หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี ๑ เรอ่ื ง พน้ื ฐานด้านทศั นศลิ ป์ กลุ่มสาระการเรียนรูศ้ ลิ ปะ : ทศั นศลิ ป์ รหัสวิชา ศ ๒๑๑๐๑ ชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๑ เวลาเรยี น ๔ ช่ัวโมง ผูส้ อน.................................................โรงเรียน.............................................................. .............................................................................................................................................................................................................. มาตรฐานการเรยี นรู/้ ตัวชี้วัด มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ศ๑.๑ สรา้ งสรรค์งานทัศนศลิ ป์ตามจินตนาการ และความคดิ สร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณคา่ งานทัศนศลิ ป์ ถา่ ยทอดความรสู้ กึ ความคดิ ต่องานศลิ ปะอยา่ งอิสระชนื่ ชม และประยุกตใ์ ช้ใน ชวี ติ ประจาวนั มาตรฐาน ศ ๑.๒ เขา้ ใจความสมั พันธร์ ะหว่างทศั นศลิ ป์ ประวัติศาสตร์ และวฒั นธรรม เห็นคณุ ค่า งานทัศนศิลป์ ทเ่ี ป็นมรดกทางวฒั นธรรม ภูมปิ ญั ญาท้องถิ่น ภมู ิปญั ญาไทย และสากล ตวั ชีว้ ัด ศ ๑.๑ ม.๑/๑ บรรยาย ความแตกต่างและความคล้ายคลึงกันของงานทศั นศลิ ป์และส่ิงแวดล้อมโดยใช้ ความรเู้ ร่ืองทศั นธาตุ สาระสาคญั ๑. ทศั นธาตปุ ระกอบไปดว้ ย จุด เสน้ รปู ร่างและรปู ทรง ขนาด สดั สว่ น แสงเงา สี บริเวณว่าง และ ลกั ษณะผวิ ๒. จุด เส้น รูปรา่ งและรูปทรง ขนาด สดั สว่ น แสงเงา สี บริเวณวา่ ง และลักษณะผิวเป็นส่วนสาคัญในการ สรา้ งสรรคง์ านทัศนศิลป์ ความเขา้ ใจที่คงทน (Enduring Understanding) การสังเกตเส้น สี รูปรา่ ง รูปทรง พน้ื ผวิ ของสง่ิ ต่าง ๆ ในสง่ิ แวดล้อมและงานทัศนศลิ ปเ์ ป็นทกั ษะพื้นฐาน ในการทางานทัศนศิลป์ เข้าใจความสัมพนั ธ์ระหว่างทัศนศิลป์ ประวัตศิ าสตร์ และวฒั นธรรม เห็นคณุ ค่า งาน ทัศนศิลป์ ท่ีเป็นมรดกทางวฒั นธรรม ภมู ิปญั ญาท้องถนิ่ ภูมิปญั ญาไทย และสากล สาระการเรยี นรู้ ๑. ทศั นธาตุในส่ิงแวดล้อมและในงานทศั นศลิ ป์ ๑.๑ การถ่ายทอดความรู้สกึ ท่ีเห็นออกมาเป็นผลงาน ๑.๒ การจดั กลมุ่ ของภาพตามทศั นธาตุทีเ่ น้นในงานทศั นศิลป์ ๒. สร้างสรรค์งานออกแบบ ๒.๑ สังเกตงานออกแบบรอบตัว ๒.๒ ออกแบบส่งิ ต่าง ๆ ตามจินตนาการ คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ ใฝเ่ รียนรู้ ตัวช้วี ดั ที่ ๔.๒ แสวงหาความรูจ้ ากแหล่งเรียนรู้ในทอ้ งถ่นิ ตา่ ง ๆ ทง้ั ภายในและภายนอกโรงเรยี นด้วยการ เลอื กใชส้ ่ืออยา่ งเหมาะสม บนั ทึกความรู้ วเิ คราะห์ สรปุ เป็นองค์ความรู้ และสามารถนาไปใชใ้ นชวี ติ ประจาวันได้
สมรรถนะสาคัญของผเู้ รียน - ความสามารถในการคดิ ช้นิ งานหรอื ภาระงาน (หลกั ฐาน ร่องรอยแสดงความร)ู้ - ออกแบบสง่ิ ต่าง ๆ ตามจนิ ตนาการ การประเมนิ ผล ๑. การประเมนิ ผลตวั ชว้ี ดั ให้ครูประเมินการสร้างสรรค์ผลงานการออกแบบของนักเรยี น โดยใชเ้ กณฑ์การประเมิน ดังนี้ เกณฑก์ ารประเมิน ๔ ระดับคะแนน ๑ ๓๒ ใชเ้ ส้น สี รูปร่าง ออกแบบสง่ิ ต่าง ๆ ใชเ้ สน้ สี รูปร่าง ใช้เสน้ สี รปู ร่าง ใช้เสน้ สี รปู ร่าง รูปทรง และพนื้ ผวิ ในการออกแบบ แต่ ตามจินตนาการ รูปทรง และพน้ื ผวิ รูปทรง และพนื้ ผิว รูปทรง และพ้นื ผวิ ตอ้ งให้ผู้อื่นแนะนา โดยเน้นเร่อื งเสน้ ในการออกแบบ ในการออกแบบ ในการออกแบบ สี รปู รา่ ง รปู ทรง แตกตา่ งจากที่ครู แตกตา่ งจากท่ีครู แต่เหมอื นทค่ี รู พ้นื ผวิ ซาบซ้งึ ยกตัวอย่างสามารถ ยกตัวอยา่ ง ยกตวั อยา่ ง ประเภทงาน ใหค้ าแนะนา แต่ไม่สามารถให้ ทศั นศลิ ป์ในถอ้ งถน่ิ เพ่ิมเติมกับผู้อ่ืนได้ คาแนะนาเพิ่มเตมิ ซาบซง้ึ ประเภทงาน กบั ผูอ้ น่ื ได้ ซาบซงึ้ ทศั นศิลป์ในถ้องถิน่ ประเภทงาน ทัศนศลิ ป์ในถ้องถิ่น ๒. การประเมนิ ผลคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ ใฝเ่ รียนรู้ ตัวช้ีวดั ที่ ๔.๒ แสวงหาความร้จู ากแหล่งเรยี นรู้ตา่ ง ๆ ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียนดว้ ยการเลอื กใช้สือ่ อย่างเหมาะสม บันทกึ ความรู้ วิเคราะห์ สรุปเปน็ องคค์ วามรู้ และสามารถนาไปใช้ในชวี ิตประจาวนั ได้ พฤตกิ รรมบ่งช้ี ไม่ผ่าน (๐) ผ่าน (๑) ดี (๒) ดเี ยย่ี ม (๓) ๔.๒.๑ ศกึ ษาคน้ ควา้ หา ไมศ่ ึกษาค้นควา้ ศกึ ษาคน้ คว้าหา ศกึ ษาค้นคว้าหา ศกึ ษาคน้ คว้าหา ความรู้จากหนงั สือ เอกสารหาความรู้ ความรจู้ ากหนังสือ ความรู้จากหนังสือ ความรู้จากหนังสือ ส่งิ พมิ พ์ สื่อเทคโนโลยี เอกสาร ส่ิงพิมพ์ เอกสาร ส่งิ พิมพ์ เอกสาร สิ่งพิมพ์ ต่าง ๆ แหลง่ เรยี นรูท้ ัง้ ส่ือเทคโนโลยหี รือ ส่อื เทคโนโลยี แหลง่ สื่อเทคโนโลยี แหล่ง ภายใน โรงเรียนและทอ้ งถ่นิ จากแหลง่ เรยี นรอู้ ื่น เรยี นรู้อนื่ เรียนรู้อนื่ เลือกใช้สอื่ ได้อย่าง มกี ารบนั ทึกความรู้ มกี ารบันทึกความรู้ เหมาะสม แลกเปล่ยี นความรู้ ๔.๒.๒ บันทกึ ความรู้ กบั ผอู้ ่ืน วเิ คราะห์ ตรวจสอบจาก สิง่ ท่ีเรียนรู้ สรปุ เป็นองค์ ความรู้ ๔.๒.๓ แลกเปล่ยี นเรยี นรู้
พฤติกรรมบ่งชี้ ไมผ่ ่าน (๐) ผา่ น (๑) ดี (๒) ดีเยย่ี ม (๓) ดว้ ยวธิ กี ารตา่ ง ๆ และ นาไปใชใ้ น ชวี ิตประจาวัน การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ ๑) ใหน้ ักเรียนทาแบบทดสอบกอ่ นเรยี นเพอ่ื ประเมนิ ความรู้ ๒) ใหน้ ักเรยี นสงั เกตความงามของงานทัศนศิลป์ท่ีมนุษย์สรา้ งขึน้ เชน่ ประเภทของงานทัศนศลิ ปใ์ น ทอ้ งถิน่ ภาพวาด ภาพจิตกรรมตา่ งๆ เปรยี บเทยี บกับความงามตามธรรมชาติ ๓) นักเรยี นกับครสู นทนาถึงภาพถา่ ย อนสุ าวรีย์พระยาไกรภกั ดีศรนี ครลาดวน วัดเขียน ปราสาทตาเลง็ ศาลหลกั เมืองขุขันธใ์ นการใช้พื้นฐานการสรา้ งงานทศั นศลิ ป์ ๔) คาสาคญั ท่ีควรรู้ ไดแ้ ก่ องคป์ ระกอบศลิ ป์ จุด เส้น รูปรา่ งและรปู ทรง ขนาด สัดส่วน แสงเงา สี บรเิ วณว่าง และลกั ษณะผวิ คือ ทัศนธาตุทีเ่ ปน็ ส่วนประกอบทใี่ ช้ในงานทัศนศิลป์ จดุ เสน้ รปู รา่ งและรปู ทรง ขนาด สัดสว่ น แสงเงา สี บรเิ วณวา่ ง และลักษณะผวิ มีลักษณะและประโยชน์ในการใช้ กบั งานทัศนศลิ ปท์ ่ีแตกตา่ งกัน ๕) ครนู าตวั อย่างภาพประเภทของงานทัศนศลิ ป์ในท้องถ่นิ และผลงานการวาดภาพโดยใช้พนื้ ฐาน ทางด้านทัศนศลิ ป์ ใหน้ ักเรยี นสังเกตถงึ ความงามและเทคนิควธิ กี ารสร้างผลงาน พรอ้ มกับอธิบายวธิ กี ารสร้างสรรค์ และขั้นตอนการวาดภาพโดยใช้พ้นื ฐานทางด้านทัศนศิลปใ์ ห้นักเรยี นเขา้ ใจ ๖) ครสู าธิตการวาดภาพโดยใชพ้ ้ืนฐานดา้ นทศั นศิลป์ ใหน้ ักเรียนสงั เกตวิธีการสรา้ งสรรค์ผลงาน เป็น ขัน้ ตอน โดยครูอธิบายเสริมถึงการถ่ายทอดความรู้สึก ในผลงานเพอ่ื ให้นักเรยี นจาแนกวิธกี ารสรา้ งสรรคผ์ ลงาน ๗) นักเรียนรว่ มกันศึกษาเพมิ่ เติมจากแบบฝึกปฏิบตั ิเพ่ือพฒั นาทักษะเล่มที่ ๑ มาศึกษา โดยการศึกษา ดว้ ยตนเองและแลกเปล่ยี นประสบการณ์การเรยี นรู้ ฝกึ ถามตอบระหวา่ งเพ่ือนในกลมุ่ ๘) นกั เรยี นร่วมกนั ทาแบบฝกึ ปฏิบตั เิ พื่อพัฒนาทักษะเล่มที่ ๑ โดยทาแบบฝกึ ทักษะและปฏิบัติกิจกรรม ตามภารกจิ และกจิ กรรมที่กาหนด หากมีข้อสงสัยเพ่ิมเติมหรอื ต้องการเรียนรู้เพ่ิมเติมสามารถทบทวนความรู้จาก แบบฝกึ ทักษะซ่งึ มีใบความรู้ หรอื สอบถามและตรวจสอบความเข้าใจจากครู ๙) นักเรยี นแบ่งกลุ่มปฏบิ ตั กิ จิ กรรม กล่มุ ละ ๓-๕ คน และปฏบิ ัตกิ ิจกรรมกลุ่ม ตามแบบปฏบิ ตั กิ ิจกรรม กลุ่มกิจกรรม ชดุ ที่ ๑ ครอู านวยความสะดวก กากับเร่อื งเวลา และประเดน็ การนาเสนอและสนทนา วดั ผล ประเมนิ ผลด้วยการประเมิน สังเกต อาจมีการสอบถามหรือสมั ภาษณน์ ักเรียนตามความเหมาะสม ๑๐) นกั เรียนนาเสนอใบงานและผลงานการวาดภาพโดยใช้พนื้ ฐานดา้ นทศั นศิลป์ โดยครูรว่ มสนทนา เสริมเก่ยี วกบั การถา่ ยทอดความรสู้ ึก และช่วยกนั ปรบั ปรุงให้ผลงานสมบูรณย์ ิง่ ขึน้ ๑๑) นักเรียนทาแบบทดสอบหลงั เรียนเป็นรายบคุ คล สื่อการเรยี นรู้ ๑) แบบฝกึ ปฏบิ ัติเพื่อพัฒนาทักษะ เรื่อง พ้ืนฐานดา้ นทัศนศลิ ป์ ๒) แบบปฏบิ ตั กิ ิจกรรมกลุ่มกิจกรรม ชดุ ที่ ๑ เรอ่ื ง พ้นื ฐานด้านทัศนศลิ ป์ ๓) ผลงานการวาดภาพโดยใช้พน้ื ฐานดา้ นทัศนศิลป์ ๔) วสั ดุ อปุ กรณ์การวาดภาพ ๕) ภาพถา่ ย อนุสาวรยี ์พระยาไกรภกั ดีศรีนครลาดวน วัดเขยี น ปราสาทตาเลง็ ศาลหลักเมอื งขขุ ันธ์ ๖) แหลง่ ขอ้ มลู สารสนเทศhttps://www.mueangkhukhanculturalcouncil.org/
แบบทดสอบกอ่ นเรียน - หลงั เรยี น สาระการเรยี นรู้ศิลปะ ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๑ เรอื่ ง พนื้ ฐานด้านทัศนศิลป์ คาช้แี จง ๑. แบบทดสอบนีม้ ีจานวน ๑๐ ข้อ เป็นข้อสอบแบบเลือกตอบชนิด ๔ ตัวเลือก ๒. เขยี นเครอ่ื งหมาย X ทกั อักษร ก ข ค และ ง ท่ถี กู ต้องท่ีสุดเพียงคาตอบเดยี ว .......................................................................................................................................................... ๑. ขอ้ ใดคือประเภทของทศั นศลิ ป์ ก. จิตรกรรม สถาปัตยกรรม ประตมิ ากรรม ภาพพิมพ์ ส่ือผสม ข. ประตมิ ากรรม ดรุ ิยางค์ศิลป์ นาฏศลิ ป์ วรรณกรรม สอ่ื ผสม ค. สถาปัตยกรรม นาฏศลิ ป์ ภาพพิมพ์ วรรณกรรม สอ่ื ผสม ง. ภาพพมิ พ์ ดรุ ิยางค์ศลิ ป์ วรรณกรรม ประติมากรรม ส่ือผสม ๒. ขอ้ ใดคือผลงานจติ รกรรม ก. ภาพเขยี นสี ในโบสถ์วดั เขยี นบรู พาราม ข. เหรียญบาท ค. บา้ นทรงไทย ง. ปราสาทตาเลง็ ๓. ขอ้ ใดคือผลงานประตมิ ากรรม ก. ภาพเขียนสนี า้ ข. อนสุ าวรยี ์พระยาไกรภกั ดศี รนี ครลาดวน ค. บ้านทรงไทย ง. ภาพวาดลายเส้น ๔. กรรมวิธใี ดท่ตี องใชแ้ ม่พิมพ์ ก. การหล่อ ข. การป้นั ค. การแกะสลกั ง. การวาดภาพ ๕. สอ่ื ผสมหมายถึงส่งิ ใด ก. การใช้สีน้า สีโปสเตอร์ สีเมจกิ ระบายลงบนพ้ืนระนาบ ข. การป้ัน การหลอ่ การแกะสลัก ในงานช้นิ เดียวกัน ค. งานทัศนศิลป์ ทีเ่ อาส่ือหลายชนดิ มารวมกัน การระบายสี นาวสั ดุท่ีเปน็ ๓ มติ ิ มาประกอบเขา้ ไป ในภาพ หรือ มแี สง เสยี ง กลิ่น หรอื การเคลื่อนไหวมาประกอบกับงาน ง. อาคารหรอื สิ่งก่อสรา้ งที่มีการตกแต่งทง้ั ภายนอกและภาพในสิ่งกอ่ สรา้ ง
กข ค ใช้ตัวเลือกตอ่ ไปนตี้ อบคาถาม ข้อ ๖ – ๘ ๖. ข้อใดคือรูปแบบตัดทอน............................................... ๗. ขอ้ ใดคือรปู แบบตามความรู้.......................................... ๘. ข้อใดคือรูปแบบเหมือนจริง........................................... ๙. สถาปัตยกรรมแบบปดิ คือข้อใด ก. เจดีย์วัดเขยี นบูรพาราม ข. อนสุ าวรยี ์พระยาไกรภักดีศรนี ครลาดวน ค. ศาลหลักเมอื งขุขันธ์ ง. โรงพยาบาลขุขันธ์ ๑๐. งานประติมากรรมมลี ักษณะเด่นแตกตา่ งจากผลงานทัศนศลิ ปอ์ น่ื ๆ อย่างไร ก. สามารถสัมผสั ได้ ข. มลี ักษณะรปู ทรง ๓ มิติ ค. สรา้ งสรรค์วธิ ีท่หี ลากหลาย ง. มีพ้ืนผวิ ทีเ่ ดน่ ชัด ………………………………………………………………
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรยี น – หลังเรียน สาระการเรียนรู้ศลิ ปะ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๑ เรื่อง พื้นฐานดา้ นทศั นศิลป์ เกณฑ์การใหค้ ะแนน ๑. ขอ้ ที่ตอบถูกให้ ๑ คะแนน ๒. ข้อท่ีตอบผิดให้ ๐ คะแนน ขอ้ ที่ คาตอบ ขอ้ ที่ คาตอบ ๑. ก ๖. ง ๒. ก ๗. ค ๓. ข ๘. ก ๔. ค ๙. ก ๕. ก ๑๐. ข
แบบบันทกึ สรปุ ผลการเรียนรู้สาหรับผู้เรียน ช่อื -นามสกลุ ...................................... เลขที่ ............................................ ช้นั .................................. วันท่ี ................................................ เดือน ........................................................... พ.ศ . ..................... คาชแ้ี จง ให้นกั เรยี นบันทกึ สรปุ ผลการเรียนรจู้ ากหน่วยการเรียนร้นู ี้ นกั เรยี นยงั ไม่เข้าใจเร่ืองใด นกั เรียนมคี วามรูส้ ึกซาบซงึ นกั เรียนได้รับความร้เู รื่องใดบ้าง อีกบ้างที่เกี่ยวกับหน่วยการเรียนรนู้ ้ี ประเภทของทัศนศิลป์ในท้องถิน่ จากหน่วยการเรยี นรูน้ ้ี ซึง่ ตอ้ งการให้ครูอธิบายเพม่ิ เติม อย่างไร หลงั จากทเ่ี รยี นหนว่ ย ..................................................... ........................................................ การเรียนรู้นแ้ี ลว้ ..................................................... ........................................................ ..................................................... .................................................. ..................................................... ..................................................... .................................................... ............ นักเรียนจะสามารถนาความรู้ ห น่ ว ย ก า ร เ รี ย น รู้ ที่ กิจกรรมที่นักเรียนชอบมากท่ีสุดใน ความเขา้ ใจจากหน่วยการเรียนรูน้ ี้ ....... ห น่ ว ย ก า ร เ รี ย น รู้ นี้ คื อ กิ จ ก ร ร ม ใ ด ไปใชป้ ระโยชน์ในชวี ิตประจาวันได้ .................................. เพราะอะไร อย่างไรบ้าง ............................................................ ........................................................ ผลงานที่นักเรียนชอบและต้องการ ............................................................ ........................................................ คัดเลือกเป็นผลงานดเี ดน่ จาก ............................................................ ........................................................ หนว่ ยการเรียนรนู้ ค้ี อื ผลงานใดบา้ ง .................................................... ........................................................ ......................................................... ........................................................ .....................................................
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒ เรื่อง สรา้ งสรรคง์ านศิลป์ กลมุ่ สาระการเรยี นรูศ้ ลิ ปะ : ทัศนศิลป์ รหสั วชิ า ศ ๑๔๑๐๑ ช้นั ประถมศึกษาปีที่ ๔ ภาคเรียนท่ี ๑ เวลา ๑๒ ชวั่ โมง ผ้สู อน............................................................โรงเรียน............................................................. ............................................................................................................................. ............................................................ ๑. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชว้ี ัด มาตรฐานการเรียนรู้ ศ ๑.๑ สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์ คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ ในชวี ิตประจาวนั ตัวชว้ี ดั ศ ๑.๑ ป.๔/๒ อภปิ รายเกย่ี วกบั อิทธิพลของสีวรรณะอนุ่ และสีวรรณะเย็น ท่ีมตี ่ออารมณ์ของมนุษย์ ศ ๑.๑ ป.๔/๕ มีทักษะพนื้ ฐานในการใชว้ สั ดุอปุ กรณ์สรา้ งสรรคง์ านวาดภาพระบายสี ศ ๑.๑ ป.๔/๗ วาดภาพระบายสโี ดยใช้สีวรรณะอุ่นและสีวรรณะเย็นถ่ายทอดความรูส้ กึ และจนิ ตนาการ ศ ๑.๑ ป.๔/๘ เปรยี บเทยี บความคิดความรสู้ ึกทถี่ ่ายทอดผ่านงานทศั นศลิ ปข์ องตนเองและบุคคลอ่ืน ศ ๑.๑ ป.๔/๙ เลอื กใชว้ รรณะสีเพ่ือถ่ายทอดอารมณ์ ความรสู้ ึกในการสร้างงานทัศนศลิ ป์ ๒. สาระสาคญั สมี อี ิทธิพลต่อมนุษย์ สีถกู แบ่งเป็นสวี รรณะอุ่นและสวี รรณะเย็น เราควรเลอื กสใี ห้สอดคล้องกับการถ่ายทอด ความรสู้ ึกและจนิ ตนาการ และควรหมั่นพฒั นาฝมี อื ของตนเองควบคู่ไปกับการเรยี นรจู้ ากบคุ คลรอบตวั ๓. ความเข้าใจท่ีคงทน (Enduring Understanding) การเลอื กใชว้ รรณะสีควรใช้ให้สอดคลอ้ งกบั อารมณค์ วามรู้สึกและจนิ ตนาการ ๔. สาระการเรยี นรู้ สอี ุ่นกับสเี ยน็ ๑.การแบ่งวรรณะสี ๑.๑ สีวรรณะอุ่น ๑.๒ สวี รรณะเยน็ ๒. การเลอื กใชว้ รรณะสีในงานทศั นศลิ ป์ ๓. เปรยี บเทียบความรูส้ ึกทถ่ี ่ายทอดผา่ นงานทศั นศิลป์ของตนเองและบุคคลอน่ื ๕. คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ม่งุ ม่นั ในการทางาน ตวั ช้ีวดั ที่ ๖.๑ ตง้ั ใจและรับผดิ ชอบในการปฏิบัติหน้าทกี่ ารงาน
๖. สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียน ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ ๗. ช้ินงานหรอื ภาระงาน (หลกั ฐาน ร่องรอยแสดงความร้)ู - ภาพวาดระบายสี โดยใชส้ วี รรณะอนุ่ และสีวรรณะเย็น - ชน้ิ งานท่ี ๒ เรอื่ ง การสร้างสรรค์ผลงานการวาดภาพระบายสโี ดยใชส้ ีวรรณะอนุ่ และสีวรรณะเย็น ๘. การประเมินผล ๑. การประเมินผลตวั ชี้วัด ชนิ้ งานที่ ๒ เรอ่ื ง การสร้างสรรคผ์ ลงานการวาดภาพระบายสโี ดยใช้สวี รรณะอุ่นและสวี รรณะเยน็ เกณฑก์ ารประเมิน ๔ ระดบั คะแนน ๑ ๓๒ การสรา้ งสรรคผ์ ลงาน วาดภาพระบายสี วาดภาพระบายสี วาดภาพระบายสี วาดภาพระบายสี การวาดภาพระบายสี โดยใช้สวี รรณะอุ่น โดยใช้สีวรรณะอุ่นและ โดยใชส้ วี รรณะอ่นุ และ โดยใช้สวี รรณะอุ่น โดยใชส้ ีวรรณะอนุ่ และ และสวี รรณะเย็น สวี รรณะเยน็ สวี รรณะเยน็ และสีวรรณะเย็น สีวรรณะเย็น ไดส้ วยงาม เหมาะสม ไดส้ วยงาม เหมาะสม ได้ แสดงถึงความคิด ได้ แตไ่ มแ่ สดงถงึ แสดงถงึ ความคิด แสดงถึงความคิด สรา้ งสรรค์เลก็ น้อย ความคิดสรา้ งสรรค์ สร้างสรรค์มาก สรา้ งสรรคบ์ า้ ง โดยตอ้ งอาศัย และต้องอาศัย แตกต่างจากที่ครู แตกต่างจากท่ีครู คาแนะนาจากผู้อ่ืน คาแนะนาจากผู้อ่นื ยกตัวอย่าง และ ยกตวั อยา่ ง และ บ้าง บ้าง สามารถใหค้ าแนะนา สามารถใหค้ าแนะนา เพ่มิ เติมกบั ผอู้ ่นื ได้ เพ่ิมเติมกับผู้อนื่ ได้ ๒. การประเมินผลคุณลักษณะอันพึงประสงค์ มงุ่ ม่ันในการทางาน ตวั ชว้ี ดั ท่ี ๖.๑ ตงั้ ใจและรับผิดชอบในการปฏบิ ัตหิ นา้ ทีก่ ารงาน พฤติกรรมบ่งช้ี ไมผ่ า่ น (๐) ผา่ น (๑) ดี (๒) ดีเยีย่ ม (๓) ๖.๑.๑ เอาใจใส่ต่อการ ไมต่ ั้งใจปฏิบัติ ต้ังใจและรับผิดชอบ ต้ังใจและรบั ผิดชอบ ตง้ั ใจและรับผิดชอบ ในการปฏิบัตหิ นา้ ที่ ปฏิบตั หิ นา้ ที่ หนา้ ทกี่ ารงาน ในการปฏิบัตหิ น้าที่ ในการปฏิบัติหนา้ ท่ี ทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย ให้สาเรจ็ มกี าร ทไ่ี ด้รับมอบหมาย ทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย ท่ีไดร้ ับมอบหมาย ปรับปรงุ และพฒั นา การทางานใหด้ ขี น้ึ ๖.๑.๒ ต้งั ใจและ ให้สาเรจ็ ใหส้ าเรจ็ มกี าร ดว้ ยตนเอง รับผิดชอบในการ ปรับปรุงการทางาน ทางานใหส้ าเรจ็ ใหด้ ขี ้ึน ๖.๑.๓ ปรับปรงุ และ พัฒนาการทางาน ดว้ ยตนเอง
๙. การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ ๑. ให้นกั เรยี นเลา่ ประสบการณใ์ นการใช้สีต่าง ๆ กับภาพวาดของตนเอง ๒. ให้นกั เรยี นร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการผสมแมส่ ี ๓. ใหน้ กั เรียนแบง่ กลุม่ ฝกึ ปฏบิ ตั กิ ารผสมแมส่ ีใหเ้ ปน็ สีขนั้ ท่ี ๒ การผสมสขี น้ั ท่ี ๒ กบั แม่สใี หเ้ ป็นสขี น้ั ท่ี ๓ ๔. ครใู ห้ความรู้กบั นกั เรยี นเกี่ยวกบั วรรณะสี สีวรรณะอนุ่ และสีวรรณะเย็น ๕. ให้นกั เรียนออกมาเลา่ เหตุการณ์และสถานการณ์ทีต่ นเองประทับใจ จากนัน้ พจิ ารณาว่า สถานการณ์ เหล่าน้ันควรใช้สวี รรณะใดในการระบายภาพ ๖. ครยู กตัวอยา่ งชอ่ื ภาพต่าง ๆ จากน้ันใหน้ ักเรียนพิจารณาว่าชื่อภาพแตล่ ะภาพ ควรใช้สวี รรณะใดใน การระบายภาพ ๗. ให้นกั เรียนฝกึ ระบายสีภาพโดยใชส้ วี รรณะอุ่นและสีวรรณะเย็น ๘. ให้นักเรียนวาดภาพระบายสโี ดยใช้สีวรรณะอนุ่ และสวี รรณะเย็นถ่ายทอดความรสู้ ึกและจินตนาการ ๙. ให้นักเรียนเปรยี บเทียบความรูส้ กึ ท่ีถ่ายทอดผ่านงานทัศนศิลปข์ องตนเองและบคุ คลอ่ืน ๑๐. นกั เรียนและครรู ่วมกันสรุปความรู้ ดังนี้ - การเลอื กใช้วรรณะสีควรใชใ้ หส้ อดคล้องกับอารมณค์ วามรสู้ กึ และจนิ ตนาการ ๑๐.ส่ือการเรยี นรู้ ๑. บัตรภาพ ๒. สไี ม้ สีเทยี น สีน้าหรือสโี ปสเตอร์ ๓. ธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ มรอบตวั ๔. ช้นิ งานที่ ๒ เร่ือง การสร้างสรรค์ผลงานการวาดภาพระบายสโี ดยใชส้ ีวรรณะอุ่นและสีวรรณะเย็น ๕. ชุดกิจกรรมเสริมสร้างความคิดสรา้ งสรรค์ด้านการวาดภาพ ยักษแ์ ดงกับยกั ฟา้ ตอน เปลี่ยนสบี า้ น ชว่ งโควดิ – ๑๙ เรอ่ื ง สีวรรณะอุ่นกับสีวรรณะเยน็ เลม่ ที่ ๑
แบบทดสอบก่อนเรยี น (Pre-Test) ชื่อ_____________________นามสกลุ _____________________เลขที่________ชน้ั _________ คาส่งั : จงกากบาทเลือกคาตอบท่ถี ูกต้องทีส่ ุดเพียงคาตอบเดยี ว ๑. สคี ู่ใดเมื่อผสมกันแลว้ จะเปน็ สีทอ่ี ยู่ไดท้ งั้ ในวรรณะสีอนุ่ และวรรณะสีเยน็ ได้ _________ คะแนน ก. นา้ เงนิ + แดง ข. น้าเงิน + ขาว คะแนนเต็ม 10 คะแนน ค. น้าเงนิ + เหลือง ง. นา้ เงนิ + เขยี ว ๒. ขอ้ ใดมีความสัมพันธ์กนั อย่างถกู ต้อง ข. สีวรรณะเย็น - รุนแรง ก. สีวรรณะเยน็ - การต่อสู้ ง. สวี รรณะอุน่ - ต่ืนเตน้ ค. สีวรรณะอุ่น - เย็นสบาย ๓. ถ้านกั เรยี นต้องการวาดภาพท่ีแสดงถึงบรรยากาศยามคา่ คืน นักเรยี นจะเลอื กใช้สใี นข้อใด ก. สีวรรณะเยน็ ข. สวี รรณะกลาง ค. สวี รรณะอุน่ ง. สีวรรณะอุ่นและสีวรรณะเยน็ ๔. สีทีเ่ ห็นน้เี ป็นสขี องวรรณะใด ก. สีวรรณะเยน็ ข. สีวรรณะอุน่ สีเขียว ค. สีวรรณะกลาง ง. สีวรรณะอุ่นและสวี รรณะเยน็ ๕. สีท่เี หน็ นี้เป็นสีวรรณะใด ก. สวี รรณะเยน็ ข. สีวรรณะอ่นุ ค. สีวรรณะกลาง สขี าว ง. สีวรรณะอนุ่ และสวี รรณะเย็น ๖. ข้อใดไม่ใช่ประโยชนข์ องการเปรียบเทยี บความคิด ความรู้สึกที่ถ่ายทอดผ่านงานทศั นศลิ ป์ของตนเองและ บคุ คลอน่ื ก. ทาใหเ้ กิดการเรยี นรู้ ข. ทาใหไ้ ด้ความคิดใหม่ ๆ ค. ทาใหเ้ กิดความขดั แย้งกัน ง. นามาปรบั ปรงุ งานของตนเองได้
๗. ถ้านักเรียนใช้สวี รรณะอุน่ ในภาพวาด ภาพน้ันก็จะเก่ียวขอ้ งกบั ข้อใดมากที่สดุ ก. คืนท่ีฝนตก ข. เท่ยี วเขาใหญ่ ค. บ้านของฉันคือพระอาทิตย์ ง. ผจญภยั ใต้ท้องทะเล ๘. ภาพน้ใี ช้สวี รรณะใด ก. สีวรรณะเยน็ ดอกไมส้ ีขาว ใบไม้ ข. สีวรรณะกลาง สเี ขยี ว พื้นหลงั สฟี ้า ค. สวี รรณะอนุ่ ง. สีวรรณะอุ่นและสีวรรณะเยน็ ๙. สีใดอยไู่ ด้ท้ังในวรรณะสอี ุ่นและวรรณะสเี ย็น ก. เหลือง ข. น้าเงิน ค. แดง ง. ดา ๑๐. ภาพนใ้ี หค้ วามรู้สึกถึงข้อใดมากท่ีสุด ก. ความชมุ่ ชน่ื ข. ความร่มเย็น ค. ความอบอุ่น ง. ความชุ่มฉ่า
แบบทดสอบหลงั เรียน (Post-Test) ชอื่ _____________________นามสกุล_____________________เลขที่________ชน้ั _________ คาสัง่ : จงกากบาทเลือกคาตอบทถ่ี ูกตอ้ งท่สี ุดเพียงคาตอบเดียว ๑. ภาพน้ใี หค้ วามรู้สึกถงึ ข้อใดมากที่สดุ ได้ _________ คะแนน ก. ความชมุ่ ชนื่ คะแนนเต็ม 10 คะแนน ข. ความร่มเย็น ค. ความอบอ่นุ ง. ความช่มุ ฉา่ ๒. ภาพนใ้ี ช้สีวรรณะใด ก. สีวรรณะเย็น ข. สวี รรณะกลาง ค. สวี รรณะอนุ่ ง. สีวรรณะอุ่นและสีวรรณะเย็น ดอกไม้สขี าว ใบไม้ สีเขยี ว พ้นื หลังสฟี ้า ๓. สคี ูใ่ ดเม่ือผสมกนั แลว้ จะเปน็ สีท่ีอยูไ่ ด้ท้ังในวรรณะสีอุน่ และวรรณะสเี ยน็ ก. น้าเงิน + แดง ข. นา้ เงิน + ขาว ค. น้าเงิน + เหลอื ง ง. น้าเงิน + เขยี ว ๔. สีที่เหน็ น้เี ปน็ สีของวรรณะใด ก. สวี รรณะเยน็ ข. สวี รรณะอุ่น สีเขียว ค. สีวรรณะกลาง ง. สีวรรณะอนุ่ และสีวรรณะเยน็ ๕. ข้อใดมีความสมั พนั ธ์กันอยา่ งถกู ต้อง ก. สวี รรณะเย็น - การตอ่ สู้ ข. สวี รรณะเย็น - รุนแรง ค. สวี รรณะอุน่ - เย็นสบาย ง. สวี รรณะอนุ่ - ตนื่ เต้น ๖. สที ่เี หน็ น้เี ป็นสวี รรณะใด ก. สวี รรณะเยน็ ข. สีวรรณะอุ่น ค. สวี รรณะกลาง สขี าว ง. สวี รรณะอุ่นและสีวรรณะเยน็
๗. สีใดอยไู่ ด้ทงั้ ในวรรณะสอี ุ่นและวรรณะสีเยน็ ก. เหลือง ข. น้าเงนิ ค. แดง ง. ดา ๘. ถา้ นกั เรยี นใชส้ วี รรณะอนุ่ ในภาพวาด ภาพน้ันกจ็ ะเกี่ยวข้องกับข้อใดมากทีส่ ดุ ก. คืนท่ฝี นตก ข. เทย่ี วเขาใหญ่ ค. บา้ นของฉันคือพระอาทิตย์ ง. ผจญภยั ใต้ทะเล ๙. ถา้ นักเรยี นต้องการวาดภาพท่ีแสดงถงึ บรรยากาศยามคา่ คืน นกั เรยี นจะเลอื กใชส้ ีในข้อใด ก. สวี รรณะเยน็ ข. สวี รรณะกลาง ค. สีวรรณะอนุ่ ง. สีวรรณะอุน่ และสีวรรณะเยน็ ๑๐. ข้อใดไมใ่ ช่ประโยชนข์ องการเปรียบเทยี บความคดิ ความรูส้ ึกท่ถี า่ ยทอดผา่ นงานทศั นศลิ ป์ของตนเอง และบคุ คลอื่น ก. ทาใหเ้ กดิ การเรยี นรู้ ข. ทาให้ได้ความคิดใหม่ ๆ ค. ทาให้เกดิ ความขัดแยง้ กนั ง. นามาปรับปรุงงานของตนเองได้
เฉลย แบบทดสอบกอ่ นเรียน (Pre-Test) ๓. ก ๔. ก ๕. ข ๘. ก ๙. ก ๑๐. ค ๑. ก ๒. ง ๖. ค ๗. ค เฉลย แบบทดสอบหลังเรยี น (Post-Test) ๓. ก ๔. ก ๕. ข ๘. ค ๙. ก ๑๐. ค ๑. ค ๒. ก ๖. ข ๗. ก
แบบบนั ทกึ สรุปผลการเรียนรูส้ าหรับผู้เรยี น ชือ่ -นามสกลุ ...................................... เลขท่ี ............................................ ช้นั .................................. วนั ที่ ................................................ เดอื น ........................................................... พ.ศ . ..................... คาช้แี จง ให้นกั เรียนบนั ทึกสรุปผลการเรยี นรจู้ ากหน่วยการเรียนรู้น้ี นักเรยี นยงั ไม่เขา้ ใจเรื่องใด นักเรยี นมีความรู้สึกอยา่ งไร นกั เรียนไดร้ บั ความรเู้ ร่อื งใดบ้าง อกี บา้ งทเ่ี ก่ียวกับหน่วยการเรียนร้นู ี้ หลังจากที่เรียนหนว่ ยการเรียนร้นู ี้ จากหนว่ ยการเรยี นรนู้ ี้ ซง่ึ ตอ้ งการให้ครูอธิบายเพม่ิ เติม แลว้ ..................................................... ........................................................ ..................................................... ..................................................... ........................................................ ..................................................... .................................................. ........................................................ ..................................................... . .................................................... . หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี ................................ นักเรียนจะสามารถนาความรู้ ผลงานท่ีนกั เรียนชอบและต้องการ นักเรียนได้ทากิจกรรมอะไรบ้าง ใน ความเข้าใจจากหนว่ ยการเรียนร้นู ้ี คัดเลอื กเปน็ ผลงานดเี ด่นจาก หนว่ ยการเรียนรนู้ ี้ ไปใชป้ ระโยชน์ในชวี ิตประจาวันทีม่ ี หน่วยการเรยี นรนู้ ้คี อื ผลงานใดบา้ ง ............................................................ สถานการณ์ระบาดของไวรัสโคโรนา เพราะอะไร ............................................................ 2019ไดอ้ ยา่ งไรบ้าง ........................................................ ............................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................... ........................................................ ........................................................ ........................................................
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ๑ เรอ่ื ง สังเกตสกู่ ารสร้างสรรค์ กลุ่มสาระการเรียนรศู้ ลิ ปะ : ทัศนศลิ ป์ รหัสวชิ า ศ ๑๓๑๐๑ ชั้นประถมศึกษาปที ี่ ๓ ภาคเรยี นที่ ๑ เวลาเรยี น ๑๔ ช่ัวโมง ผ้สู อน.................................................โรงเรียน.............................................................. .............................................................................................................................................................................................................. ๑. มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตวั ช้ีวดั มาตรฐานการเรียนรู้ ศ ๑.๑ สร้างสรรคง์ านทัศนศลิ ป์ตามจนิ ตนาการและความคิดสรา้ งสรรค์ วเิ คราะห์ วิพากษว์ ิจารณค์ ุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรสู้ กึ ความคดิ ต่องานศลิ ปะอยา่ งอิสระ ชน่ื ชมและประยุกต์ใช้ในชวี ิตประจาวนั ตวั ชีว้ ัด ศ ๑.๑ ป.๓/๓ จาแนกทศั นธาตขุ องสงิ่ ตา่ ง ๆ ในธรรมชาติ ส่ิงแวดล้อม และงานทัศนศิลป์ โดยเนน้ เรือ่ ง เสน้ สี รปู ร่าง รปู ทรง พนื้ ผวิ ศ ๑.๑ ป.๓/๙ ระบแุ ละจดั กลมุ่ ของภาพตามทศั นธาตทุ เ่ี นน้ ในงานทัศนศลิ ป์น้ัน ๆ ศ ๑.๑ ป.๓/๑๐ บรรยายลักษณะรูปร่าง รปู ทรง ในการออกแบบสง่ิ ที่มีในบ้านและโรงเรียน ๒. สาระสาคัญ เสน้ สี รปู รา่ ง รูปทรง พ้นื ผวิ คอื ทัศนธาตุของสง่ิ ต่าง ๆ ในสิ่งแวดล้อมและงานทัศนศลิ ป์ การสงั เกต การคดิ สร้างสรรค์และการฝึกฝนทักษะพ้ืนฐานในการทางานทศั นศลิ ป์จะช่วยใหเ้ ราสรา้ งผลงานทศั นศิลป์ได้เป็น อยา่ งดี ๓. ความเข้าใจท่ีคงทน (Enduring Understanding) การสงั เกตเส้น สี รปู ร่าง รูปทรง พ้นื ผิวของส่ิงต่าง ๆ ในส่ิงแวดลอ้ มและงานทัศนศิลปเ์ ป็นทกั ษะพนื้ ฐาน ในการทางานทัศนศิลป์ ๔. สาระการเรยี นรู้ ๑. ทศั นธาตุในสง่ิ แวดลอ้ มและในงานทัศนศลิ ป์ ๑.๑ การถา่ ยทอดความรู้สกึ ที่เหน็ ออกมาเป็นผลงาน ๑.๒ การจัดกลมุ่ ของภาพตามทัศนธาตุทเ่ี น้นในงานทศั นศิลป์ ๒. การฝึกฝนทกั ษะพ้ืนฐาน ๒.๑ สงั เกตเส้นในธรรมชาติ ๒.๒ วาดเส้นให้สนุก ๒.๓ เสน้ สร้างพนื้ ผวิ ๒.๔ พน้ื ผวิ ในงานปัน้ ๒.๕ สีในพืน้ ผิว ๒.๖ สรา้ งความสวยดว้ ยสี ๓. สรา้ งสรรค์งานออกแบบ ๓.๑ สังเกตงานออกแบบรอบตวั ๓.๒ ออกแบบส่งิ ต่าง ๆ ตามจินตนาการ
๕. คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ใฝเ่ รียนรู้ ตวั ช้วี ดั ท่ี ๔.๒ แสวงหาความรจู้ ากแหลง่ เรยี นรู้ในท้องถิ่นต่าง ๆ ทง้ั ภายในและภายนอกโรงเรียนด้วยการ เลอื กใช้สื่ออย่างเหมาะสม บันทึกความรู้ วิเคราะห์ สรุปเป็นองค์ความรู้ และสามารถนาไปใช้ในชีวติ ประจาวันได้ ๖. สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียน - ความสามารถในการคิด ชนิ้ งานหรอื ภาระงาน (หลกั ฐาน รอ่ งรอยแสดงความร้)ู - ออกแบบส่ิงต่าง ๆ ตามจนิ ตนาการ ๗. การประเมินผล ๑. การประเมินผลตัวชวี้ ดั ให้ครูประเมินการสรา้ งสรรค์ผลงานการออกแบบของนักเรียน โดยใชเ้ กณฑ์การประเมิน ดังน้ี เกณฑ์การประเมิน ระดบั คะแนน ออกแบบสง่ิ ต่าง ๆ ๔ ๓๒ ๑ ตามจนิ ตนาการ โดยเน้นเรื่องเส้น ใช้เสน้ สี รปู ร่าง ใชเ้ ส้น สี รปู รา่ ง ใช้เสน้ สี รูปรา่ ง ใชเ้ ส้น สี รปู รา่ ง สี รปู รา่ ง รปู ทรง รปู ทรง และพ้นื ผวิ รปู ทรง และพนื้ ผิว พ้ืนผิว ในการออกแบบ รปู ทรง และพ้นื ผิว รูปทรง และพน้ื ผวิ ในการออกแบบ แต่ แตกต่างจากที่ครู ต้องให้ผู้อน่ื แนะนา ยกตวั อย่างสามารถ ในการออกแบบ ในการออกแบบ ใหค้ าแนะนา เพิ่มเติมกบั ผู้อื่นได้ แตกตา่ งจากท่ีครู แต่เหมอื นทคี่ รู ยกตวั อยา่ ง ยกตัวอยา่ ง แต่ไมส่ ามารถให้ คาแนะนาเพ่ิมเตมิ กับผู้อืน่ ได้
๒. การประเมินผลคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ใฝ่เรียนรู้ ตัวชีว้ ัดท่ี ๔.๒ แสวงหาความรูจ้ ากแหลง่ เรียนรู้ตา่ ง ๆ ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียนดว้ ยการเลือกใช้ส่อื อยา่ งเหมาะสม บนั ทกึ ความรู้ วเิ คราะห์ สรุปเปน็ องค์ความรู้ และสามารถนาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้ พฤตกิ รรมบ่งช้ี ไม่ผ่าน (๐) ผา่ น (๑) ดี (๒) ดเี ยี่ยม (๓) ๔.๒.๑ ศึกษาค้นควา้ หา ไมศ่ ึกษาค้นควา้ ศึกษาคน้ คว้าหา ศึกษาคน้ ควา้ หา ศกึ ษาคน้ ควา้ หา ความรูจ้ ากหนงั สือ เอกสาร หาความรู้ ความร้จู ากหนงั สือ ความรู้จากหนังสือ ความรู้จากหนังสือ สง่ิ พมิ พ์ สอ่ื เทคโนโลยี เอกสาร สงิ่ พิมพ์ เอกสาร สง่ิ พิมพ์ เอกสาร สงิ่ พิมพ์ ต่าง ๆ แหลง่ เรยี นรู้ท้ัง ส่อื เทคโนโลยีหรอื ส่อื เทคโนโลยี แหล่ง สอื่ เทคโนโลยี แหลง่ ภายใน โรงเรยี นและท้องถิ่น จากแหล่งเรียนรอู้ ื่น เรยี นร้อู ืน่ เรยี นรอู้ นื่ เลอื กใชส้ ่อื ได้อย่างเหมาะสม มีการบันทึกความรู้ มีการบันทึกความรู้ ๔.๒.๒ บันทกึ ความรู้ แลกเปล่ียนความรู้ วเิ คราะห์ ตรวจสอบจาก กับผอู้ ืน่ สิ่งท่ีเรยี นรู้ สรปุ เป็นองค์ ความรู้ ๔.๒.๓ แลกเปล่ยี นเรียนรู้ ด้วยวธิ ีการต่าง ๆ และ นาไปใช้ในชีวติ ประจาวนั ๘. การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ ๑. ให้นักเรียนแสดงความคดิ เหน็ เกี่ยวกับภาพธรรมชาติในทอ้ งถิน่ และส่ิงต่าง ๆ รอบตวั ๒. ให้นกั เรียนสงั เกตส่งิ ต่าง ๆ ที่อยูร่ อบตัว ๓. ให้นักเรียนอธบิ ายทศั นธาตุของสิง่ ต่าง ๆ รอบตวั ท้ังในชุมชน ทอ้ งถ่ิน ๔. ใหน้ กั เรียนรว่ มกันแลกเปล่ียนความคดิ เห็นเกี่ยวกับประสบการณใ์ นการวาดภาพ ๕. ใหน้ กั เรียนเขยี นแผนภาพความคิดแสดงทัศนธาตตุ ่าง ๆ ในงานทัศนศิลป์ ๖. ใหน้ ักเรยี นจดั กลมุ่ ภาพตามทัศนธาตุท่ีเหน็ ในงานทัศนศิลป์ ๗. ใหน้ กั เรียนวาดภาพสง่ิ ต่าง ๆ รอบตัว ท่ตี นเองชน่ื ชอบและเกดิ ความประทับใจ ๘. ให้นักเรียนแสดงผลงานของตนเอง ชืน่ ชมและแลกเปล่ยี นความคดิ เหน็ ๙. ส่ือการเรียนรู้ ๑. บัตรภาพ ๒. ธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ มในท้องถ่ิน ๓. สง่ิ ตา่ ง ๆ รอบตัว
แบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-Test) ชื่อ_____________________นามสกลุ _____________________เลขท่ี________ชน้ั _________ คาสั่ง : จงกากบาทเลือกคาตอบทถ่ี ูกตอ้ งทสี่ ุดเพียงคาตอบเดียว ๑. ภาพน้ปี ระกอบด้วยเส้นชนดิ ใด ได้ _________ คะแนน ก. เสน้ ขด คะแนนเตม็ 10 คะแนน ข. เส้นตรง ค. เสน้ โค้ง ง. ถูกทกุ ข้อ ๒. ภาพใดประกอบด้วยเส้นตรง ก. ข. ค. ง. ๓. ภาพใดที่แสดงถงึ ผิวเรียบ ข. ก. ค. ง. ใช้ภาพตอ่ ไปนีต้ อบคาถามข้อ ๔ - ๖ ๔. ข้อใดถกู ต้อง ก. ภาพนกเป็นภาพลายเส้น ข. ภาพแกะเป็นภาพลายเสน้ ค. ภาพคางคกเปน็ ภาพสีน้า ง. ภาพแกะเปน็ ภาพสีนา้
๕. ข้อใดเป็นกล่มุ ภาพลายเสน้ ก. ภาพนก ภาพคางคก ข. ภาพแกะ ภาพนก ค. ภาพนก ภาพแมลงปอ ง. ภาพแกะ ภาพคางคก ๖. ถ้านักเรยี นจดั กลมุ่ ใหภ้ าพนกและภาพแมลงปออยู่ในกลุ่มเดยี วกนั กลุ่มภาพของนักเรียนคอื ข้อใด ก. กลมุ่ ภาพสนี ้า ข. กลมุ่ ภาพสเี ทยี น ค. กล่มุ ภาพลายเสน้ ง. กล่มุ ภาพสัตวป์ กี ๗. เสน้ ที่เห็นนี้เกดิ จากการใช้อุปกรณ์ใด ก. ข. ค. ง. ๔ ๘. ขอ้ ใดบรรยายภาพนี้ได้ถูกต้อง ก. มีรปู ร่างเปน็ รูปสามเหล่ียม ข. ประกอบด้วยเส้นขด ค. มีรูปรา่ งเป็นรปู วงกลม ง. ประกอบด้วยเสน้ ตรง ๙. การวาดภาพระบายสีตามความรสู้ กึ มีประโยชน์อย่างไร ก. ได้วาดภาพใหเ้ หมอื นภาพถา่ ย ข. ได้ใช้ความคิดสร้างสรรค์ ค. ฝกึ วาดใหเ้ หมือนคนอ่นื ง. ได้ฝึกวาดให้เหมือนจรงิ
๑๐. งานออกแบบในข้อใด ไม่มีส่วนประกอบของรปู วงกลม ก. ข. ค. ง.
แบบทดสอบหลังเรียน (Post-Test) ชอ่ื _____________________นามสกุล_____________________เลขที่________ชนั้ _________ คาส่ัง : จงกากบาทเลือกคาตอบท่ีถูกตอ้ งทสี่ ดุ เพียงคาตอบเดียว ได้ _________ คะแนน ใชภ้ าพต่อไปน้ตี อบคาถามข้อ ๑ - ๓ คะแนนเตม็ ๑๐ คะแนน ๑. ขอ้ ใดถูกต้อง ก. ภาพนกเป็นภาพลายเส้น ข. ภาพแกะเปน็ ภาพลายเส้น ค. ภาพคางคกเปน็ ภาพสีนา้ ง. ภาพแกะเปน็ ภาพสนี า้ ๒. ข้อใดเป็นกลมุ่ ภาพลายเส้น ก. ภาพนก ภาพคางคก ข. ภาพแกะ ภาพนก ค. ภาพนก ภาพแมลงปอ ง. ภาพแกะ ภาพคางคก ๓. ถา้ นกั เรียนจดั กลมุ่ ให้ภาพนกและภาพแมลงปออยู่ในกลุ่มเดยี วกนั กล่มุ ภาพของนกั เรียนคือข้อใด ก. กลมุ่ ภาพสีนา้ ข. กล่มุ ภาพสีเทียน ค. กลุม่ ภาพลายเส้น ง. กลุ่มภาพสัตว์ปีก ๔. ภาพใดทีแ่ สดงถงึ ผวิ เรียบ ข. ก. ง. ค.
๕. ภาพนป้ี ระกอบดว้ ยเส้นชนิดใด เสน้ ทเ่ี ห็นนเี้ กิดจากการใชอ้ ุปกรณใ์ ด ก. เสน้ ขด ข. เสน้ ตรง ค. เสน้ โค้ง ง. ถูกทกุ ข้อ ๖. ก. ข. ค. ง. ข. ๗. ขอ้ ใดบรรยายภาพนี้ไดถ้ ูกตอ้ ง ก. มรี ปู รา่ งเปน็ รูปสามเหลีย่ ม ข. ประกอบดว้ ยเส้นขด ค. มรี ปู รา่ งเป็นรูปวงกลม ง. ประกอบด้วยเส้นตรง ๘. ภาพใดประกอบดว้ ยเส้นตรง ก. ค. ง. ๙. งานออกแบบในข้อใด ไม่มีสว่ นประกอบของรปู วงกลม ก. ข. ค. ง.
๑๐.การวาดภาพระบายสีตามความรสู้ ึกมีประโยชนอ์ ยา่ งไร ก. ไดว้ าดภาพใหเ้ หมอื นภาพถ่าย ข. ไดใ้ ชค้ วามคดิ สร้างสรรค์ ค. ฝกึ วาดให้เหมอื นคนอ่ืน ง. ไดฝ้ กึ วาดใหเ้ หมอื นจริง
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรยี น (Pre-Test) ๑. ค ๒. ก ๓. ค ๔. ข ๕. ง ๘. ค ๙. ข ๑๐. ค ๖. ก ๗. ง ๔. ค ๕. ค เฉลยแบบทดสอบหลังเรยี น (Post-Test) ๙. ค ๑๐. ข ๑. ข ๒. ง ๓. ก ๘. ก ๖. ง ๗. ค
แบบบันทึกสรปุ ผลการเรียนรสู้ าหรับผู้เรยี น ชอื่ -นามสกลุ ...................................... เลขท่ี ............................................ ชั้น ...................... ............ วนั ที่ ................................................ เดอื น ........................................................... พ.ศ . ..................... คาช้ีแจง ใหน้ ักเรยี นบันทกึ สรปุ ผลการเรยี นรจู้ ากหน่วยการเรียนร้นู ี้ นักเรียนยงั ไมเ่ ข้าใจเร่ืองใด นักเรยี นมคี วามรู้สึกอยา่ งไร นกั เรียนไดร้ บั ความรู้เรื่องใดบ้าง อีกบา้ งทเ่ี กยี่ วกับหน่วยการเรียนร้นู ี้ หลงั จากที่เรยี นหน่วยการเรยี นรู้น้ี จากหน่วยการเรยี นรู้น้ี ซึง่ ต้องการใหค้ รูอธิบายเพิ่มเติม แล้ว ..................................................... ........................................................ ..................................................... ..................................................... ........................................................ ..................................................... ..................................................... .................................................... ..................................................... ..................................................... นักเรียนจะสามารถนาความรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่....... กิจกรรมท่ีนักเรียนชอบมากท่ีสุดใน ความเข้าใจจากหน่วยการเรยี นรู้นี้ .................................... ห น่ ว ย ก า ร เ รี ย น รู้ น้ี คื อ กิ จ ก ร ร ม ใ ด ไปใช้ประโยชน์ในชวี ิตประจาวนั ได้ ............................... เพราะอะไร อยา่ งไรบ้าง ............................................................ ........................................................ ผลงานท่นี กั เรียนชอบและต้องการ ............................................................ ........................................................ คดั เลือกเป็นผลงานดเี ด่นจาก ............................................................ ........................................................ หนว่ ยการเรียนรนู้ ีค้ อื ผลงานใดบ้าง ........................................................ ............................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ .
Search
Read the Text Version
- 1 - 28
Pages: