกึ ษานอกโรงเรยี น. การวเิ คราะหน โยบายกรมการศกึ ษานอกโรงเรยี น ประจาํ ป งบประมาณ 2540-2545. กรงุ เทพฯ : รังสกี ารพิมพ, 2546. กรมการศกึ ษานอกโรงเรยี น. เอกสารการอบรมการวางแผนการศกึ ษานอกโรงเรยี น. กรงุ เทพฯ : ชุมนุมสหกรณการเกษตรแหง ประเทศไทย, 2540. กรรณิกา ทติ าราม. การเก็บรวบรวมขอมูล. เขา ถงึ ไดจาก http://guru.sanook.com/search/ knowledge_search.php ( 22/7/2552) 3กระบวนการจดั ทําแผนชุมชน. เขาถงึ ไดจาก 3http://www.iad.dopa.go.th.subject/cplan/ process-cplan.ppt (25/2/2554) กระบวนการวางแผน เขา ถึงไดจ าก http://www.pitajarn.lpru.ac.th/-chitlada/WEB page/om/3pdf. (8/8/2552) กลั ยา วานชิ ยบญั ชา. สถติ ิสําหรับงานวจิ ยั . พิมพค ร้งั ท่ี 2. กรงุ เทพฯ : จุฬาลงกรณ มหาวทิ ยาลัย, 2549. การประเมินประสิทธิภาพของภาวะผูนํา. เขาถึงไดจ าก http://www.nrru.ac.th/article/ leadership/page1.5.html (16/8/2009) การพฒั นาสังคม. เขาถงึ ไดจาก http:// www.phetchaburi.m-society.go.th/p.htm.(5/9/2552) การพฒั นาสังคมโดยการมีสว นรว ม. เขาถงึ ไดจ าก http://dnfe.5.nfe.go.th/lip/soc2/8031- 2_4.htm. (25/8/2552.) การมีสว นรวม. เขาถงึ ไดจ าก http://www.thaipoliticsgovernment.org/wiki (25/8/2552) การมีสวนรวมของประชาชนในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติจังหวัดภูเก็ต. เขาถงึ ไดจ าก http://www.oknation.net/blog/singh/2009/08/18/entry. (8/8/2552) การวางแผน. เขาถึงไดจ าก http://www.cado.mnre.go.th. (8/08/2552) การเสริมสรางภาวะผูนําชุมชน. เขา ถงึ ไดจ าก http://www.uinthai.com/index. php?lay= show&ac=article&Id=538667754&Ntype=119 (14/8/2009) เกรียงศกั ด์ิ เขียวย่ิง. การบริหารทรัพยากรมนษุ ยแ ละบุคคล. ขอนแกน : ภาควชิ าสงั คมศาสตร คณะมนษุ ยศาสตรแ ละสงั คมศาสตร มหาวิทยาลยั ขอนแกน , 2539.

86 ขอมูลดา นภมู ิศาสตรและการปกครอง. เขาถงึ ไดจาก http://www.spb3.obec.go.th_ geo.htm (18/8/2552) 3ข้ันตอนการดําเนินการจัดทําแผนหมูบาน/ชุมชน (เครือ่ งมอื การเรียนรขู องชมุ ชนทอ งถิน่ ). 3 เขา ถึงไดจาก http://www.pattanalocal.com/n/52/13.pdf (18/ 3/2554) คณะกรรมการสง เสรมิ สวสั ดิการสงั คมแหง ชาติ. แผนพัฒนาสวสั ดกิ ารสังคมและสังคม สงเคราะหแ หง ชาติ ฉบบั ที่ 4 (พ.ศ. 2545-2549) (อดั สาํ เนา) คนเก็บขยะ (การมีสวนรวมของประชาชน) เขา ถึงไดจาก http://gotoknow.org/blog/rubbish/73541. (28/8/2552) คลงั ปญ ญาไทย. การนําเสนอขอมูล. เขาถงึ ไดจ าก http://www.panyathai.or.th (1/7/2552) ความรพู นื้ ฐานการพัฒนาชมุ ชน. เขา ถงึ ไดจ าก http://royalprojects.kku.ac.th/king/files/ (29/8/2552) 3ความหมาย “แผนแมบทชุมชนพึง่ ตนเอง”. เขาถึงไดจาก http://www.thailocaladmin.90.th/ workle_book/eb3/5p8_1.pdf (5/4/2554) ความหมายของผนู าํ . เขา ถงึ ไดจาก http://www.nrru.ac.th/article/leadership/page1.1.html (16/8/2009) 3ความหมายของแผนชุมชน. เขา ถงึ ไดจ าก http://www.thailocaladmin.go.th (5/4/2554) 3ความหมายแผนงาน. เขา ถงึ ไดจ าก http://www.3.cdd.go.th/phichit/b03.html (5/4/2554) จติ ติ มงคลชัยอรัญญา. แนวทางการพฒั นาสงั คม(ทเ่ี หมาะสม) เขาถึงไดจาก http:// socadmin.tu.ac.th/kanabady (5/9/2552) จิตราภา กณุ ฑลบุตร. การจัดระบบขอมูลและสารสนเทศทางการศึกษา. เขา ถึงไดจ าก http://www.chittrapa.net/index.php?option=com_content&task=view&id=35& Itemid=mid=36 (10/7/2552) เฉลิมขวัญสตรี, โรงเรียน. หนา ท่ีพลเมอื งและวฒั นธรรมไทย. เขาถงึ ไดจ าก http://nucha.chs.ac.th/1.1htm (18/8/2552) ชาญชัย อาจินสมาจาร. พัฒนาตนเองสูความเปนผบู รหิ าร. กรุงเทพฯ : พมิ พท อง, ม.ป.ป. ชเู กียรติ ลีสุวรรณ. การวางแผนและบริหารโครงการ. จติ วัฒนาการพิมพ, 2545. ธงชยั สนั ติวงษ. หลกั การจัดการ. กรงุ เทพมหานคร : ไทยวัฒนาพานชิ , 2540. ธนู อนัญญพร. กระบวนการพัฒนาชุมชน., 2549 (อัดสาํ เนา) นเรศวร, มหาวิทยาลัย. ภาควชิ าทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ ม. โครงการเครือขา ยเฝา ระวงั ทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ลมุ นํา้ วังทอง. เขา ถงึ ไดจ าก http://conf.agi.nu.ac.th/nrs-new/wangtong/hist.php. (7/7/2552)

87 แนวคิดผนู าํ ยุคใหม. เขา ถึงไดจ าก http://sa.sa.ku.ac.th/index.php?option=com_content& task=view&id=75&Itemid=107 (16/8/2552) แนวคดิ และความเขาใจเก่ียวกบั การพฒั นาสังคมไทย. เขา ถึงไดจาก http://dnfe5.nfe.go.th/ ilp/so02/so20_5.html (1/7/2552) 3แนวทางการพัฒนาคุณภาพแผนชุมชน. เขาถึงไดจาก http://Kaewpany.rmutl.ac.th/2552/ attachments/1475_ dev-plan.pdf (25/2/2554) บทความอาหารสมองเรอ่ื ง : การสนทนากลมุ (Focus Group Discussion). เขา ถึงไดจ าก http://www.vijai.org/articles data/show topic.asp?Topicid=98(30/1/2549) บทบาท หนาท่ีและลักษณะผูนาํ ชุมชนทดี่ ี. เขา ถึงไดจ าก http://www.uinthai.com/index. php?lay=show&ac=article&Id=538667753&Ntype=119 (14/8/2009) ปราชญา กลา ผจัญ และพอตา บุตรสุทธิวงศ. การบริหารทรพั ยากรมนษุ ย. กรุงเทพฯ : ธนะการพมิ พ, 2550. ปราณี รามสตู ร และจํารสั ดวงสวุ รรณ. พฤตกิ รรมมนุษยก บั การพฒั นาตน. พิมพค รงั้ ท่ี 3 กรุงเทพมหานคร :ธนะการพิมพ, 2545. ปองทิพย เทพอารีย. การศึกษาการพฒั นาตนเองของครใู นโรงเรยี นอนบุ าลเอกชน กรงุ เทพ มหานคร. สารนิพนธ กรงุ เทพฯ: บณั ฑิตวทิ ยาลัยมหาวิทยาลยั ศรนี ครินทรวิโรฒ, 2551. แผนการทาํ งานและการมีสว นรว มโดยการแกป ญ หาเอดสใ นชมุ ชน เขา ถึงไดจ าก http://www.phayaocitil.net/joomla/index.php?. (26/8/2552) 3แผนชุมชนประจําป พ.ศ. 2553. เขา ถงึ ไดจ าก http://payakhan.go.th/document/ 1298599706.doc (8/4/2554) พรชัย ธรณธรรม. สารา นุกรมไทยฉบับเยาวชน. เขาถงึ ไดจ าก http://www.guru.sanook. com/search/knowledge_search.php?q...1 (15/7/2552) พัฒน บุณยรัตพันธุ. ปรัชญาพัฒนาชุมชน. เขาถงึ ไดจากhttp://royalprojects.kku.ac.th/king/ files/(29/8/2552) 3พัฒนาชมุ ชนจงั หวดั มหาสารคาม, สาํ นกั งาน. เอกสารประกอบการประชุม การประชุมเชิง 3ปฏบิ ัตกิ ารภาคี พเ่ี ลยี้ งระดบั ตําบลและแกนนําระดับตาํ บล เพอ่ื เพิม่ 3ประสิทธิภาพแผนชุมชน. มหาสารคาม : สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด มหาสารคาม, 2550. (อดั สาํ เนา) ไพโรจน ทิพมาตร. หลกั การจัดการ. นนทบุรี : ไทยรม เกลา , 2548. ไพโรจน ชลารักษ. ทักษะการจัดการความรู. เขาถงึ ไดจาก http://lib.kru.ac.th/eBook/4000111/ doc1-2. html (10/7/2552)

88 ไพศาล ไกรสทิ ธ์.ิ เอกสารคําสอนรายวชิ าการพฒั นาตน. ราชบรุ ี : คณะครุศาสตร สถาบนั ราชภฏั หมบู า นจอมบึง, 2541. มลู นธิ ิเครือขายครอบครัว. ตัวตนของหนู...ตอ งชวยสงเสรมิ . เขาถงึ ไดจ าก http://www. familynetwork.or.th/node/15673 (15/7/2552) ยนื ภวู รรณ. การนําเสนอขอมลู . เขา ถงึ ไดจ าก http://www.school.net.th/library/snet2/ knowledge_math/pre_dat.htm (22 /7/2552) ยวุ ัฒน วฒุ เิ มธี. ปรัชญาของการพัฒนาชุมชน. เขาถงึ ไดจ าก http://royalprojects.kku.ac. th/king/files/(29/8/2552) ราชบณั ฑิตยสถาน. พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525. พมิ พค รั้งที่ 6. กรุงเทพฯ : อักษรเจรญิ ทศั น, 2539. ราชภฏั เทพสตรี, มหาวทิ ยาลยั . การรูสารสนเทศ. เขาถึงไดจาก http://human.tru.ac.th/elearning/tec_ban/tinfo01/info06.html ราชภัฏนครธรรมราช, มหาวิทยาลยั . เทคโนโลยกี ารศกึ ษา. เขา ถงึ ไดจ าก http://www.nrru.ac.th/preeteam/rungrot/page13004asp (1/7/2552) ลกั ษณะภาวะผนู าํ . เขา ถงึ ไดจ าก http://www.nrru.ac.th/article/leadership/page1.4.html (16/8/2009) วรชั ยา ศิริวัฒน. ลกั ษณะผูตามทีม่ ีประสิทธิผลกับแนวทางการพัฒนาผตู ามในยุคปฏิรปู ระบบ ราชการ. วารสารพัฒนาชุมชน. (กมุ ภาพันธ 2547) : 27-34. วราภรณ นักพณิ พาทย. ความคิดเห็นของขาราชการมหาวิทยาลยั ศรนี ครินทรวิโรฒที่มีตอ การพฒั นาบคุ ลากรของมหาวทิ ยาลยั ศรีนครินทรวโิ รฒ. ปริญญานิพนธ กศม., 2545. (อดั สําเนา) วิเลขา ลสี ุวรรณ. ศนู ยก ารเรยี นชมุ ชน : ชุมชนเขม แข็ง สสู งั คมแหง การเรียนร.ู กรงุ เทพฯ : บรษิ ทั สวุ ิตา เอ็นเตอรไ พรส จาํ กัด, 2550. ศศธิ ร พรมสงฆ. Web site เพอื่ การเรยี นการสอนรายวิชาสถิติวเิ คราะห. เขาถึงไดจ าก http://student.nu.ac.th/429/12.htm (10/7/2552) ศิรพิ งษ ศรีชัยรมยรตั น. ผนู ําทด่ี ีควรมคี ุณสมบตั ิอยา งไร. เขาถงึ ไดจ าก http://www.sombatlegal. com/index.php?lay=show&ac=article&Id=421796 (25/8/2552) ศูนยก ารศึกษานอกโรงเรียนภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ. คูมือการอบรมกระบวนการวางแผน แบบมสี ว นรวม. อุดรธานี : ศิรธิ รรมออฟเซท็ , 2542. ศูนยก ารศึกษานอกโรงเรยี นภาคใต. รายงานการวจิ ยั ปฏิบตั กิ ารแบบมสี ว นรว มในการพฒั นา กระบวนการจัดทําแผนชุมชนตามโครงการบูรณาการแผนชุมชนเพื่อความ

89 เขมแข็ง ของชุมชนและเอาชนะความยากจนในภาคใต. สงขลา, 2547. (อดั สําเนา) สถาบนั การศึกษาและพัฒนาตอเน่ืองสิรนิ ธร. เอกสารประกอบการฝกอบรมกลมุ ขาราชการ ครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา. นครราชสีมา : มิตรภาพการพิมพ, 2551. สนธยา พลศรี. ทฤษฎีและหลักการพัฒนาชุมชน. พมิ พครั้งที่ 4 กรงุ เทพฯ : โอเดยี นสโตร, 2545. สนธยา พลศรี. ทฤษฎีและหลักการพัฒนาชุมชน. พมิ พค ร้ังที่ 4. กรงุ เทพฯ :โอเดยี นสโตร, 2545. สมจิตร เกิดปรางค และ นุตประวีณ เลิศกาญจนวัต. การสัมมนา. กรงุ เทพฯ : สาํ นักพิมพ สง เสรมิ วชิ าการ, 2545. สัญญา สัญญาวิวัฒน. การพัฒนาชุมชน. พมิ พครงั้ ท่ี 2. กรงุ เทพฯ : โอเดยี นสโตร, 2525. สัญญา สัญญาวิวัฒน. การพัฒนาชมุ ชนหลกั การและวธิ ีปฏบิ ัต.ิ กรุงเทพฯ : แพรพิทยา, 2515. สัญญา สัญญาวิวัฒน. ทฤษฏีและกลยทุ ธการพัฒนาสังคม. พมิ พค ร้ังท่ี 2. กรุงเทพฯ : สํานักพมิ พจุฬาลงกรณม หาวทิ ยาลัย, 2540. สาํ นกั งานกองทนุ สนับสนุนการวจิ ัย (สกว.) สาํ นักงานภาค. การสนทนากลมุ (Focus Group Discussion). เขาถึงไดจาก http://www.vijai.org/Tool vijai/12/02.asp (30/1/2549) สํานกั งานสถิตแิ หงชาติ. การเก็บรวบรวมขอมูล. เขาถงึ ไดจ ากhttp://service.nso.go.th/ nso/knowledge/estat/esta1_6.html (22 /7/2552) สาํ นกั บริหารงานการศกึ ษานอกโรงเรียน. คําชี้แจงการจัดทําแผนปฏิบัติการประจําป งบประมาณ 2551. (อดั สําเนา) สุโขทัยธรรมาธิราช, มหาวทิ ยาลยั . บณั ฑิตศึกษา สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร. ประมวลสาระชุดวิชา บรบิ ททางการบรหิ ารการศกึ ษา หนว ยท่ี 11-15 กรงุ เทพฯ : มหาวทิ ยาลยั , 2546. สพุ ล พลธรี ะ. การประชมุ . สารเทคนิคการแพทยจ ุฬาฯ 4, 2533. สุวมิ ล ติรกานนั ท. การประเมนิ โครงการ : แนวทางสูการปฏิบตั ิ. กรุงเทพฯ : มหาวทิ ยาลยั รามคําแหง, 2544. หนว ยท่ี 5 การเขยี นรายงาน เขา ถงึ ไดจากhttp://www.tice.ac.th/Online/Online2- 2549/bussiness/.../n5.htm (17/7/2552) อรพนิ ท สพโชคชัย การมีสวนรวมของประชาชนในการพัฒนาระบบราชการ. เขา ถึงไดจาก http://www.plan.ru.ac.th/newweb/opdc/data/participatory.pdf. (28/8/2552)

90 ภาษาอังกฤษ Administrator. การสนทนากลมุ แบบเรียน -learning. ภาควิชาพฒั นาชมุ ชน คณะสงั คม สงเคราะหศาสตร มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร : กรงุ เทพฯ, 2547. IT Destination Tech Archive [00005]. ความหมายของขอมลู . เขาถึงไดจ าก http://www.itdestination.com/resources/tech/showtech.php?00005 (1/7/2552) Judith Sharken Simon. How to Conduct a Focus Group. เขา ถงึ ไดจ าก http://www.tgci.com/magazine/99fall/focus1.asp (30/1/2549) Noina koku GEO. ความหมายของขอมูลสารสนเทศ สารสนเทศภมู ศิ าสตร ฐานขอ มลู . เขา ถงึ ไดจ าก http://www.noinazung-06blogspot.com 2009/06geographic- information-system-gis.html (10/7/2552) UNESCO / APPEAL. Monitoring and Evaluation of literacy and continuing education programmes. Bangkok, 1999. UNESCO / APPEAL. HandBook : Non-formal Adult Education Facilitator, Module 4 Participatory Learning. Bangkok, 2001.

ทป่ี รึกษา คณะผูจ ดั ทาํ 1. นายประเสรฐิ บญุ เรอื ง เลขาธิการ กศน. 2. ดร.ชัยยศ อิม่ สุวรรณ รองเลขาธิการ กศน. รองเลขาธิการ กศน. 3. นายวชั รนิ ทร จําป ทีป่ รกึ ษาดานการพัฒนาหลักสตู ร กศน. ผูอาํ นวยการกลมุ พัฒนาการศึกษานอกโรงเรยี น 4. ดร.ทองอยู แกว ไทรฮะ กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน 5. นางรักขณา ตัณฑวุฑโฒ ศูนยเทคโนโลยีทางการศึกษา ผูเขียนและเรียบเรียง 1. นางกนกพรรณ สุวรรณพทิ กั ษ กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน ศูนยเทคโนโลยีทางการศึกษา 2. นางชนิดา ดยี ง่ิ กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน ผูบรรณาธิการ และพัฒนาปรับปรงุ ขาราชการบํานาญ 1. นางกนกพรรณ สวุ รรณพิทักษ ขาราชการบํานาญ ขาราชการบํานาญ 2. นางชนดิ า ดีย่ิง ขาราชการบํานาญ ขาราชการบํานาญ 3. นางสาววรรณพร ปทมานนท ขาราชการบํานาญ 4. นายววิ ฒั นไ ชย จนั ทนส คุ นธ กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน 5. นางสาวสุรีพร เจริญนชิ กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน 6. นางพิชญาภา ปต วิ รา กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน 8. นางธญั ญวดี เหลาพาณชิ ย กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน 9. นางเอ้ือจิตร สมจติ ตช อบ กลุม พัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน 10. นางสาวชนิตา จติ ตธ รรม คณะทํางาน 1. นายสุรพงษ มนั่ มะโน 2. นายศุภโชค ศรีรัตนศิลป 3. นางสาววรรณพร ปทมานนท 4. นางสาวศริญญา กุลประดิษฐ 5. นางสาวเพชรินทร เหลอื งจิตวฒั นา ผพู ิมพตนฉบับ ปทมานนท นางสาววรรณพร ศรรี ัตนศิลป ผูอ อกแบบปก นายศภุ โชค


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook