Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สอฟ-คู่มือเติมน้ำใต้ดินระดับตื้น-25620904(หน้าคู่)

สอฟ-คู่มือเติมน้ำใต้ดินระดับตื้น-25620904(หน้าคู่)

Published by ake.katekaew, 2021-07-30 03:27:39

Description: สอฟ-คู่มือเติมน้ำใต้ดินระดับตื้น-25620904(หน้าคู่)

Keywords: ธนาคารน้ำ

Search

Read the Text Version

เติมน้าํ ใตดิน คมู อื ระดบั ต้นื กรมทรัพยากรนา้ํ บาดาล กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ ม สงิ หาคม 2562

กรมทรัพยากรน้ําบาดาล กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม เปนหนวยงานที่มีภารกิจหลักในการบริหารจัดการและการอนุรักษและฟนฟูทรัพยากร นํ้าบาดาล ซ่ึงจากสภาพปญหาในปจจุบันมีการพัฒนานําน้ําบาดาลขึ้นมาเพื่อใชใน การเกษตรมากเกินสมดุล กอใหเกิดปญหาระดับนํ้าบาดาลลดลงอยางตอเนื่อง ประกอบ กับในชวงฤดูนํ้าหลาก นํ้าฝนไหลเติมลงสูชั้นใตดินไดนอยทําใหการคืนตัวของระดับ นํ้าบาดาลมีอัตราท่ีต่ํามาก เนื่องจากดินช้ันบนเปนดินเหนียว ดังนั้นการกักเก็บนํ้าฝนที่ ไหลหลากและเหลือลน โดยการผันนํ้าลงไปกักเก็บไวใตดินและสามารถเจาะบอน้ําบาดาล สูบนํ้ากลับมาใชในชวงฤดูแลง หรือยามขาดแคลนนํ้า จึงเปนการบรรเทาและแกปญหา การลดลงของระดบั นาํ้ บาดาลและปญ หาภยั แลง ไดใ นระยะยาว คูมือการเติมนํ้าใตดินระดับตื้นฉบับน้ี จัดทําขึ้นเพื่อใชเปนแนวทางในการกอสรา ง ระบบเติมนํ้าใตดินระดับตื้น โดยจะอธิบายถึงหลักการ ขั้นตอนการดําเนินงานตั้งแตการ คัดเลือกพ้ืนท่ีที่เหมาะสม แบบมาตรฐานและการกอสรางระบบเติมน้ําใตดินระดับตื้น การตดิ ตามและประเมนิ ผล ซ่งึ จะเปนประโยชนตอหนวยงานที่เก่ยี วของ องคกรปกครอง สวนทอ งถน่ิ และประชาชนทว่ั ไป อีกทง้ั ยงั เปนการเผยแพรอ งคค วามรูใ นการอนรุ ักษแ ละ จดั การทรพั ยากรนาํ้ บาดาลระดบั ตื้น ใหม ีใชอ ยา งยัง่ ยืนสืบไป สํานกั อนรุ ักษแ ละฟน ฟทู รัพยากรนํ้าบาดาล กรมทรัพยากรนา้ํ บาดาล สิงหาคม 2562 คูม ือเตมิ น้าํ ใตดนิ ระดบั ตน้ื

สารบญั หนา คาํ นาํ 1 1. บทนํา 2 2. การเตมิ น้ําใตด นิ 5 3. ขอควรระวงั 6 4. ขน้ั ตอนการเติมนํา้ ใตด นิ ระดบั ตืน้ 8 5. แบบระบบการเติมนำ้ และการกอ สรา งระบบเตมิ นำ้ ใตดินระดบั ต้ืน 17 6. การตดิ ตามและประเมนิ ผล 18 7. การบาํ รุงรกั ษา เอกสารอางอิง คูมือเติมนํา้ ใตด ินระดบั ตนื้

1. บทนํา การเติมน้ําใตดินในประเทศไทยไดเริ่มดําเนินการทดลองทํามาแลวมากกวา 30 ป โดยกรมทรัพยากรธรณี และกรมโยธาธิการ ซึ่งตอมาภารกิจดานการเติมน้ําใตดิน ไดถูกโอนมาใหกับกรมทรัพยากรนํ้าบาดาล โดยมีโครงการท่ีดําเนินการมาแลวกวา 10 โครงการทั่วประเทศท้ังในระดับต้ืนและระดับลึก อีกทั้งแนวคิดการเติมน้ําใตดินนี้ ไดเ รมิ่ ขยายไปสูภาคประชาสังคม เอกชนและองคกรปกครองสวนทอ งถ่ิน ซ่งึ กรมทรพั ยากร น้ําบาดาลไดพิจารณาแลววาควรเนนวิธีการเติมนํ้าใตดินระดับต้ืนเปนหลัก เน่ืองจาก มีความเหมาะสมกับประเทศไทยสําหรับสภาวการณปจจุบัน และเพื่อเปนโครงการ นํารอ งและเปนตนแบบในการกอสรา งและเผยแพรใ หกับหนว ยงานตา ง ๆ และประชาชน ที่สนใจสามารถนําไปประยุกตดําเนินการในพ้ืนที่ของตนเองได แตอยางไรก็ตามรูปแบบ และพ้ืนท่ีการเติมนํ้าที่เหมาะสมจะตองพิจารณาจากสภาพอุทกธรณีวิทยาของพ้ืนท่ี ดําเนินการ ระดับน้ําบาดาล อัตราการเติมน้ํา ความลึกและความหนาของช้ันนํ้าบาดาล รวมไปถงึ แหลง น้ําดบิ ทจ่ี ะนํามาเตมิ ดวย ในการนี้ กรมทรัพยากรนํ้าบาดาลจึงไดจัดทําคูมือเติมนํ้าใตดินระดับตื้น โดยมี วตั ถปุ ระสงคเ พือ่ เปนแนวทางในการปฏิบตั สิ าํ หรบั หนว ยงานตาง ๆ ท่เี กยี่ วขอ ง ตลอดจน เจาหนาท่ีของกรมทรัพยากรน้ําบาดาล และผูท่ีสนใจท่ัวไป นําไปใชในการดําเนินการ เติมน้ําใตดินระดับตื้นใหเปนมาตรฐานเดียวกัน ซ่ึงการเติมน้ําใตดินระดับต้ืนอยางถูกวิธี จะเปนการเพ่มิ แหลงกกั เกบ็ นาํ้ ตน ทุนสาํ หรับใชเ พอ่ื การอปุ โภคบรโิ ภค และการเกษตรให เปนไปอยางมีประสิทธิภาพ และปองกันการปนเปอนลงสูช้ันนํ้าใตดิน อีกทั้งยังเปน การแกไ ขปญการลดลงของระดับน้ําใตดนิ ในพ้นื ทว่ี ิกฤตอยา งยั่งยนื ตอ ไป คูมอื เติมนํา้ ใตด นิ ระดับตน้ื

2. การเตมิ นํ้าใตดิน การเตมิ น้ําใตดนิ คือ การเพ่ิมเตมิ ปริมาณนํ้า โดยการนํานา้ํ ท่เี หลือใชหรอื ชวงท่ีนาํ้ ทวมหลากเติมลงสูใตดินในพ้ืนท่ีที่มีความเหมาะสม หรือในพ้ืนที่ท่ีตองการ เปนการเก็บ สะสมนาํ้ ไวใช โดยฝากไวใ นใตด ิน เพ่อื ใหเ กดิ ความชุน ชนื้ ในดิน และสามารถนาํ กลับมาใช ในชวงเวลาทข่ี าดแคลน และเพื่อการอนุรักษส งิ่ แวดลอม และหากมกี ารเติมน้ําในปริมาณ มากจะเปนการแกไ ขปญหาการลดลงของระดบั นํา้ บาดาลจากการใชท่เี กนิ สมดุล 2.1 วัตถุประสงคของการเตมิ นํา้ ใตด ิน โดยท่ัวไปการเติมนํ้าใตดิน มีวัตถุประสงคหลักที่แตกตางกันไป ข้ึนอยูกับสภาพ พนื้ ที่ ดงั นี้ 1) ระดบั บา นเรอื นหรอื ชมุ ชน 1.1) แกไ ขปญหานํ้าทว มขงั 1.2) ตดั ยอดน้ําไมใ หไ หลลงสูน าํ้ ทา 1.3) เก็บนา้ํ ใหด ินมคี วามชุมชน้ื 1.4) เพิ่มเตมิ ปริมาณนา้ํ ใตด นิ 1.5) บรรเทาปญหาการขาดแคลนนาํ้ โดยการกักเกบ็ น้ําหลากในฤดูฝนใวใชในฤดู แลง 2) ระดบั พ้นื ท่ลี ุมนํา้ 2.1) ตดั ยอดน้าํ 2.2) เพิ่มเติมปริมาณนํ้า 2.3) บรรเทาปญ หาอุทกภยั โดยการลดปริมาณนํา้ หลากทจี่ ะระบายลงสูแมน้ํา สายหลกั 2.4) ลดการระเหยของนา้ํ ทกี่ ักเก็บไวใชใ นฤดตู าง ๆ โดยรวบรวมไปเก็บไวใตดนิ 2.5) รกั ษาสมดลุ ของการไหลของลํานาํ้ ในระบบนิเวศวิทยา 2.6) ฟน ฟแู ละยกระดบั นาํ้ ใตด ินใหสงู ขึ้น 2.7) ปอ งกันการรกุ ลํา้ ของน้ําเคม็ เขตชายฝงทะเลในพืน้ ทท่ี มี่ ปี ญหาน้าํ เคม็ 2.8) ปรบั ปรุงคณุ ภาพนา้ํ ในบางพนื้ ท่ี คูมอื เติมนาํ้ ใตด นิ ระดบั ตนื้

2.2 ประโยชนข องการเตมิ น้ํา 1) มีแหลงน้ําตน ทุนสาํ หรับใชเพื่อการอปุ โภคบริโภคและเกษตรกรรม 2) ลดความเสียหายจากภัยธรรมชาติ เชน อุทกภัย และภัยแลง โดยการกักเก็บน้ํา ในฤดูน้าํ หลาก และบรู ณาการการใชนํา้ บาดาลรว มกับน้ําผิวดนิ ในฤดแู ลง 3) ลดคาใชจายในการทรุดบอ หรือการติดต้ังปมแบบจุมเพื่อสูบนํ้าในระดับลึกข้ึน ซง่ึ เสยี คาใชจา ยแพงมา 4) ลดผลกระทบตอ ส่งิ แวดลอมและระบบนเิ วศวิทยา 2.3 ปจจยั ในการคัดเลอื กพืน้ ทีเ่ ตมิ นํา้ 1) พ้นื ที่ท่มี กี ารใชน ํา้ ใตด นิ ระดบั ตน้ื เปนจํานวนมาก 2) ระดับน้าํ ใตด ินมกี ารลดลงมาก 3) ขาดแคลนนาํ้ ในชว งฤดูแลง และมนี ้าํ หลากในชวงฤดูฝน 4) ความลกึ ของช้ันนา้ํ ใตด ินตองไมล ึกเกนิ 15 เมตร และมคี ณุ สมบตั ิการซมึ ผานท่ีดี หลกี เลี่ยงพ้ืนทเ่ี ปนดินเหนยี ว 5) มีแหลงนา้ํ ดิบทส่ี ามารถใชเ ติมลงสชู น้ั น้าํ ใตดนิ 6) พ้ืนท่ีมีความเหมาะสม ไดรับความรวมมือจากประชาชน และหนวยงานใน ทอ งถนิ่ ในการจัดทํา และการบาํ รงุ รกั ษาในระยะยาว 2.4 แหลงน้ําสําหรับเติมลงสูชั้นนาํ้ บาดาล 1) น้ําฝน ประกอบดวยนํ้าที่ตกลงพื้นโดยตรง นํ้าฝนที่ไหลผานผิวดินและนํ้าฝนท่ี ไหลลนจากหลงั คา 2) น้าํ จากแหลง นา้ํ ผวิ ดิน เชน แมน ้ํา ลําคลอง อางเก็บนํ้า คมู อื เติมนาํ้ ใตด นิ ระดบั ตน้ื

2.5 การลดการอุดตนั ในช้นั น้ําบาดาลโดยการกรองน้าํ กอ นเติมลงสชู นั้ นาํ้ บาดาล การจัดทําระบบกรองน้ํากอนเติมลงสูชั้นนํ้าบาดาลเปนขั้นตอนที่สําคัญในการเติม นํ้าลงสชู ้นั นํ้าบาดาล เพื่อชวยกรองตะกอนขนาดเลก็ กอ นเติมเขา สชู นั้ นํา้ บาดาล วัสดุทใ่ี ช ในการกรองนํ้าจะเนนใชวัสดุที่มาจากธรรมชาติ อาทิเชน กรวด ทราย และถาน ในการ การจัดทําระบบกรองนํ้า เพื่อใหเกิดความถูกตองตามหลักวิชาการ เปนการรักษา สิ่งแวดลอ มและระบบนเิ วศ ซ่งึ ในการจัดทาํ ระบบกรองนํา้ กอ นเตมิ หากใช กรวด ทราย ท่ี มีขนาดเล็กเกินไปจะทําใหเกิดการอุดตันไดงาย และกรวด ทราย ที่มีขนาดใหญเกินไป จะทําใหป ระสทิ ธิภาพการกรองลดลง คูมอื เตมิ นํา้ ใตดนิ ระดบั ตนื้

3. ขอ ควรระวงั การกอสรางบอเติมน้ําผานบอวงโดยใชคนขุด ตองคํานึงถึงความปลอดภัย เชน ในระหวางกอสรางตองระวังการขาดอากาศหายใจจนเสียชีวิตได และเมื่อดําเนินการ เสรจ็ แลว ตองมีฝาปด ปากบอ ปอ งกนั คนหรือสัตวพลัดตกและการลกั ลอบทิ้งขยะลงไปในบอ น้ําท่ีใชเติมควรเปนน้ําจากแหลงนํ้าธรรมชาติท่ีสะอาด ตองมั่นใจวานํ้าที่ใชเติมน้ัน ไมมีการปนเปอน เน่ืองจากหากชั้นนํ้าใตดินเกิดการปนเปอนแลว กระบวนการบําบัด ฟน ฟูจะทาํ ไดยาก ตอ งใชเ ทคโนโลยแี ละมีตนทนุ สงู วัสดุกรองนํ้าควรเปนวสั ดจุ ากธรรมชาตทิ ี่หาไดใ นทอ งถนิ่ เพอ่ื เปน การประหยัด ความลึกของระบบเติมน้ําตอ งไมเกนิ 15 เมตร หากเกิน 15 เมตร จะตอ งทาํ การขอ อนญุ าตและปฏิบัติตาม พระราชบัญญตั ิน้าํ บาดาล หลีกเลี่ยงพ้ืนที่เสี่ยงตอการปนเปอน เชน โรงงานอุตสาหกรรม แหลงฝงกลบขยะ สวม แหลงปศุสัตว สารเคมเี กษตร ตอ งไมน าํ ขยะมูลฝอยเตมิ ลงในหลุมเตมิ นาํ้ ตอ งปฏบิ ตั ติ ามกฎหมายและระเบยี บที่เกีย่ วขอ ง เชน 1) พระราชบญั ญตั ินํ้าบาดาล 2) พระราชบญั ญตั ิการขุดดนิ และถมดิน 3) กฎกระทรวงสาธารณสขุ วาดว ยการกาํ จดั ขยะมลู ฝอย คูม ือเติมนาํ้ ใตด นิ ระดับตน้ื

4. ขั้นตอนการเตมิ น้าํ ใตด นิ ระดับตน้ื 4.1 การศึกษารวบรวมขอมูลพื้นฐานของพื้นท่ี กอนดําเนินการเติมน้ําควรมีการศึกษาขอมูลตาง ๆ ในพ้ืนท่ีที่จะดําเนินการเติมนํ้า ควรมกี ารศึกษารวบรวมขอมูล ดังน้ี 1) ตรวจสอบสภาพความชนั ของพื้นทเ่ี พื่อดูทศิ ทางการไหลของแหลง นํา้ ทใ่ี ชเ ติม 2) ตรวจสอบสภาพดินบริเวณที่จะทําการเติมนํ้า โดยเลือกพ้ืนท่ีที่มีองคประกอบ หลกั เปนทรายหรือดนิ ปนทราย เพราะหากเปนดินเหนยี วประสิทธภิ าพการซึมจะตาํ่ 4.2 การคดั เลือกวิธเี ติมนํา้ ทีเ่ หมาะสม เลือกวิธีการเติมน้ําและนําแบบมาตรฐานการกอสรางระบบเติมน้ําใตดินไป ประยกุ ตใ ชใ หเ หมาะสมกบั พ้ืนที่ 4.3 การติดตามวัดระดบั น้ําและคุณภาพนา้ํ ใตด นิ หากมีการขยายผลเปนจํานวนมากในพื้นที่ใดพื้นท่ีหนึ่ง ควรจัดทําบอสังเกตการณ นาํ้ บาดาล (รูปท่ี 4-1) เพอ่ื ตดิ ตามวดั ระดบั นา้ํ และคุณภาพนา้ํ ในช้ันนา้ํ บาดาลที่มกี ารเตมิ นํ้า คมู อื เตมิ นาํ้ ใตดนิ ระดับตน้ื

รปู ที่ 4-1 แบบบอสังเกตการณน ํา้ บาดาล คูมือเตมิ นาํ้ ใตด นิ ระดบั ตน้ื

5. แบบระบบการเติมนํ้าและ การกอสรา งระบบติมนํ้าใตดนิ ระดบั ตื้น ปจจุบันในหลายพื้นที่ใหความสนใจในเร่ืองของการอนุรักษแหลงนํ้าใตดินกันเปน จํานวนมาก โดยเฉพาะการเติมน้ําลงสชู ้ันน้ําใตดิน อันเน่ืองมาจากหลายพื้นที่เกิดปญหา การขาดแคลนนํ้าในชวงฤดูแลง และปญหาการลดลงของระดับนํ้าใตดินในหลายพ้ืนท่ี สงผลกระทบตอประชาชนชนและเกษตรกรในหลายพื้นที่โดยตรง วิธีการอนุรักษและ ฟนฟูทรัพยากรนํ้าบาดาล อีกวิธีหนึ่ง คือ การเติมน้าํ ลงสชู ั้นนา้ํ ใตดิน ซ่ึงการเติมนาํ้ ใตดนิ มที ง้ั การเติมน้าํ ในชั้นน้ําใตด ินระดบั ลึก และชั้นน้าํ ใตด ินระดบั ต้นื มีตงั้ แตร ูปแบบการเติม น้ําทีเ่ รยี บงายไปจนถึงรูปแบบวิธีการทีซ่ ับซอน วิธีการเติมนํ้าท่ีเหมาะสําหรับประชาชนทั่วไป หรือหนวยงานสวนทองถ่ินสามารถ นําไปปรับใชและดําเนินการไดเองในพ้ืนท่ีของตน คือ วิธีการเติมน้ําในช้ันนํ้าใตดิน ระดับต้ืน เนื่องจากมีวิธีการกอสรางงาย ตนทุนต่ํา และไมซับซอน สวนการเติมน้ําใน ชั้นน้ําใตดินระดับลึก เน่ืองจากมีตนทุนสูง มีรูปแบบวิธีการท่ีซับซอน และตองอาศัยผูมี ความเชี่ยวชาญเฉพาะดานในการดําเนินงาน จึงไมแนะนําใหประชาชนท่ัวไปหรือ หนวยงานสวนทองถิ่นนําไปดําเนินการเอง ซ่ึงวิธีการเติมน้ําใตดินท่ีเหมาะสม จะขอกลา วถงึ วิธีการเติมนาํ้ 3 วธิ ี ดงั น้ี 5.1 ระบบเตมิ นาํ้ ฝนจากหลังคาลงใตดนิ เปนวิธีการรวบรวมน้าํ ฝนจากหลงั คาบานเรือน และอาคารทม่ี พี ้นื ทม่ี าก เชน วัด หรือ โรงเรียน โดยตอทอนําฝนท่ีรวบรวมจากหลังคาผานลงสูบอเติมนํ้า วิธีนี้ประชาชนทั่วไป สามารถทําไดงาย ทั้งนี้ น้ําฝนเปนน้ําท่ีสะอาดสามารถเติมผานบอนํ้าบาดาลได แตจ ะตอ งไมเกนิ 15 เมตร หากเกิน 15 เมตร จะตองปฏิบัติตามพระราชบัญญัติน้าํ บาดาล องคประกอบของระบบเติมนํ้าฝนผานหลังคาลงใตดิน ประกอบดวย บอเติมนํ้า และรางรินรวบรวมนํ้าฝนจากหลังคา (รูปท่ี 5-1) โดยรายละเอียดการกอสรางระบบ เตมิ น้าํ ใตด ินระดับต้นื ดว ยระบบนํา้ ฝนผา นบอ วงคอนกรีต มดี งั นี้ คมู ือเตมิ นํ้าใตด นิ ระดบั ตน้ื

รปู ที่ 5-1 แบบระบบเติมน้ําฝนจากหลงั คาลงบอ วงคอนกรีต คมู อื เติมน้ําใตดินระดับตน้ื

รปู ที่ 5-1 แบบระบบเตมิ นํา้ ฝนจากหลงั คาลงบอวงคอนกรตี (ตอ ) 5.1.1 การกอ สรางบอเตมิ นํ้า 1) จัดเตรียมมาตรฐานวงคอนกรีตขนาดเสนผานศูนยกลาง 0.8 - 1.2 เมตร ความสงู 0.5 เมตร ทเ่ี จาะรูโดยรอบวงคอนกรีต 2) ขุดบอวงขนาดเสนผานศูนยกลาง 0.8 - 1.2 เมตร ความลึกประมาณ 10 - 12 เมตร หรือจนถึงชั้นนํ้าใตดินระดับตื้น และลงวงคอนกรีตจนถึงความลึกท่ี กําหนด ซึ่งวิธีนี้สามารถเปลี่ยนรูปแบบบอเติมนํ้าเปนสระเติมน้ํา หรือรองน้ํา ขึ้นอยูกับ สภาพธรณีวิทยาและอุทกธรณีวิทยาของพ้ืนที่ดําเนินการ ท้ังนี้ ตองไมเกิน 15 เมตร หากเกนิ 15 เมตร จะตอ งขออนุญาตตาม พระราชบัญญัตินํา้ บาดาล 5.1.2 การกอสรางระบบรวบรวมนํา้ 1) ติดต้ังรางรินหรือทอรวบรวบน้ําฝนจากหลังคาบานเรือน อาคารตาง ๆ หรอื ใชร างรนิ เดิมท่มี สี ภาพใชง านใชไ ด 2) กอสรางระบบทอเช่ือมตอจากหลังคาสูบอเติมน้ําพรอมทั้งติดตั้งวาลว เปด-ปด คมู ือเติมน้ําใตด ินระดับตนื้

3) ติดต้ังมิเตอรว ัดปริมาณการเติมนํ้าบรเิ วณจดุ นาํ้ ไหลกอนเติมลงบอเตมิ น้ํา (หากตองการบนั ทึกคาปริมาณน้าํ ทีใ่ ชเติมลงสใู ตด ิน) 5.2 ระบบเติมน้ําผา นบอ วงคอนกรีต (ทีม่ ีระบบกรอง) เปนวิธีการรวบรวมน้ําฝนและนํ้าท่ีไหลหลาก ซึ่งมักมีความขุนใหไหลลงบอนํ้าตื้น โดยผานกรวดทรายกรองที่บรรจุในบอ วิธีน้ีเกษตรกรท่ีมีบอวงท่ีถูกทิ้งรางไมไดใชงาน แลว สามารถนาํ มาพัฒนาใหเปนเปน บอเตมิ นาํ้ ได องคประกอบของระบบเติมน้ําใตดินระดับต้ืนผานบอวงคอนกรีตประกอบดวย (1) บอเติมน้ํา (บอวงคอนกรีต) (2) ระบบกรองกรวดทรายระหวางบอวงนอกและบอวง ในดานบน และ (3) ทางระบายนาํ้ หรือทอ รวมนา้ํ เขา สบู อ เตมิ นํา้ (รูปท่ี 5-2) รปู ท่ี 5.2 แบบระบบเตมิ น้ําใตดนิ ระดับตืน้ ผานบอวงคอนกรตี คูมอื เตมิ นา้ํ ใตดนิ ระดบั ตนื้

5.2.1 ระบบรวบรวมน้ํา ระบบรวบรวมนํ้า มีวัตถุประสงคเพื่อรวบรวมนํ้าที่ไหลหลาก และทวมขัง หรือนาํ นํ้าทไ่ี หลลน จากแหลงนาํ้ ผวิ ดนิ เชน แมน าํ้ ลําคลอง อางเก็บนํา้ จะตองดาํ เนนิ การ ขุดรองหรือวางทอเพื่อรวมน้ําเขาสบู อ เติมนาํ้ และเพ่อื เปนการลดความขุน ของน้าํ จงึ ควร จัดทําบึงประดิษฐ หรือฝาย เพ่ือชะลอความเร็วของนํ้าทําใหน้ํามีเวลาตกตะกอนกอนที่ จะรวบรวมนา้ํ เขาสูบอเตมิ นํ้า เพื่อลดปญ หาการอดุ ตันของระบบกรอง ซ่งึ การดาํ เนนิ การ ขน้ึ อยกู ับความเหมาะสมของแตล ะสภาพพ้ืนท่ี 5.2.2 การกอ สรางบอเติมนํา้ 1) จัดเตรียมวงคอนกรีต ประกอบดวยวงนอกและวงใน ซึ่งมีขนาดเสน ผานศูนยกลาง 0.8 - 1.2 เมตร ความสูง 0.5 เมตร สําหรับบอเติมนํ้า และวงคอนกรีต ขนาดเสนผานศูนยกลาง 2.5 เมตร ความสูง 1 เมตร สําหรับจัดทําระบบกรองดานบน รอบ ๆ บอ เตมิ นํา้ ท้ังนอี้ าจปรับเปลยี่ นขนาดเสนผา ศูนยก ลางไดต ามความเหมาะสม 2) ขุดบอวงขนาดเสนผานศูนยกลาง 0.8 - 1.2 เมตร ความลึกประมาณ 12 - 15 เมตร หรือจนถึงชั้นนํ้าบาดาลระดับตื้น และลงวงคอนกรีตจนถึงความลึก ที่กําหนด ทั้งน้ี ตองไมเกิน 15 เมตร หากเกิน 15 เมตร จะตองขออนุญาตตาม พระราชบัญญัติน้าํ บาดาล 3) ขุดดินโดยรอบบอเติมนํ้า ขนาดเสนผานศูนยกลาง 2.5 เมตร ลึก 1.5 เมตร เพ่ือวางวงคอนกรีตรอบนอกครอบบอวงคอนกรีตขางใน ความสูง 2 เมตร พรอมวางทอ เซาะรอง พีวีซี ขนาด 150 มิลลิเมตร และเจาะทะลุบอเติมน้ํา ตง้ั ฉากกัน 4 ทศิ ทาง เพอื่ รวบรวมนํ้าเขาสูบอเติมนํ้า ทั้งนี้ควรฉาบปูนซีเมนตผิวเรียบบริเวณพ้ืนกอนเติมกรวดช้ัน แรก และเชอื่ มรอยตอระหวา งบอ วงคอนกรีตทอ่ี ยูในชว งระยะระบบกรองนาํ้ เพื่อปอ งกนั การร่วั ซึมของนา้ํ ในระบบกรองสูภายในบอ เตมิ น้ํา 5.2.3 ระบบกรองนํ้า วิธีการเติมนํ้าผานบอเติมนํ้า จะจัดทําระบบกรองโดยบรรจุกรวดขนาดตาง ๆ ระหวา งบอวงนอกและบอวงในดานบนรอบ ๆ บอ เติมน้ํา ดงั นี้ วัสดใุ นระบบกรอง เรยี งตามขนาด ดังนี้ 1) กรวดคละขนาด เบอร 4 – 6 (อยูลา งสดุ ) ความหนาประมาณ 0.5 เมตร 2) ถานไม ความหนาประมาณ 0.2 เมตร และปดทับดวยแผนใยสังเคราะห (Geotextile) คูม ือเตมิ น้าํ ใตดนิ ระดบั ตนื้

3) กรวดคัดขนาด เบอร 2 - 3 ความหนาประมาณ 0.5 เมตร และปดทับ ดว ยแผน ใยสงั เคราะห (Geotextile) 4) กรวดคดั ขนาด เบอร 1 (0.3 - 0.8 มิลลเิ มตร) ความหนาประมาณ 0.5 เมตร ท้ังนี้ วัสดุกรองนํ้าอาจใชหินกอสรางขนาด ¾” - 1” ท่ีหาไดงายในพื้นที่ หรือวัสดทุ ่คี ลา ยคลึงวัสดดุ ังกลาวอน่ื ๆ ทดแทน 5.3 ระบบเติมน้ําผานสระ เปนวิธีการเติมนํ้าโดยการขุดสระใหลึกถึงชั้นน้ําใตดินระดับต้ืน เพื่อเพ่ิมพื้นท่ีใน การซึมของน้ํา โดยสระน้ีทําหนาที่เหมือนแกมลิงที่จะชวยกักเก็บและชะลอนํ้าใหมีเวลา ซึมผานลงสูช้ันนํ้าใตดินในพื้นท่ีที่มีแหลงนํ้าดิบท่ีมีปริมาณน้ําและคุณภาพที่เหมาะสม ซึ่งนํ้าท่ีเติมผานระบบสระเติมน้ําจะลงไปกักเก็บไวในชั้นนํ้าใตดิน เปรียบเสมือนแกมลิง ใตดนิ ดว ยเชนกัน องคประกอบของระบบเติมนํ้าผานสระ ประกอบดวย 1) สระเติมนํ้า ทั้งน้ี ขนาด ของสระเติมน้าํ ขึ้นอยกู บั ความเหมาะสมของสภาพพื้นท่ี หรือใชบอ ทรายเกา ทมี่ ีอยแู ลวใน พ้นื ที่ โดยความลึกของสระตอ งไมเกนิ 15 เมตร 2) บอตกตะกอน และ 3) ทอ รวบรวมน้ําดิบ เขาสูสระเติมน้ํา โดยกรมทรัพยากรน้ําบาดาลไดดําเนินการออกแบบมาตรฐาน การกอ สรา งเปน 2 รูปแบบ ดังนี้ 5.3.1 การเตมิ นาํ้ ผา นสระเสรมิ ระบบแหลง นํา้ ในไรนา การกอสรางระบบเติมนํ้าผา นสระ (รูปที่ 5-3 และ 5-4) จะดําเนินการในพน้ื ที่ มีดนิ เหนียวชนั้ บนไมห นามาก หรือชั้นน้ําใตดินอยูไมลึก รูปแบบสระเติมนํ้าอา งอิงจากคูมือ การดําเนินงานโครงการแหลงนํ้าในไรนานอกเขตชลประทาน กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวง เกษตรและสหกรณ โดยดําเนินการขุดสระใหมีขนาดความกวาง ความยาว ความลึก ลาดดานขา ง ตามทกี่ าํ หนด ดงั นี้ 1) ลาดดานขาง การขุดดินจะตองมีความมั่นคงไมเกิดการลน่ื ไถลของลาดตล่ิง การกําหนดความลาดดานขางของดินขึ้นอยูกับชนิดของดินที่จะขุด โดยมีขอแนะนําดังนี้ ดนิ เหนียวมีลาดดา นขา ง 1 : 1 ดินรวนไมมากกวา 1 : 1.5 และดนิ ทรายไมมากกวา 1 : 2 2) ความลึกการขุดดินไมควรลึกกวา 3 เมตร ในแตละขั้น ถาลึกเกินตองทํา ชานพกั เพือ่ ความมัน่ คง คูมือเตมิ นํา้ ใตดินระดบั ตนื้

รปู ที่ 5-3 แบบเตมิ นํา้ ผานสระเสริมระบบแหลงนํา้ ในไรนา รปู ท่ี 5-4 ตัวอยา งแบบเตมิ นาํ้ ผา นสระเสรมิ ระบบแหลง นํา้ ในไรน า คมู อื เติมนํา้ ใตดนิ ระดับตนื้

5.3.2 การเติมน้าํ ผา นบอ เติมนาํ้ เสริมระบบแหลง นาํ้ ในไรนา การกอสรางระบบเติมนํ้า จะดําเนินการในพื้นท่ีมีดินเหนียวช้ันบนหนามาก หรือชั้นนํ้าใตดินอยูลึก (รูปที่ 5-5 และ 5-6) รูปแบบนี้จะเปนการนํานํ้าท่ีลนเกินความจุ ของสระเก็บนํ้าในชวงฤดูฝนหรือชวงฤดูนํ้าหลาก เติมลงสูช้ันน้ําใตดินระดับตื้นผานบอ เตมิ นา้ํ ดังนี้ 1) เจาะบอน้ําบาดาล ขนาด 6 น้ิว หรือบอวงคอนกรีตตามขอ 5.2.2 การกอสรางบอเติมนํ้า ตองมีความลึกไมเกิน 15 เมตร สําหรับใชเปนบอเติมน้ํา โดย กอสรางในสระหรือขางสระตามความเหมาะสมกบั สภาพพ้ืนท่ี 2) ขุดสระความกวาง ความยาว และความลึกของของสระข้ึนอยูกับความ เหมาะสมของพ้ืนท่ี โดยลาดดานขาง การขุดดินจะตองมีความมั่นคงไมเกิดการล่ืนไถล ของลาดตลิ่ง การกําหนดความลาดดานขางของดินขึ้นอยูกับชนิดของดินที่จะขุด โดยมี ขอแนะนําดังน้ี ดินเหนียวมีลาดดานขาง 1 : 1 ดินรวนไมมากกวา 1 : 1.5 และดินทราย ไมม ากกวา 1 : 2 3) ความลึกการขุดดินไมควรลึกกวา 3 เมตร ในแตละข้ัน ถาลึกเกินตองทํา ชานพกั เพือ่ ความม่ันคง รูปท่ี 5-5 แบบระบบเตมิ นํ้าผา นบอเตมิ นาํ้ เสรมิ ระบบแหลง น้ําในไรนา คูม ือเตมิ น้าํ ใตด ินระดบั ตนื้

รูปท่ี 5-6 ตวั อยางแบบระบบเติมนํ้าผานบอเติมนํา้ เสรมิ ระบบแหลง น้ําในไรน า วิธีการเติมน้ําผานสระ สวนใหญมีวัตถุประสงคเพ่ือรวบรวมนํ้าท่ีไหลหลาก และ ทวมขัง หรือนําน้ําที่ไหลลนจากแหลงน้ําผิวดิน เชน แมนํ้าลําคลอง อางเก็บนํ้า จะตอง ดําเนินการขุดรองหรือวางทอเพ่ือรวบน้ําเขาสูบอเติมน้ํา และเพื่อเปนการลดความขุน ของนํ้า จึงควรจัดทําบึงประดิษฐ หรือฝาย เพื่อชะลอความเร็วของนํ้าทําใหนํ้ามีเวลา ตกตะกอน กอนท่ีจะรวบรวบนํ้าเขาสูบอเติมนํ้า เพ่ือลดปญหาการอุดตันของระบบกรอง ซ่งึ การดาํ เนินการข้นึ อยูก บั ความเหมาะสมของแตละสภาพพื้นที่ คมู อื เตมิ นา้ํ ใตด ินระดบั ตนื้

6. การติดตามและประเมนิ ผล 6.1 การทดสอบระบบเติมน้ํา การทดสอบระบบเติมนํา้ จะทําใหท ราบถงึ ปริมาณและคณุ ภาพนํา้ ทส่ี ามารถเติมลง สูชั้นน้ําใตดิน และหาอัตราการเติมน้ําท่ีเหมาะสม เพ่ือใหการดําเนินการเติมนํ้า เกิดประสิทธิภาพ การทดสอบระบบเติมน้ําในชวงแรกจะมีอัตราการเติมท่ีมาก และ หลังจากผานไปชวงระยะหนึ่งอัตราการเติมน้ําจะลดลง อาจทําใหการประเมินอัตรา การเติมนํ้าและปริมาณน้ําที่เติมลงสูใตดินเกิดความคลาดเคล่ือน จึงจําเปนตอง ดําเนินการทดสอบการเติมน้ําอยางตอเนื่องในระยะยาวไมนอยกวา 72 ช่ัวโมง เพื่อให การตรวจวัดปริมาณนา้ํ และอตั ราการเติมน้ําทถี่ ูกตองแมนยาํ ใกลเ คยี งกับสภาพความเปน จรงิ มากทีส่ ดุ 6.2 การตดิ ตามระดบั น้ําและคุณภาพนํ้า ดําเนินการติดตามวัดระดับนํ้าบาดาลในบอสังเกตการณเปรียบเทียบในทุก ชวงฤดูกาลและในชวงที่มีการเติมน้ํา และจะตองเก็บตัวอยางน้ําซึ่งตองดําเนินการตาม หลักวิชาการ แลวสงวิเคราะหในหองปฏิบัติการ เพ่ือวิเคราะหลักษณะทางกายภาพ ไอออนหลัก ปุย สารกําจัดศัตรูพืช ท้ังคุณภาพนํ้าท่ีใชเติมและคุณภาพน้ําบาดาล เพื่อศึกษาผลท่ีเกดิ จากการเตมิ นํา้ คมู ือเติมนาํ้ ใตดนิ ระดับตน้ื

7. การบาํ รงุ รกั ษา การบํารุงรักษาระบบเติมนํ้า จะตองติดตามตรวจสอบสภาพการใชงานของระบบ อยูเสมอในแตละชวงเวลาของการเติมนํ้า ทั้งกอนเร่ิมเติมน้ํา และระหวางการเติมนํ้า การดําเนินเติมน้ําลงสูใตดิน ปจจัยที่มีผลตอประสิทธภิ าพของระบบการเติมนํ้ามากท่สี ดุ คือความขุน ซ่ึงจะทําใหเกิดการอุดตันในระบบกรองและทําใหประสิทธิภาพของระบบ การเตมิ นํ้าลดลง โดยการเติมนํ้าจะตอ งตรวจสอบสภาพของระบบตาง ๆ ดังนี้ 7.1 ระบบเติมนํ้าฝนจากหลังคาลงใตด นิ ระบบรวบรวมน้ําฝน ตองตรวจสอบสภาพการใชงาน ความสมบูรณของรางรินรับ นํ้าฝน การเช่ือมตอของทอรวบรวมน้ําฝน ใหอยูในสภาพพรอมใชงานและสะอาด เรียบรอ ย 7.2 ระบบเติมนํ้าผา นบอ เติมนํา้ 1) ระบบรวบรวมน้ํา ควรมีการขุดลอกรองนํ้าหรือทอเพื่อรวบน้ําเขาสูบอเติมน้ําให อยูในสภาพพรอมใชงาน และดูแลบริเวณรอบ ๆ บอเติมน้ําใหสะอาดอยูเสมอ ปลูกพืช เพ่อื ชวยดกั จับตะกอนและลดความขนุ ของนาํ้ เชน หญา กกสามเหลี่ยม ขา ว พทุ ธรกั ษา 2) ระบบกรอง ไดแก กรวดกรอง ควรหมั่นตรวจเช็คความหนาของตะกอนที่สะสม อุดตันในระบบกรองและดําเนินการขุดลอกตะกอนทิ้ง แลวเปลี่ยนหรือลางทําความ สะอาดแผนใยสังเคราะห (Geotextile) ท่ีปดทับอยูดานบนของระบบกรอง และหาก พบวามีตะกอนอุดตันลงไปถึงชั้นทรายกรองใหดําเนินการขุกลอกทรายกรองจนถึงระยะ ทม่ี ีตะกอนอดุ ตนั และเปลยี่ นช้นั ทรายกรองใหม 7.3 ระบบเติมนาํ้ ผา นสระ 1) ขุดลอกตะกอนท่ีสะสมอุดตันบริเวณกนสระ ใหอยูในสภาพพรอมใชงานอยูเสมอ ทง้ั ในสระเตมิ นํา้ และบอ ตกตะกอน 2) กรณีสระเก็บน้ําท่ีรวบรวมนํ้าสําหรับเติมผานบอบาดาล จะตองดําเนินการเปา ลางบอ เพือ่ ใหการเตมิ น้ํามปี ระสทิ ธิภาพ คูมือเตมิ น้ําใตดนิ ระดับตนื้

เอกสารอา งอิง กรมทรัพยากรนํ้าบาดาล. (2554). โครงการศึกษาทดลองการเติมนํ้าลงสูช้ันนํ้าใตดิน ผานระบบสระนํ้าพื้นท่ีลุมนํ้าภาคเหนือตอนลาง จังหวัดพิษณุโลก สุโขทัย และ พิจติ ร: ศูนยวจิ ยั น้ําบาดาล คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยขอนแกน . กรมทรัพยากรนํ้าบาดาล. (2560). การศึกษาสํารวจและออกแบบโครงการเติมนํ้าลงสู ช้ันน้ําบาดาลเพื่อแกไขปญ หาภัยแลงและปญหาการลดระดับน้ําของชั้นนํ้าบาดาล 2 แหง: บริษัท เอส เอ็น ที คอนซัลแตนท จํากัด. กรมทรัพยากรน้ําบาดาล. (2560). โครงการศึกษาทดลองเติมนํ้าใตดินระดับต้ืนในพื้นที่ รับผดิ ชอบของสํานักทรพั ยากรนาํ้ บาดาล 12 เขต. กรมพัฒนาที่ดิน. (2558). คูมือการดําเนินงานโครงการแหลงน้ําในไรนานอกเขต ชลประทาน. กรมโยธาธิการ. (2545). การศึกษาสภาพความเหมาะสมดานธรณีวิทยาและอุทก ธรณวี ิทยาสําหรับการเตมิ นํ้าใตด ินและงานกอ สรา งระบบผันนาํ้ ฝนสูใ ตดิน. อรัญญา เฟองสวัสด์ิ. (2549). การศึกษาแนวทางการเติมน้ําบาดาลลงในช้ันนํ้าบาดาล แบบหนิ แข็ง: กรมทรัพยากรนํา้ บาดาล. คมู ือเตมิ นํ้าใตดินระดับตน้ื

แบบมาตรฐานระบบเติมนาํ้ ฝน จากหลงั คาลงบอวงคอนกรีต https://bit.ly/2KXoYyA คมู อื เตมิ นํา้ ใตด นิ ระดับตน้ื

แบบมาตรฐานระบบเติมนํ้า ผานบอ วงคอนกรีต (ทม่ี รี ะบบกรอง) http://bit.ly/2U3aal0 คมู อื เติมน้ําใตดินระดับตนื้

แบบมาตรฐานระบบเติมนา้ํ ผา นสระ http://bit.ly/2Nwt8iH คมู ือเตมิ น้ําใตด ินระดับตน้ื

คณะที่ปรึกษา นางสาวจงจติ ร นรี นาทเมธกี ุล อธิบดกี รมทรัพยากรนํา้ บาดาล นางอรนุช หลอ เพ็ญศรี รองอธิบดีกรมทรัพยากรนํา้ บาดาล นายกศุ ล โชตริ ตั น รองอธิบดกี รมทรัพยากรนํ้าบาดาล คณะผูจดั ทาํ นายบรรจง พรมจันทร ผูอ าํ นวยการสาํ นักอนุรักษแ ละฟนฟทู รพั ยากร นาํ้ บาดาล นายมณเฑียร จงจนิ ากูล ผูอํานวยการสํานักพัฒนานา้ํ บาดาล นายไฉน รินแกว รกั ษาราชการแทนผอู าํ นวยการสว นฟนฟู ทรัพยากรน้ําบาดาล นางสาวพรอษุ า อุดมศลิ ป นกั ธรณวี ทิ ยาชํานาญการพเิ ศษ นายสําเนาว อินทรส วุ รรณ นายชา งเครอ่ื งกลชาํ นาญงาน นางสาวสภุ าวดี พานทอง นางสาวพุธติ า ต้งั กจิ วนชิ กลุ วิศวกรชํานาญการ นางจรนิ ยา ฉิมพาลี วศิ วกรปฏิบัติการ นายภมู ิภัทร กลาหาญ นักธรณีวทิ ยาปฏบิ ตั ิการ นกั ธรณีวิทยา คมู อื เติมน้ําใตดนิ ระดบั ตน้ื

บันทกึ ........................................................................................................... ........................................................................................................... ........................................................................................................... ........................................................................................................... ........................................................................................................... ........................................................................................................... ........................................................................................................... ........................................................................................................... ........................................................................................................... ........................................................................................................... ........................................................................................................... ........................................................................................................... ........................................................................................................... ........................................................................................................... ........................................................................................................... ........................................................................................................... ........................................................................................................... คมู ือเติมนาํ้ ใตดินระดบั ตน้ื

บนั ทกึ ........................................................................................................... ........................................................................................................... ........................................................................................................... ........................................................................................................... ........................................................................................................... ........................................................................................................... ........................................................................................................... ........................................................................................................... ........................................................................................................... ........................................................................................................... ........................................................................................................... ........................................................................................................... ........................................................................................................... ........................................................................................................... ........................................................................................................... ........................................................................................................... ........................................................................................................... คมู อื เตมิ นํา้ ใตดินระดบั ตน้ื

บันทกึ ........................................................................................................... ........................................................................................................... ........................................................................................................... ........................................................................................................... ........................................................................................................... ........................................................................................................... ........................................................................................................... ........................................................................................................... ........................................................................................................... ........................................................................................................... ........................................................................................................... ........................................................................................................... ........................................................................................................... ........................................................................................................... ........................................................................................................... ........................................................................................................... ........................................................................................................... คมู ือเติมนาํ้ ใตดินระดบั ตน้ื

กรมทรพั ยากรนาํ้ บาดาล Call Center www.dgr.go.th เลขที่ 26/83 ซอยทา นผหู ญงิ พหล (ซอยงามวงศว าน 54) 1310 กด 4 Badan4Thai ถนนงามวงศว าน แขวงลาดยาว เขตจตุจกั ร กรงุ เทพฯ 10900


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook