โครงงานคณุ ธรรม เดก็ ดีย้มิ งา่ ย ไหว้สวย ดว้ ยการทกั ทาย (well behave, heartily smile, and courteously greet) ผู้รับผดิ ชอบ 1. เดก็ หญิงกัญญารัตน์ พงึ่ จติ ตน นักเรยี นช้นั ประถมศึกษาปีที่ 6 2. เดก็ หญงิ พิรญาณ์ เจ๊กรวย นกั เรยี นช้ันประถมศึกษาปที ่ี 6 3. เด็กหญิงรธู ทนสันเทยี ะ นกั เรยี นชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 5 4. เดก็ หญงิ นภาพร เปลีย่ นประเสรฐิ นกั เรยี นชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 5 5. เด็กหญงิ นราวดี ปน่ิ กระจ่าง นักเรยี นช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 4 6. นายศริ ิพงษ์ เชือ้ ดี ผูอ้ ำนวยการโรงเรยี น 7. นางสุภาพร แสงวุธ รองผูอ้ ำนวยการโรงเรยี น 8. นางสาวนงเยาว์ กา๋ มี ครทู ปี่ รกึ ษาโครงงาน 9. นางสาวอญั รตั น์ หงสส์ ุรยิ า ครูท่ีปรึกษาโครงงาน 10.นางสาวนุจเรศ ศาลางาม ครูที่ปรกึ ษาโครงงาน โรงเรียนชมุ ชนวัดบวั แก้วเกษร(วรพงศ์อนุกูล) อำเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทมุ ธานี สำนกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาปทุมธานี เขต 1
โครงงานคุณธรรม เด็กดียิ้มง่าย ไหว้สวย ด้วยการทักทาย (well behave, heartily smile, and courteously greet) ผรู้ บั ผิดชอบโครงงาน 1. เด็กหญงิ กัญญรตั น์ พ่ึงจิตตน นกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 6 2. เดก็ หญิงพิรญาณ์ เจก๊ รวย นกั เรยี นช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 6 3. เดก็ หญิงรูธ ทนสันเทยี ะ นกั เรียนชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 5 4. เด็กหญงิ นภาพร เปล่ียนประเสรฐิ นักเรยี นชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 5. เด็กหญิงนราวดี ป่ินกระจ่าง นกั เรยี นช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 4 6. นายศริ พิ งษ์ เชื้อดี ผอู้ ำนวยการโรงเรียน 7. นางสภุ าพร แสงวุธ รองผอู้ ำนวยการโรงเรียน 8. นางสาวนงเยาว์ กา๋ มี ครูที่ปรึกษาโครงงาน 9. นางสาวอญั รัตน์ หงส์สุรยิ า ครทู ปี่ รกึ ษาโครงงาน 10.นางสาวนจุ เรศ ศาลางาม ครูท่ปี รกึ ษาโครงงาน โรงเรยี นชมุ ชนวัดบัวแก้วเกษร (วรพงศ์อนกุ ลู ) ต.ระแหง อ.ลาดหลุมแกว้ จ.ปทุมธานี 12140 สำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาปทุมธานี เขต 1
คำนำ โรงเรียนชุมชนวัดบัวแก้วเกษร (วรพงศ์อนุกูล) ได้จัดทำแผนโครงงานคุณธรรม เพื่อใช้เป็น แนวทางในการดำเนินงานสง่ เสริมพฒั นานักเรยี นใหเ้ ปน็ คนดี มีคณุ ภาพ สามารถอยรู่ ่วมกับผอู้ น่ื ในสังคมได้ อย่างเป็นปกติสุข โดยให้สอดคล้องกับแนวทางการพัฒนาประเทศตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติที่เน้นการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพของคน ภายใต้กรอบนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ และสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ทั้งนี้ดำเนินงานโครงงานโรงเรียนคุณธรรมนี้จะใช้เป็น แผนงานในการปฏิบัติงานในหน้าที่ความรับผิดชอบของคณะครู นักเรียน โรงเรียนชุมชนวัดบัวแก้วเกษร (วรพงศ์อนุกลู ) ในปกี ารศึกษา 2565 นี้ ในการจัดทำแผนโครงงานคุณธรรม คณะครูบุคลากรในโรงเรียนทุกคน ได้มีส่วนร่วมและใหค้ วาม รว่ มมอื ในการจัดทำ จงึ ทำใหก้ ารดำเนนิ งานสำเร็จลงได้ด้วยดี สามารถนำไปใช้ในการดำเนนิ งานเพ่ือทำให้ โรงเรียนสามารถปฏิบัตงิ านได้อย่างดี อนั จะกอ่ ให้เกิดประโยชนใ์ นการพัฒนาคุณภาพนักเรียนและโรงเรียน ในโอกาสตอ่ ไป โรงเรียนชุมชนวัดบวั แกว้ เกษร (วรพงศ์อนุกลู ) พฤศจิกายน 2565
ก บทคัดยอ่ เพื่อให้การดำเนินงานส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมสอดคล้องกับแนวทางโรงเรียนคุณธรรม โรงเรียนชุมชนวัดบัวแก้วเกษร (วรพงศ์อนุกูล) จึงได้มีการจัดทำโครงการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมสำหรับ นักเรียนเพื่ออบรมพัฒนานักเรียนให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์เป็นผู้มีคุณธรรมจรยิ ธรรมที่สังคมต้องการ แต่ในการพัฒนานักเรียนนั้นยังพบว่านักเรียนในโรงเรียนยังมีพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมที่ต้องดำเนินการ แกไ้ ขรว่ มกนั ทง้ั ระบบ จึงต้องมีการจัดทำโครงการท่ีใชใ้ นการแก้ไขปัญหานน้ั ซึง่ ปัญหาร่วมกันของโรงเรียน ที่ต้องการแก้ไขคือเรื่องของการไหว้ เพื่อให้การดำเนินงานตามโครงการเกิดความชัดเจนโรงเรียนจึงได้ จัดทำโครงการเด็กดียิ้มง่าย ไหว้สวย ด้วยการทักทาย เพื่อให้เกิดโครงการแก้ไขที่เป็นรูปธรรมมากขึ้น สอดคล้องกับแนวทางของสำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐานท่ีต้องการให้เกิดโครงการคุณธรรม แต่ละโรงเรียนเพื่อคืนคนดีให้กับสังคม ทั้งนี้เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามขั้นตอนและมีระเบียบแบบ แผน โรงเรียนจึงได้กำหนดให้มีแผนการดำเนินงานน้ีข้ึนเพ่ือใชเ้ ป็นแนวทางในการขับเคล่ือนดำเนินการโดย บรรจุโครงการคุณธรรมเปน็ สว่ นหน่ึงของการดำเนนิ งาน การทักทายด้วยการไหว้และบุคลิกภาพเป็นสิ่งหนึ่งของรูปลักษณ์ภายนอกที่สะดุดตาของผู้อ่ืน เป็นอันดับแรกในการพบเจอผู้คน ผู้ที่มีมารยาทรู้จักการทักทายด้วยการไหว้และมีบุคลิกภาพที่ดีมักจะ สร้างความประทับเมื่อแรกพบให้กับผู้อื่น เป็นลักษณะที่จะบ่งบอกถึงคุณลักษณะที่ดี ผู้ที่ มีมารยาท มีบุคลิกภาพที่ดี เรียบร้อยจะเป็นที่ชื่นชมของผู้อื่น ซึ่งทั้งการไหว้และบุคลิกภาพที่ไม่เรียบร้อยเป็น พฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ของนักเรียนโรงเรียนชุมชนวัดบัวแก้วเกษร (วรพงศ์อนุกูล) บ่งบอกถึงการขาด คุณธรรมในด้านอ่อนน้อมถ่อมตน จึงควรได้รับการแก้ไขให้ถูกต้องเพื่อบุคลิกภาพที่ดีงาม โรงเรียนจึงมี การจัดทำโครงการคุณธรรมเด็กดี ยิ้มง่าย ไหว้สวย ด้วยการทักทาย เพื่อส่งเสริมให้มีความรัก เมตตา กตญั ญู รกั ความเป็นไทยอันเปน็ เอกลกั ษณ์ทสี่ วยงาม หลังจากทไ่ี ดด้ ำเนนิ กจิ กรรมพบวา่ นักเรยี น โรงเรียน ชมุ ชนวดั บัวแก้วเกษร(วรพงศ์อนุกลู ) มพี ฤตกิ รรมอันพึงประสงค์ คอื มีความเคารพ ออ่ นน้อมถ่อมตน และ มีมารยาท เป็นเดก็ ดี ยม้ิ งา่ ย ไหว้สวย ดว้ ยการทกั ทาย
บทที่ 1 บทนำ 1. ท่ีมาและความสำคัญ การไหว้ ประกอบด้วยกิรยิ า 2 ส่วนด้วยกัน คือ การประนมมือ และการไหว้ การประนมมือ หรือ ทีเ่ รียกวา่ \"อญั ชลี” เป็นการแสดงความเคารพ โดยการประนมมอื เลก็ นอ้ ยใหป้ ลายนว้ิ มือทัง้ สองข้างชิดกัน ฝา่ มือ ทง้ั สองประกบเสมอกนั แนบระหว่างอก ปลายนิว้ เฉียงขน้ึ พอประมาณ แขนแนบลำตัวไมก่ างศอกทั้ง ชายและหญิงปฏิบัติเหมือนกัน การไหว้ (วันทา) เป็นการแสดงความเคารพโดยการประนมมือ แล้วยกมือ ทั้งสองขึ้น จรดใบหน้า แสดงถึงความเคารพ ซึ่งแบ่งได้เป็น 3 ระดับ ตามระดับของบุคคล ระดับที่ 1 การไหว้พระ ได้แก่ การไหว้พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ รวมทั้งปูชนียสถาน ปูชนียวัตถุ ที่เกี่ยวกับ พระพุทธศาสนา ใชใ้ นกรณที ่ไี ม่สามารถกราบแบบเบญจางคประดิษฐ์ได้ ใหป้ ระนมมอื และยกขึ้นพร้อมกับ ค้อมศรี ษะลง ให้หวั แมม่ อื จรดหว่างคิ้ว ปลายน้วิ ชี้แนบสว่ นบน ของหนา้ ผาก ระดับที่ 2 การไหวผ้ ู้มพี ระคุณ และผู้ที่มีอายุมาก ได้แก่ ปู่ ย่า ตา ยาย พ่อ แม่ ครูอาจารย์ และผู้ที่เราเคารพนับถือ ให้ประนมมือแล้ว ยกขน้ึ พร้อมกับคอ้ มศีรษะลงให้หวั แม่มือจรดปลายจมูก ปลายน้ิวชแี้ นบหวา่ งค้วิ ระดบั ที่ 3 การไหว้บุคคล ทั่วๆ ไป ท่ีเคารพนบั ถือหรือผู้ท่ีมีอายุมากกว่าเล็กน้อย ใหป้ ระนมมือ แล้วยกข้ึนพร้อมกับค้อมศีรษะลง ให้ หัวแม่มือจรดปลายคาง ปลายนิ้วชี้แนบปลายจมูก หากจะใช้แสดงความเคารพผู้ที่มีอายุเท่ากันหรือเพื่อน กัน ให้ยืนตรงไหว้และไม่ตอ้ งคอ้ มศรี ษะ ปัจจุบันสิ่งที่เกิดจากพฤติกรรมของคนไทย โดยเฉพาะการหลงกับค่านิยมและกระแสสังคมที่ไม่ ถูกต้อง เน้นวัตถุและการบริโภคที่ละเลยสิ่งที่เป็นความดี ความจริงและความงดงามในด้านคุณธรรม จริยธรรม ทำให้ประเทศล้าหลังในด้านต่างๆ เมื่อเทียบกับเพื่อนบ้านในอาเซียน และอารยธรรมทั่วโลก ที่สำคัญเมื่อเปรียบเทียบกับตนเองในอดีตที่ประเทศเป็นบ้านเมืองที่ดี ประชาชนมีความสุข จึงเป็นเวลา ทีค่ นในประเทศต้องร่วมมอื กนั ในการฟ้ืนฟูบ้านเมือง โดยการสร้างคนดี (มลู นิธิยวุ สถิรคุณ,2559 : น.21) พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชฯ รัชกาลที่ 9 มีพระราชประสงค์ว่า “ให้โรงเรียนสร้างคนดีให้แก่บ้านเมือง” โดยได้พระราชทานหลัก 3 ประการในเรื่องของครูและนักเรียน คือ 1.ให้ครูรักเด็กและเด็กรักครู 2.ให้ครูสอนเด็กให้มีน้ำใจกับเพื่อน ไม่ควรให้เด็กแข่งขันกัน 3.ให้ครจู ัดกจิ กรรม ให้นกั เรียนทำเป็นหม่คู ณะเพ่อื เห็นคณุ ค่าของความสามคั คี ทั้งนี้แผนการพัฒนาชาติมีเป้าหมายให้ประเทศก้าวไปสู่ความมั่นคง มั่งคั่งและยั่งยืน นำไปสู่ นโยบายเพื่อขับเคลื่อนประเทศในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมประเทศไทย 4.0 ที่ให้เกิดการสร้าง นวัตกรรมในการพัฒนาประเทศ กระทรวงศึกษาธิการจึงไปมีการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ต่างๆ เพื่อให้ สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ โดยเน้นการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพของคน จงึ น้อมนำเอากระแสพระราชปณิธานของพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยูห่ ัวภมู ิพลอดุลยเดชฯ รัชกาลท่ี 9 และ พระราชประสงค์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัววชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร รัชกาลที่ 10 ทจ่ี ะสานตอ่ พระราชปณธิ านในรัชกาลที่ 9 มาดำเนินการจดั ทำนโยบายตา่ งๆ
เพื่อสนองพระราชประสงค์นั้น โครงการโรงเรียนคุณธรรมเป็นนโยบายหนึ่งที่สำนักงาน คณะกรรมการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐานไดใ้ หค้ วามสำคญั ในการขับเคลือ่ นดำเนนิ การเพอ่ื สร้างคนดีใหบ้ ้านเมอื งเพื่อ มุ่งเน้นพัฒนาศักยภาพของครูในการออกแบบการจัดการเรียนรู้เชิงบูรณาการความรู้คู่ความดีและเป็น ต้นแบบที่ดีงามของนักเรียน พัฒนาคุณธรรมจริยธรรมของนักเรียนแบบองค์รวม เน้นการมีส่วนร่วม ที่พัฒนากระบวนการคิดเชิงระบบและใช้โครงงานคุณธรรม (Moral Project) เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ ความดีจากการลงมือปฏิบัติจริง ลดพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ในโรงเรียน ปรับเปลี่ยนแนวทางการศึกษา ของประเทศ พัฒนาความสมั พนั ธ์ท่ดี ขี องครูและนกั เรียน โครงงานคุณธรรม หรือโครงงานความดี เป็นนวัตกรรมการเรียนรู้ที่ส่งเสริมการทำความดี มีคุณธรรมแบบเชิงรุก โดยให้ผู้เรียนที่เป็นเด็กและเยาวชนเกิดความรู้สกึ เป็นเจ้าของกิจกรรมการเรียนรู้น้ี เอง ผ่านเทคนิควธิ กี ารเรียนรู้แบบโครงงาน (Project Approach) โดยประเดน็ ทเ่ี ลอื กทำโครงงานนั้นเกิด ขึ้นมาจากความสนใจและความคิดริเริ่มของผู้เรียนเอง เน้นการเรียนรู้ผ่านการปฏิบัติงานจริง ด้วยความ พากเพียรพยายามอย่างจดจ่อต่อเนื่องในช่วงระยะเวลาที่ยาวนานพอสมควร (ไม่น้อยกว่า 2 เดือน) ในลักษณะวิจัยปฏิบัติการ (action research) นำไปสู่การแก้ไขปัญหาด้านความเสื่อมทรามทางศีลธรรม และส่งเสริมการบ่มเพาะความดีมีคุณธรรมอย่างเป็นรูปธรรมและเป็นระบบ รวมทั้งการขยายความมีส่วน รว่ มไปสู่บคุ คลตา่ งๆ ในสถานศกึ ษาและชมุ ชนของตนเองหรือชุมชนอืน่ ๆ ทเ่ี กยี่ วขอ้ ง ในการดำเนินงานส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมให้สอดคล้องกับแนวทางโรงเรียนคุณธรรม โรงเรียน ชุมชนวัดบัวแก้วเกษร (วรพงศ์อนุกูล) จึงได้มีการจัดทำโครงการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมสำหรับนักเรียน เพ่อื อบรมพัฒนานักเรียนใหม้ คี ณุ ลักษณะที่พึงประสงคเ์ ปน็ ผู้มคี ุณธรรมจรยิ ธรรมทสี่ งั คมตอ้ งการ แต่ในการ พัฒนานักเรียนนั้นยังพบว่านักเรียนในโรงเรียนยังมีพฤติกรรมที่ไม่สอดคล้องตามที่อัตลักษณ์ของโรงเรียน จึงต้องดำเนินการแก้ไขร่วมกันทั้งระบบ จึงต้องมีการจัดทำโครงการที่ใช้ในการแก้ไขปัญหานั้น ซึ่งปัญหา ร่วมกันของโรงเรียนทีต่ ้องการแกไ้ ขคือเรื่องการแสดงความเคารพ เพื่อให้การดำเนินงานตามโครงการเกดิ ความชัดเจนโรงเรียนจึงได้จัดทำโครงการเด็กดีย้ิมง่าย ไหว้สวย ด้วยการทักทาย เพื่อให้เกิดโครงการแก้ไข ทีเ่ ปน็ รปู ธรรมมากขึน้ สอดคล้องกับแนวทางของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานท่ีต้องการให้ เกดิ โครงการคุณธรรมแต่ละโรงเรียนเพื่อคืนคนดีให้กับสังคม ทง้ั น้ีเพอ่ื ใหก้ ารดำเนินงานเปน็ ไปตามขั้นตอน และมีระเบียบแบบแผน โรงเรียนจึงได้กำหนดให้มีแผนการดำเนินงานนี้ขึ้นเพื่อใช้เป็นแนวทางในการ ขบั เคล่ือนดำเนินการโดยบรรจโุ ครงการคณุ ธรรมเปน็ สว่ นหนึ่งของการดำเนินงาน โรงเรยี นชุมชนวัดบัวแก้วเกษร (วรพงศ์อนุกูล) พบว่าปจั จุบันปญั หาการอยูร่ ่วมกนั ในสงั คมท่ีแต่ละ คนต่างทำหน้าที่โดยขาดความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน ถือว่าเป็นปัญหาที่สำคัญ เพราะการทักทายโดยการยิ้ม การไหว้ ถือเป็นเอกลักษณ์ของประเทศที่คนต่างชาติต่างยกย่องให้กับประเทศไทย อันเป็นเสน่ห์ที่น่า หลงใหลในการกลับมาประเทศไทย ดังนั้นการสรา้ ง ส่งเสริม และพัฒนา การยิ้ม การไหว้ และการทักทาย ถือเป็นสิ่งที่จะช่วยให้คนในสังคมมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน ซึ่งนาไปสู่ความปรองดองกันภายในสังคม การพัฒนาการยิ้ม การไหว้ และการทักทาย โดยเริ่มจากตนเอง ครอบครัว โรงเรียน สู่การพัฒนา
ในระดับประเทศชาติ การไหว้เป็นสิ่งหนึ่งของรูปลักษณ์ภายนอกที่สะดุดตาของผู้อื่นเป็นอันดับแรก ในการพบเจอผู้คน ผู้ท่ีมีมารยาทมีบุคลิกที่ดี มักจะสร้างความประทับเมื่อแรกพบให้กับผู้อื่น เป็นลักษณะ ที่จะบ่งบอกถึงคุณลักษณะที่ดี โรงเรียนชุมชนวัดบัวแก้วเกษร (วรพงศ์อนุกูล) ได้ตระหนักถึงปัญหา การสร้างความประทับใจ ปฏิสัมพันธ์ที่ดีในหมู่คณะ จึงได้จัดทำ “โครงงานเด็กดียิ้มง่าย ไหว้สวย ด้วยการทักทาย” จึงได้สร้าง ส่งเสริม พัฒนาการยิ้ม การไหว้ การทักทาย นอกจากจะทำให้คนในสังคม มีสานสัมพนั ธ์ทด่ี ี ให้สอดคลอ้ งกับอัตลักษณ์ของโรงเรยี น เป็นแบบอยา่ งการปฏิบัตขิ องสังคมด้วย 2. วัตถุประสงค์ 1. เพอ่ื ให้นักเรียนสร้างความตระหนกั และปลูกฝังคณุ ธรรมในการย้มิ การไหว้ และการทักทาย 2. เพื่อใหน้ ักเรยี นเพ่ือสง่ เสรมิ การย้มิ การไหว้ และการทกั ทายใหถ้ ูกต้อง 3. เพื่อพฒั นาการย้ิม การไหว้ และการทักทายให้ดยี ่ิงขน้ึ 3. ขอบเขตการศกึ ษาเรียนรู้ สถานที่ในการดำเนนิ การ โรงเรียนชุมชนวดั บวั แก้วเกษร (วรพงศ์อนกุ ลู ) ระยะเวลาในการดำเนินงาน ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2565 กลมุ่ เป้าหมาย ดา้ นปรมิ าณ - นักเรียนโรงเรยี นชุมชนวัดบัวแก้วเกษร (วรพงศ์อนุกลู ) ปีการศึกษา 2565 ชั้นอนุบาล 2 ถึง ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 6 จำนวน 583 คน ดา้ นคุณภาพ - เพิ่มคุณภาพนักเรียนทม่ี จี ติ สานึก ตระหนกั ในการยิ้ม การไหว้ และการทักทายนกั เรียน นกั เรียนโรงเรยี นชุมชนวัดบัวแกว้ เกษร (วรพงศ์อนุกูล) จำนวน 583 คน เป็นเดก็ ดียิ้มงา่ ย ไหว้สวย และการทกั ทายที่ถกู ตอ้ ง เหมาะสม เปา้ หมายระยะสัน้ (ระยะ 2 เดอื น) - นกั เรยี นโรงเรียนชมุ ชนวดั บัวแก้วเกษร (วรพงศ์อนกุ ลู ) มีการยมิ้ การไหว้ และการทักทายที่ ถูกต้อง เหมาะสม มคี วามตระหนกั และปลูกฝงั คณุ ธรรมร้อยละ 50 เปา้ หมายระยะยาว (ระยะ 6 เดือน) - นักเรยี นโรงเรยี นชมุ ชนวดั บวั แก้วเกษร (วรพงศ์อนกุ ลู ) มีมารยาท มคี วามอ่อนนอ้ มถ่อมตน มกี ารย้มิ การไหว้ และการทักทายทีถ่ ูกตอ้ ง เหมาะสมกับเพ่ือนนกั เรียน และคุณครูทุกคน
ตวั ชี้วดั 1. ร้อยละ 100 ของผู้บริหาร ครู บุคลากร นกั เรียนแกนนำ เปน็ แบบอย่างทีด่ ใี นการย้ิม การไหว้ การทกั ทาย และมคี วามออ่ นนอ้ มถ่อมตน สภุ าพเรียบรอ้ ย 2. ร้อยละ 80 ของนักเรียนและมมี ีการยม้ิ การไหว้ และการทกั ทายความอ่อนน้อมถ่อมตน สภุ าพ เรียบรอ้ ย 3. รอ้ ยละ 80 ของนกั เรยี นสง่ เสรมิ การยมิ้ การไหว้ และการทกั ทายให้ถูกต้อง 4. ร้อยละ 100 ของนักเรียนพัฒนาการย้ิม การไหว้ และการทกั ทายให้ดยี ่ิงขนึ้ เหมาะสม ตามกาลเทศะและโอกาส 5. ร้อยละ 80 ของนักเรียนมีตระหนักและปลูกฝังคุณธรรมในการยิ้ม การไหว้ และการทักทาย
บทที่ 2 การดำเนินโครงงาน 4. วธิ ดี ำเนินการ/ขัน้ ตอนการดำเนนิ งาน กิจกรรม ระยะเวลา ผ้รู ับผดิ ชอบ 1. ประชมุ ชแ้ี จง วางแผน แต่งตั้งครรู บั ผดิ ชอบชุมนุม 17 พ.ค. 65 ผบู้ ริหาร 2. จัดทำโครงการ โครงการสอน แผนการจดั กิจกรรม 17 พ.ค. 65 นายศริ ิพงษ์ เชอ้ื ดี , 3. จัดทำคำสัง่ แต่งตง้ั คณะกรรมการดำเนินงาน 19 พ.ค. 65 นางสุภาพร แสงวธุ 4. กิจกรรมโครงการ 20 พ.ค. 65 – - ปัญหาการยม้ิ การไหว้ และการทักทาย ผ้บู รหิ าร (ไมร่ ้จู ักการทักทายสวัสดเี มื่อพบเจอกนั ) ก.ย.65 1. บคุ ลากรผู้บรหิ าร ครู บุคลากรในโรงเรยี นเปน็ ตวั อยา่ ง ผู้มีหน้าที่รับผิดชอบในการ ท่ีดใี นการพดู สภุ าพเรยี บร้อยอยา่ งสม่ำเสมอ ตลอดเวลา ดำเนินงาน 2. ให้ความรมู้ ารยาทในการไหว้โดยสอดแทรกในการทำ กจิ กรรมในห้องเรียนเป็นประจำสมำ่ เสมอ มีการบรู ณา 1. ด.ญ.กัญญารตั น์ พง่ึ จิตตน การการสอนเรื่องมารยาทในการทกั ทายดว้ ยไหว้อยา่ ง 2. ด.ญ. พิรญาณ์ เจก็ รวย เป็นรปู ธรรม 3. ด.ญ. รธู ทนสนั เทยี ะ 3.กจิ กรรม พส่ี อนน้อง 4. ด.ญ. นภาพร เปล่ยี นปรัเสริฐ 4. กิจกรรมยิ้มงา่ ย ไหวส้ วย (หนา้ เสาธงทุกเช้า) 5. ด.ญ. นราวดี ป่นิ กระจา่ ง นางสาวนงเยาว์ ก๋ามี นางสาวอัญรตั น์ หงส์สุริยา นางสาวนจุ เรศ ศาลางาม ทป่ี รกึ ษาโครงการ 5. สำรวจความพึงพอใจในการดำเนนิ งาน ส.ค. 65 -นางสาวนงเยาว์ กา๋ มี 6. กำกบั นิเทศ ตดิ ตาม -นางสาวอญั รัตน์ หงสส์ รุ ิยา 7.ประเมินกจิ กรรม จดั ทำสรุปโครงการ -นางสาวนุจเรศ ศาลางาม พ.ค. 65 – ก.ย. 65 ผบู้ รหิ าร 30 ก.ย. 66 -นางสาวนงเยาว์ ก๋ามี -นางสาวอญั รัตน์ หงส์สรุ ิยา -นางสาวนจุ เรศ ศาลางาม
- กรอบการดำเนินงานและแผนผงั การดำเนนิ งานดังนี้ ผ้รู ับผดิ ชอบโครงการ 1. ด.ญ.กญั ญารตั น์ พงึ่ จิตตน 2. ด.ญ. พริ ญาณ์ เจก็ รวย 3. ด.ญ. รูธ ทนสันเทยี ะ 4. ด.ญ. นภาพร เปลีย่ นประเสริฐ 5. ด.ญ. นราวดี ปิ่นกระจ่าง นายศริ พิ งษ์ เชอ้ื ดี ผ้อู ำนวยการโรงเรยี นชุมชนวัดบัวแกว้ เกษร (วรพงศ์อนุกูล) และ นางสภุ าพร แสงวุธ รองผู้อำนวยการโรงเรยี นชมุ ชนวัดบวั แก้วเกษร (วรพงศ์อนกุ ูล) ผสู้ นบั สนนุ การดำเนินงาน นางสาวนงเยาว์ กา๋ มี , นางสาวอญั รตั น์ หงสส์ รุ ยิ า และนางสาวนจุ เรศ ศาลางาม ครูที่ปรกึ ษาโครงงาน กระบวนการ / ขัน้ ตอนของนวตั กรรมคุณธรรม - เมอ่ื ครูแกนนำไดร้ บั นโยบายมกี ารนำความรู้มาขยายผลในโรงเรยี น นำไปส่กู ารวางแผนประชมุ ช้แี จง หารอื เพื่อจัดทำโครงการและแผนการดำเนนิ งาน ชแ้ี จงกบั ผปู้ กครอง - ขยายผลสนู่ กั เรียนแกนนำผ่านสภานักเรยี น ให้แกนนำนักเรยี นไดม้ ีสว่ นร่วมในแสดงความเห็น และรว่ มมือ รบั ฟัง เข้าใจในกระบวนการ
- ดำเนินงานโดยยึดหลักธรรมกัลยาณมิตรธรรม 7 ตามโครงการโดยให้มีกิจกรรมหลัก คอื พี่สอนนอ้ ง โดยแกนนำนกั เรียนเปน็ หลกั ในการดำเนินงาน มกี ารทำกิจกรรมในทุกเช้าและประเมนิ ผล ในแต่ละวัน - จดั ทำกจิ กรรมพัฒนาคุณธรรมจรยิ ธรรมในทุกวนั ศุกร์ แกนนำนกั เรียนนำผลการประเมินมาสรุป เป็นภาพรวมของแต่ละสัปดาห์ ฝึกการไหว้ตามการจัดกิจกรรมเด็กดียิ้มง่าย ไหว้สวย ด้วยการทักทาย หน้าเสาธง และการสง่ เสริมการเขา้ ประกวดเกี่ยวกบั มารยาทไทยตามโอกาส - ติดตาม ประเมินผลเป็นระยะ โดยครูผูร้ ับผิดชอบและผ้อู ำนวยการโรงเรียน คณะผู้บรหิ าร 5. งบประมาณและค่าใช้จ่าย 1,000 บาท รายละเอยี ดการใชง้ บประมาณ คา่ ตอบแทน ค่าใชส้ อย คา่ วัสดุ รายจ่ายอ่ืน ๆ รวม 1,000 เอกสารในการทำกิจกรรม 1,000 1,000 รวม งบประมาณที่ใช้ได้จาก งบบรหิ ารงานทวั่ ไปของโรงเรยี น ปัญหา และอปุ สรรคในการจัดโครงการ และแนวทางการแกไ้ ขปญั หา 1. กิจกรรมการดำเนินงานในบางกิจกรรมไม่สามารถทำได้อย่างต่อเนื่องเนื่องจากมีกิจกรรมอื่นแทรก จงึ ควรให้วางแผนการดำเนนิ ท่ีมีความยดื หยุน่ หรอื ให้มีการชดเชยในบางกจิ กรรม 2. การขับเคลื่อนการดำเนินงานยังได้ผลที่ไม่เห็นผลที่ชัดเจน จึงควรให้มีการกำหนดทิศทาง ในการดำเนินงานท่ีชัดเจนขึน้ 3. มกี ิจกรรมยังกระต้นุ ให้นักเรียนเกิดความพัฒนาตามวัตถุประสงค์ไม่มากนัก จึงควรหากิจกรรม หรือ แรงเสริมที่จะกระต้นุ ให้นกั เรยี นอยากมสี ่วนร่วมในการทำกจิ กรรมไดด้ ีขนึ้ เช่น การประกวดใหร้ างวลั 4. นักเรียนขาดความร่วมมือในการดำเนินกิจกรรมอย่างจริงจัง จึงควรให้นักเรียนได้มีส่วนร่วม ในการเลือกทำกจิ กรรม
บทท่ี 3 ผลการดำเนินงาน ผลท่เี กิดขึ้น (Impact) ตอ่ นักเรยี น ตอ่ โรงเรยี น หรอื ชมุ ชน ผลตอ่ นกั เรียน - เกิดตัวอย่างที่ดีแก่นักเรียนอื่นๆ มีนักเรียนแกนนำที่สามารถเป็นผู้นำในการทำกิจกรรมต่างๆ นักเรียนเกิดการเปลี่ยนแปลงทางพฤติกรรมไปในทางที่เหมาะสม คือมีความตระหนัก และ ถกู ปลูกฝังคณุ ธรรมในการยิ้ม การไหว้ และการทักทายที่ถูกต้องเหมาะสม นักเรียนได้รับคัดเลือก เป็นตัวแทนในการประกวดไทย ในวาระโอกาสต่างๆ และได้รับรางวัลเกี่ยวกับการประกวดการ ไหว้ เช่น ได้รบั ในการประกวดมารยาทไทยกบั หน่วยงานภายนอก เป็นต้น ผลต่อโรงเรียน - โรงเรียนมชี ือ่ เสยี งได้รบั คำชมเชยจากชุมชน และบุคคลโดยท่ัวไป ในด้านพฤตกิ รรมของนกั เรียน รวมถงึ การเข้าร่วมการแขง่ ขันกบั หน่วยงาน ภายนอกและภายใน - โรงเรยี นได้แนวทางในการดำเนินงานกิจกรรมชว่ ยเหลอื ดูแลนกั เรียนท่ี เป็นระบบ สามารถแก้ไขปัญหานักเรยี นได้อยา่ งเปน็ รปู ธรรม - โรงเรียนได้รางวลั โรงเรียนคณุ ธรรมระดับ 3 ดาว
ผลตอ่ ชุมชน - ชุมชนให้ความยอมรับโรงเรียน ให้ความช่วยเหลือร่วมมือในการทำกิจกรรมต่างๆ จะเห็นได้จาก การขอความรว่ มมือในด้านต่างๆ หรอื ในการจดั กิจกรรม จะพบวา่ ชมุ ชนจะใช้ความรว่ มมอื อยา่ งยนิ ดี - ชมุ ชนยกยอ่ งชมเชยนักเรียนและโรงเรยี นในการสง่ เสรมิ พฤติกรรม - ชมุ ชนให้ความไว้วางใจโรงเรียน โดยเชิญใหโ้ รงเรียนและนักเรียนเขา้ รว่ มกจิ กรรมและขอนักเรียน ในการช่วยเหลืองาน/กิจกรรมต่างๆ ในชุมชน เช่น การต้อนรับแขกในงานเปิดศูนย์ปฏิบัติธรรม ณ วดั บวั แก้วเกษร หรอื งานอนื่ ๆ ท่จี ดั ข้ึนในหมบู่ า้ น ซึง่ นอกจากจะทำให้นักเรยี นได้รบั ประสบการณ์ต่างๆ แล้วยังส่งผลต่อการให้ความร่วมมือทีด่ ีภายในชุมชนอีกดว้ ย สะท้อนให้เหน็ ว่าชุมชนไว้วางใจในพฤติกรรม ของนักเรยี น
บทท่ี 4 การศึกษาวิเคราะห์ ปญั หาและสาเหตุ แนวทางการแกไ้ ข พฤตกิ รรมของนกั เรยี นท่ีไม่พึงประสงค์ - นักเรียนมกี ารยม้ิ การไหว้ และการทักทายทีไ่ ม่ถูกต้อง ไมเ่ หมาะสม วธิ ีการแก้ปญั หา ปญั หา วธิ ีการแกป้ ญั หา 1. การยิม้ การไหว้ 1. บคุ ลากรผ้บู ริหาร ครู บุคลากรในโรงเรียนเป็นตวั อย่างที่ดใี นการ การทักทาย แสดงความเคารพอยา่ งสมำ่ เสมอ ตลอดเวลา - ไม่มสี มั มาคารวะ 2. ใหค้ วามรู้มารยาทในการไหว้โดยสอดแทรกในการทำกจิ กรรมใน - ไมม่ ีการทักทายเมื่อ หอ้ งเรียนเปน็ ประจำสม่ำเสมอ มีการบรู ณาการการสอนเรื่อง พบเจอกนั มารยาทในการพูดในแผนการจดั การเรยี นรู้ มีการจดั ทำแผน - หน้าตาไมย่ ม้ิ แย้มแจ่มใส อย่างเป็นรูปธรรม 3. กจิ กรรมพีส่ อนน้อง 4. กิจกรรมฝกึ ฝนการย้ิม การไหว้ และการทักทาย ทถี่ กู ตอ้ งใน ชวั่ โมงลดเวลาเรียน 5. กจิ กรรมส่งเสรมิ เด็กดีมีมารยาท ยิม้ ง่าย ไหวส้ วย ด้วยการทักทาย หนา้ เสาธง/หน้าชั้นเรียน ** กิจกรรมพ่สี อนน้อง จะให้นกั เรยี นที่เปน็ คณะกรรมการนักเรยี น มาเป็นแบบในการย้ิม การไหว้ และการทกั ทาย โดยให้ คณะกรรมการนกั เรยี นจบั คูส่ ลับกนั ในแตล่ ะสปั ดาห์มายืนหน้าประตู และกลา่ วทักทายนักเรยี นท่ีมาโรงเรียน (ชว่ งเชา้ และเลิกเรียน) ให้นักเรียนกล่าวทักทายสวัสดีกนั เพ่ือฝึกฝนให้เปน็ ความเคยชนิ ไมเ่ ขินอาย
โรงเรยี นจงึ ได้เลอื กนวัตกรรมคณุ ธรรมเพ่อื นำมาแกป้ ญั หาพฤติกรรมท่ไี ม่พึงประสงค์ คือ - กิจกรรมพี่สอนน้อง ภายใตโ้ ครงงานคุณธรรม เด็กดยี ิม้ งา่ ย ไหว้สวย ดว้ ยการทกั ทาย คุณธรรมเป้าหมาย : การแสดงความเคารพและความอ่อนนอ้ มถ่อมตน พฤตกิ รรมบ่งชี้เชิงบวก 1. ผบู้ ริหาร ครู บคุ ลากร นกั เรยี นแกนนำ เป็นแบบอย่างท่ีดีในการยิ้ม การไหว้ การทักทาย 2. นกั เรียนรู้จักมารยาทการยิ้ม การไหว้ การทักทาย 3. นักเรยี นไหว้เหมาะสม ตามกาลเทศะและโอกาส 4. นกั เรียนมีความเคารพและออ่ นน้อมถอ่ มตน สภุ าพเรยี บรอ้ ย 5. นกั เรยี นเปน็ แบบอยา่ งท่ดี ีในการย้ิม การไหว้ การทักทาย สามารถแนะนำกันในทางทด่ี ีและถูกต้อง 8.3 หลักธรรมท่ใี ช้ในการดำเนินงาน กัลยาณมิตรธรรม 7 1.ปิโย : รกั ใคร่ สนทิ สนม ผูบ้ ริหาร ครู บคุ ลากร พดู จาไพเราะ มีความเป็นกันเองกบั นกั เรียน ให้ ความสนทิ สนมตักเตอื นโดยใชห้ ลกั ความเมตตา เพอื่ นนักเรยี นร้จู กั การ ตกั เตือนกนั โดยใชค้ วามมีกลั ยาณมติ ร เชอ่ื ใจกัน รักใครสนิทสนมกลม เกลยี วมคี วามหวงั ดตี ่อเพื่อน 2.ครุ : น่าเคารพ ผู้บริหาร ครู บคุ ลากร เปน็ ตวั อยา่ งที่ดีในการการยิม้ การไหว้ การทักทาย ทีด่ ีมมี ารยาท ทำให้เกดิ ความเชอ่ื ถือศรทั ธากับนักเรียน สอนนกั เรยี นให้ ร้จู ักการเคารพซ่งึ กันและกัน 3. ภาวนีโย : เจริญใจ น่ายก ยกย่องชน่ื ชมนกั เรียนทเ่ี ปน็ แบบอยา่ งท่ีดเี พ่ือนกั เรียนอืน่ ๆ มแี บบอย่างที่ ยอ่ ง ดีและถูกตอ้ งเหมาะสม และใหช้ ุมชน/สังคมไดม้ สี ่วนในการช่ืนชมนกั เรียน เพ่ือให้เกิดความภาคภมู ิใจ 4. วตฺตา จฺ : รูจ้ กั การพูดอะไร นกั เรยี นรู้จกั เลือกใชค้ ำพูดทีส่ ุภาพ ไพเราะถูกต้องเหมาะสมตามโอกาส พดู อยา่ งไร กล่าวคำวา่ สวัสดคี รับ สวัสดีค่ะ 5.วจนกขฺ โม : อดทนตอ่ กิจกรรม พส่ี อนน้อง กจิ กรรมพสี่ อนน้อง จะใหน้ ักเรียนทเี่ ป็น ถ้อยคำ /รู้จักรบั ฟัง คณะกรรมการนกั เรียนมาเป็นแบบในการยิ้ม การไหว้ และการทักทาย โดยให้คณะกรรมการนกั เรยี นจับคู่สลบั กันในแตล่ ะสปั ดาห์มายืนหน้า ประตแู ละกล่าวทกั ทายนกั เรยี นที่มาโรงเรยี น (ช่วงเชา้ และเลิกเรียน) ให้นกั เรยี นกลา่ วทักทายสวสั ดกี นั เพื่อฝึกฝนให้เปน็ ความเคยชิน ไมเ่ ขนิ อาย เพ่อื เป็นแบบอยา่ งและตกั เตือนกนั เม่ือแสดงพฤติกรรมท่ีไม่ เหมาะสม จึงต้องใช้ความอดทนอดกล้นั และต้องยอมรบั เม่อื ถูกตำหนเิ พื่อ ปรับปรงุ แก้ไข
6.คมั ภีร์รญฺ จ กถํ กตฺตา : การบรู ณาการ/อบรม/ช้แี นะ/ตกั เตือน/แก้ไข ให้ความรู้เกี่ยวกบั การยิม้ สอน อธิบาย การไหว้ การทักทายทด่ี มี มี ารยาท ถกู ต้องเหมาะสมตามกาลเทศะและ โอกาส จดั กิจกรรมท่ีส่งเสรมิ การยม้ิ การไหว้ การทกั ทายท่ีดีมีมารยาทท่ดี ี 7. โน จฏฺฐาน นโิ ยชะเย : ไม่ คร/ู คณะกรรมนักเรียน คอยแนะนำตกั เตอื นไปในทางทีด่ ีถกู ตอ้ ง และ ชกั นำ ชกั จูงไปในทางทเี่ ส่ือม เหมาะสม ไม่ช้ชี วนในการทำในส่ิงทไี่ ม่ถูกต้อง เสยี การตดิ ตามและประเมินผล วธิ ปี ระเมิน เครอื่ งมือประเมิน ตัวชี้วดั ความสำเร็จ 1. สงั เกตการยม้ิ 1. แบบสังเกต 1. รอ้ ยละของผูบ้ ริหาร ครู บุคลากร นักเรียนแกนนำ เปน็ การไหว้ การ แบบอย่างท่ดี ใี นการยิม้ การไหว้ การทักทายท่ดี ี มีมารยาท ทักทายทถ่ี กู ต้อง 1. แบบสังเกต มคี วามอ่อนน้อมถ่อมตน สภุ าพเรียบร้อย 1. สังเกตการไหว้ 2. แบบบันทึกการ 2. ร้อยละของนกั เรยี นไหว้ได้อย่างถูกต้อง 2. สมั ภาษณค์ รู สัมภาษณ์ ประจำชั้น เพื่อน 3. ร้อยละของนกั เรียนไหว้ เหมาะสม ตามกาลเทศะและ ผูป้ กครอง 1. แบบสงั เกต โอกาส 1. สังเกตการไหว้ 2. แบบประเมิน 2. การประเมนิ 4. ร้อยละของนักเรยี นมีความอ่อนน้อมถ่อมตน 1. สงั เกตพฤติกรรม 1. แบบสังเกต สภุ าพเรยี บรอ้ ย 2. การประเมิน 2. แบบประเมิน 5. รอ้ ยละของนักเรียนรจู้ ักการตกั เตอื น การบนั ทกึ พ่สี อน แบบประเมินการ แนะนำกนั ในทางทีด่ ีและถกู ตอ้ ง 6. ร้อยละของผู้เกี่ยวข้องที่มคี วามพึงพอใจต่อ น้อง บันทึก การจัดทำโครงการ 7. กำกบั นเิ ทศ ติดตาม แบบสำรวจความพึง แบบสำรวจ 8. จดั ทำรายงานการประเมนิ กิจกรรม พอใจ แบบสอบถาม การนเิ ทศ ติดตาม แบบนเิ ทศ แบบสอบถาม -การประเมิน แบบประเมนิ โครงการ
ผลสำเรจ็ ผลสำเรจ็ ตัวช้วี ัดความสำเรจ็ ผู้บรหิ าร ครู บุคลากร นกั เรียนแกนนำ รอ้ ยละ 100 ของผู้บริหาร ครู บุคลากร นักเรียนแกนนำ เป็น 1. ร้อยละ 100 ของผู้บริหาร ครู บุคลากร แบบอย่างที่ดใี นการยมิ้ การไหว้ การทักทายทดี่ ี นกั เรียนแกนนำ เป็นแบบอย่างท่ดี ีในการยิม้ มีมารยาทมีความออ่ นน้อมถ่อมตน สุภาพเรียบร้อย การไหว้ การทักทายทด่ี ี มมี ารยาทมคี วามอ่อน นกั เรียนร้อยละ 91.84 นักเรียนไหว้ได้อย่างถูกตอ้ ง นอ้ มถ่อมตน สภุ าพเรียบรอ้ ย 2. รอ้ ยละ 80 ของนกั เรยี นนกั เรยี นไหว้ได้อยา่ ง นกั เรียนร้อยละ 91.84 ของนักเรยี นนักเรียนไหว้ ถกู ต้อง เหมาะสม ตามกาลเทศะและโอกาส 3. ร้อยละ 80 ของนักเรียนนกั เรยี นไหว้ นักเรียน รอ้ ยละ 100 มคี วามออ่ นน้อมถ่อมตน เหมาะสม ตามกาลเทศะและโอกาส สุภาพเรียบร้อย นักเรียนร้อยละ 95.92 ร้จู ักการตกั เตอื น แนะนำกนั 4. รอ้ ยละ 100 ของนักเรียนมีความอ่อนนอ้ ม ในทางทด่ี ีและถูกต้อง ถอ่ มตน สภุ าพเรยี บรอ้ ย ผู้เกี่ยวขอ้ งร้อยละ 100 มคี วามพงึ พอใจต่อการจดั ทำ 5. ร้อยละ 80 ของนกั เรียนรจู้ ักการตักเตอื น โครงการ แนะนำกันในทางท่ีดแี ละถกู ต้อง 6. รอ้ ยละของผู้เก่ียวข้องท่ีมีความพงึ พอใจต่อ การจัดทำโครงการ การประเมินตนเอง 1………………………………………………………………………………………………………ลงช่ือ...……………………… 2………………………………………………………………………………………………………ลงช่ือ...……………………… 3………………………………………………………………………………………………………ลงชื่อ...……………………… 4………………………………………………………………………………………………………ลงชื่อ...……………………… 5………………………………………………………………………………………………………ลงช่ือ...……………………… 6………………………………………………………………………………………………………ลงช่ือ...……………………… 7………………………………………………………………………………………………………ลงชื่อ...………………………
การประเมนิ โดยผอู้ น่ื 1………………………………………………………………………………………………………ลงช่ือ...……………………… 2………………………………………………………………………………………………………ลงช่ือ...……………………… 3………………………………………………………………………………………………………ลงช่ือ...……………………… 4………………………………………………………………………………………………………ลงชื่อ...……………………… 5………………………………………………………………………………………………………ลงช่ือ...……………………… 6………………………………………………………………………………………………………ลงช่ือ...……………………… 7………………………………………………………………………………………………………ลงช่ือ...……………………… 8………………………………………………………………………………………………………ลงช่ือ...………………………
การประเมินผลโครงการตามแผนปฏบิ ัตกิ าร โครงงานสง่ เสรมิ คณุ ธรรม คำช้แี จง ให้ผปู้ ระเมินกาเครื่องหมาย / ในช่องที่เห็นวา่ ตรงกบั สภาพการปฏิบัติงานที่แทจ้ ริง 4 = ระดบั ดีมาก , 3= ระดบั ดี , 2=ระดบั พอใช้ , 1=ระดบั ควรปรบั ปรุง , 0=ปรบั ปรงุ ใหม่ รายการ ระดับคุณภาพการปฏบิ ัติ เป็นไปตาม 43210 วัตถุประสงค์ 1. การดำเนนิ งานตามวัตถปุ ระสงค์ 1.1 การต้ังวัตถุประสงค์สามารถวัดได้ 1.2การดำเนนิ งานเปน็ ไปตามวัตถปุ ระสงค์ 1.3การเขยี นวัตถปุ ระสงค์มคี วามเหมาะสม 2.ผลการปฏบิ ัตงิ าน 2.1การวางแผนการปฏิบัตงิ านเปน็ ไปตามข้นั ตอน 2.2ผรู้ ับผิดชอบประสานงานกบั ผเู้ กี่ยวข้อง 2.3การดำเนินงานตามปฏทิ นิ การปฏิบัตงิ าน 2.4การบนั ทกึ ผลการปฏิบตั งิ าน 2.5การสรปุ ผล รายงานผล และนำผลไปปรับปรุง 3.การใช้จา่ ยงบประมาณ 3.1การจ่ายเงนิ เป็นไปตามวัตถปุ ระสงค์ 3.2การใช้จ่ายเงนิ ตามกิจกรรมในรายการ 3.3ความเหมาะสมในการใชจ้ ่ายงบประมาณ 4.การประเมินผล 4.1การประเมนิ ผลโดยใชเ้ คร่ืองมอื ทุกรายการ 4.2การประเมนิ ครอบคลุมทุกตวั บ่งชี้ 4.3เครอื่ งมือการประเมินมคี วามเหมาะสม 5.ผลสำเรจ็ ของการปฏิบัติงาน 5.1การดำเนินงานบรรลุตามวตั ถุประสงค/์ เป้าหมาย 5.2ความพึงพอใจกับผลผลติ ท่ไี ดร้ บั 5.3ความพึงพอใจกับผลลัพธ์ท่ีเกดิ ขนึ้ ระดบั คุณภาพ ระดบั คณุ ภาพรวมท้ังสน้ิ
บทที่ 5 บทสรุปและข้อเสนอแนะ ปญั หาดา้ นพฤติกรรมของนักเรียนที่ต้องการแก้ไข คอื นักเรียนมกี ารย้ิม การไหว้ และการทักทาย ที่ไม่ถูกต้อง ไม่เหมาะสม นวัตกรรมคุณธรรมเพื่อนำมาแก้ปัญหาพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ คือ กิจกรรม บูรณาการภายใต้โครงงานคุณธรรม เด็กดียิ้มง่าย ไหว้สวย ด้วยการทักทาย ผ่านกิจกรรมสภานักเรียนที่มี กิจกรรมหลัก คือ กิจกรรม พี่สอนน้อง โดยมีพฤติกรรมเป้าหมาย คือ การยิ้ม การไหว้ และการทักทาย หลักธรรมหลักที่นำมาใช้ในการขับเคลื่อนดำเนินการ คือ กัลยาณมิตรธรรม 7 ซึ่งผลของการดำเนินงาน เป็นไปตามเป้าหมายที่วางไว้ คือ ผู้บริหาร ครู บุคลากร นักเรียนแกนนำ ร้อยละ 100 เป็นแบบอย่างที่ดี ในการยิ้ม การไหว้ การทักทาย มีมารยาทมีความอ่อนน้อมถ่อมตน สุภาพเรียบร้อย นักเรียนร้อยละ 91.84 ไหว้ได้อย่างถูกต้อง นักเรียนร้อยละ 91.84 ของนักเรียนไหว้ เหมาะสม ตามกาลเทศะและโอกาส รอ้ ยละ 100 มีความอ่อนน้อมถ่อมตน สภุ าพเรยี บร้อย นักเรียนร้อยละ 95.92 รจู้ ักการตักเตือน แนะนำกัน ในทางที่ดีและถกู ต้อง และผู้ที่เกี่ยวข้องร้อยละ 100 มีความพึงพอใจต่อการดำเนินงาน ที่มีการดำเนินงาน ในรปู แบบบูรณาการผา่ นสภานักเรียนทีม่ ีนักเรียนแกนนำ เป็นผู้ขบั เคลอื่ นการดำเนินงาน โดยความร่วมมือ ของ คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้บรหิ าร บุคลากร ผลสำเร็จของโครงงาน คือ นักเรียนมีพฤติกรรมทีพ่ ึงประสงค์ เป็นเด็กดียิ้มง่าย ไหว้สวย ด้วยการ ทักทาย จนเป็นที่ยกย่องชมเชยจากบุคคลทั่วไป โรงเรียนและบุคลากรได้รับรางวัลจากการดำเนินงาน ชุมชนไว้วางใจและให้การยอมรับโรงเรียนมากขึ้น ให้โรงเรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ ของชุมชน ซ่ึงการดำเนนิ งานครั้งนมี้ ีอุปสรรคจากเวลาในการทำกจิ กรรม ทสี ง่ ผลใหก้ ารขับเคล่ือนการดำเนินงานยังไม่ เห็นผลที่ชัดเจน กิจกรรมยังไม่กระตุ้นให้นักเรียนเกิดความตระหนักด้วยตนเองมากนัก และนักเรียน บางส่วนยงั ขาดการมีสว่ นร่วมในการใหค้ วามร่วมมอื ซง่ึ แนวทางในการแกไ้ ขทำได้ โดยให้มีการวางแผนการ ดำเนนิ ทมี่ ีความยืดหยนุ่ หรือใหม้ ีการชดเชยในบางกิจกรรม กำหนดทศิ ทางในการดำเนินงาน ที่ชัดเจน หากิจกรรมหรือแรงเสริมที่จะกระตุ้นให้นักเรียนอยากมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมได้ดีขึ้น เช่น การ ประกวดใหร้ างวัล และให้นักเรยี นได้มสี ่วนรว่ มในการทำกิจกรรม หรอื มีส่วนในการตดั สนิ ใจรว่ มกัน
Search
Read the Text Version
- 1 - 20
Pages: