Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยที่ 3

หน่วยที่ 3

Published by เจษฎากรณ์ ธิมายอม, 2019-06-04 21:24:28

Description: หน่วยที่ 3

Search

Read the Text Version

หน่วยท่ี 3 การสารวจพชื พรรณและสิ่งประกอบอ่นื ๆ

เอกสารประกอบคู่มือการดาเนินงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน องค์ประกอบที่ ๑ การจัดทาป้ายชื่อพรรณไม้ ๑) ตวั อยา่ งพรรณไมแ้ ละการศึกษาพรรณไม้ การเกบ็ และรักษาตวั อยา่ งพนั ธุ์ไม้ - ตวั อยา่ งป้ายขอ้ มูลติดตวั อยา่ งพนั ธุ์ไม้ - ขอ้ เสนอแนะจากนกั พฤกษศาสตร์ที่โรงเรียนสมาชิกจะตอ้ งทาความเขา้ ใจ - การจดั เก็บและระบบการจดั เกบ็ ตวั อยา่ งพนั ธุ์ไม้ - การศึกษาพรรณไมใ้ นสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน (ก.๗-๐๐๓) ๒) ทะเบียนพรรณไมแ้ ละภาพถ่ายพรรณไม้ - คูม่ ือการทาทะเบียนพรรณไม้ - ชื่อพรรณไม้ - ลกั ษณะวสิ ยั และถิ่นอาศยั - แนวทางการถ่ายภาพพรรณไมเ้ พอ่ื งานดา้ นพฤกษศาสตร์ - หนงั สือ ช่ือพรรณไมแ้ ห่งประเทศไทย ดร.เตม็ สมิตินนั ทน์ ๓) ป้ายช่ือพรรณไม้ - การทาป้ายชื่อพรรณไม้ ๔) ผงั พรรณไม้ องค์ประกอบที่ ๒ การรวบรวมพรรณไม้เข้าปลูกในโรงเรียน การจัดภูมิทศั น์ หรือการจัดสวน (Landscape) การออกแบบจดั สวน นับเป็ นการออกแบบเพื่อเป็ นสื่อกลางระหวา่ งมนุษยต์ ่อมนุษย์ และ ระหวา่ งมนุษยต์ ่อธรรมชาติ ปัจจุบนั ธรรมชาติถูกทาลายลงอยา่ งมาก ความสาคญั ของการจดั สวนก็ มีคุณค่ามากข้ึน ท้งั ในดา้ นการอนุรักษธ์ รรมชาติ การจดั วางผงั เมือง การกาหนดพ้ืนท่ีสีเขียว การ กาหนดเขตอุตสาหกรรม และเขตท่ีอยู่อาศยั เป็ นส่ิงท่ีตอ้ งดาเนินการอยา่ งถูกตอ้ งตามหลกั วิชา การออกแบบจดั สวนไม่ว่าจะขนาดเล็กหรือใหญ่จะตอ้ งระลึกเสมอวา่ ตอ้ งออกแบบให้มีความสา พนั ธ์กบั สภาพแวดล้อม อนั รวมไปถึงสภาพพ้ืนที่ รูปแบบของสถาปัตยกรรมสิ่งก่อสร้าง มี ความสัมพนั ธ์กบั สภาพแวดลอ้ ม และยงั จะตอ้ งออกแบบให้สอดคลอ้ งกบั พฤติกรรมของผูค้ นใน สังคมน้นั ๆดว้ ย การออกแบบเพื่อการจดั สวนจึงไม่ใช่เป็ นงานที่ทาลายสภาพแวดลอ้ ม แต่เป็ นงาน ท่ีตอ้ งเสริมสร้างสภาพแวดลอ้ มของส่วนรวมใหด้ ีข้ึน

ความหมาย การจดั สวน หมายถึง การจดั ตกแต่งและปรับปรุงพ้ืนท่ีให้เกิดความสวยงาม ควบคุม และ เสริมสร้างใหส้ ภาพแวดลอ้ มเหมาะสมเพ่ือเอ้ือประโยชน์ และเกิดความสะดวกสบายในการดาเนิน กิจกรรมต่างๆ จดั สวนไม่ใช่เพียงแค่การปลูกตน้ ไมเ้ พียงอยา่ งเดียวหากตอ้ งทาใหเ้ กิดความงาม บนั ดาล ความสุขใหเ้ กิดข้ึนในจิตใจและอารมณ์ของผคู้ น สอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการดา้ นสภาพความ เป็นอยแู่ ละการทากิจกรรมตา่ งๆของผเู้ ขา้ ไปใชส้ วนอีกดว้ ย ประโยชน์ของการจัดสวน ๑. การจดั สวนทาใหเ้ กิดการดูแลพ้นื ที่อยา่ งดี มีขอบเขตแน่นอน เกิดความปลอดภยั ในการใชพ้ ้ืนที่ ๒ การจดั สวนเป็ นการช่วยลดมลภาวะตา่ งๆ เช่น เสียงรบกวน ฝ่ นุ ลม แสงแดด ดว้ ยการออกแบบมาควบคุม เพราะการจดั สวนเป็ นการควบคุมและสร้างสภาพแวดลอ้ มให้ เหมาะสมน่าอยู่ ๓. การจดั สวนทาใหพ้ ้ืนท่ีสะอาด อากาศบริสุทธ์ิ ควบคุมระดบั อุณหภูมิ แสงแดด ใหอ้ ยใู่ นสภาพที่เหมาะสมกบั ความตอ้ งการ ๔. การจดั สวนช่วยใหม้ ีการวางแผนการใชพ้ ้ืนท่ี ท่ีมีอยอู่ ยา่ งจากดั ให้เกิดประโยชน์ มากท่ีสุดมีสัดส่วน ขอบเขตที่เหมาะสมแน่นอน เช่น บริเวณพกั ผอ่ นส่วนตวั บริเวณออกกาลงั กาย พ้นื ที่สวนครัว สนามเด็กเล่น สวนไมด้ อกไมป้ ระดบั หรือพ้ืนท่ีใชส้ อยอ่ืนๆ ๕. การจดั สวนช่วยแกไ้ ขและปิ ดบงั สภาพแวดลอ้ มที่ไมน่ ่าดู และยงั แกไ้ ขการ พงั ทลาย การเส่ือมโทรมของหนา้ ดินอีกดว้ ย ๖. การจดั สวนช่วยใหเ้ กิดความสุขทางดา้ นจิตใจ เพราะไดใ้ กลช้ ิดกบั ธรรมชาติและ พืชพรรณ รูปแบบของสวน การปรับปรุงเปลี่ยนแปลงเพ่ือคน้ หาส่ิงที่ดีกวา่ อยเู่ สมอนบั เป็นธรรมชาติของมนุษยจ์ ึงเป็น ผลทาใหง้ านออกแบบทุกดา้ นพฒั นาไปอยา่ งกวา้ งขวาง สวนไดถ้ ูกแบ่งไวเ้ ป็น ๒ แบบใหญๆ่ คือ สวนแบบประดิษฐ์ (Formal style) และสวนแบบธรรมชาติ (Informal style) แตใ่ นปัจจุบนั ยงั มี รูปแบบสวนเกิดข้ึนจากการพฒั นาการของแนวความคิดจากรูปแบบสวนท้งั ๒ เรียกวา่ สวนแบบ สมยั ใหม่ (Contemporary )

๑. สวนแบบประดษิ ฐ์หรือสวนแบบเรขาคณติ (Formal style) สวนแบบน้ีวางแปลนโดยใชร้ ูปเรขาคณิตเป็นหลกั เช่น สี่เหลี่ยม สามเหลี่ยม วงกลม ดงั น้นั การควบคุมตดั แตง่ รูปทรงตน้ ไมจ้ ะเห็นอยา่ งเด่นชดั เจาะจง จดั วางอยา่ งต้งั ใจ การจดั สวน แบบน้ีมกั จะเป็นการจดั ในพ้ืนที่กวา้ งจึงจะเกิดความประทบั ใจ พ้ืนท่ีจดั มกั เป็ นท่ีราบเรียบ ไม่นิยม พ้ืนท่ีสูงๆ ต่าๆ เป็นเนินเขา การจดั จะคานึงถึงความสมดุล ๒. สวนรูปแบบธรรมชาติ (Informal style) ในการศึกษาเร่ืองรูปแบบสวนธรรมชาติ เราแบง่ ไดเ้ ป็น ๒ แนวทาง คือ ๑. การจดั สวนแบบธรรมชาติของชาวตะวนั ตก ๒. การจดั สวนแบบธรรมชาติของชาวตะวนั ออก การจัดสวนแบบธรรมชาติของชาวตะวนั ตก องั กฤษเป็นชาติแรกที่ไดเ้ ร่ิมพฒั นาสวนแบบน้ี ไดเ้ กิดข้ึนหลงั จากที่สวนแบบประดิษฐ์ได้ เจริญถึงที่สุด และเสื่อมความนิยมลงไป และไดเ้ ริ่มมีการสร้างสรรคร์ ูปแบบของธรรมชาติ พ้นื ที่จะ มีความสูงต่าลดหลนั่ การจดั เพ่ือการใชป้ ระโยชนจ์ ากการพกั ผอ่ นอยา่ งแทจ้ ริงเป็นสวนท่ีใชพ้ นั ธุ์ไม้ หลากสีสัน มากดว้ ยชนิดและประเภทจดั วางดูใกลเ้ คียงกบั การก่อเกิดโดยธรรมชาติและเขา้ กบั ทศั นียภาพโดยรวม การจัดสวนแบบธรรมชาติของชาวตะวนั ออก ประเทศจีนเป็นแม่แบบแผอ่ ิทธิพลไปสู่เกาหลี ญี่ป่ ุน เป็นความงามของธรรมชาติที่ได้ ผา่ นการกลน่ั กรองมาอยา่ งละเอียดถ่ีถว้ นผา่ นการจาลองโดยใชม้ าตราส่วนยอ่ การจดั สวนของชาว จีนและญ่ีป่ ุนยงั แฝงเร้นดว้ ยความเชื่อความศทั ธาถึงความยงิ่ ใหญ่ของธรรมชาติ เช่ือในโชคลาง อิทธิพลของธรรมชาติที่มีต่อวถิ ีชีวติ ของมนุษย์ ความหมายท่ีไมเ่ หมือนกบั สวนชาติใดๆในโลก ก็ คือ เจดีย์ ตะเกียงหิน อา่ งหิน ไผไ่ ล่กวาง ซ่ึงมีความงดงามความวเิ วกบริสุทธ์ิแลว้ ยงั แฝง ความหมาย ความเชื่ออยใู่ นเน้ือหาสวนอีกดว้ ย ท้งั น้ีเพ่ือใหบ้ รรลุถึง “สุนทรียภาพอนั เรียบง่ายท่ีเกิด จากการปรุงแต่งธรรมชาติอยา่ งมีรสนิยม” เพอื่ ใหช้ ีวติ ดารงสภาพท่ีกลมกลืนไปกบั ธรรมชาติ มากกวา่ การบงั คบั ธรรมชาติใหม้ ารับใชต้ ามคติชาวตะวนั ตก รูปแบบของสวนธรรมชาติ โดยทวั่ ไปแลว้ การจดั สวนท่ีมุ่งการเลียนแบบธรรมชาติน้นั จะ เป็นการจดั ในพ้ืนท่ีท่ีมีความสูงต่า ลดหลน่ั การจดั วางกลุ่มพนั ธุ์ไมเ้ ป็นไปอยา่ งธรรมชาติ คานึงถึง การจดั เป็ นกลุ่มอิสระ ไม่ยดึ รูปแบบทางเรขาคณิตมากาหนด แต่อาศยั จงั หวะการจดั วางใหเ้ กิด สมดุลดว้ ยความรู้สึก จึงมีความงามอยา่ งลึกซ้ึงก่อใหเ้ กิดความคิดคานึงต่อเน่ือง เกิดแรงบนั ดาลใจ และจินตนาการ จึงเรียกสวนแบบน้ีวา่ Naturalistic style กไ็ ด้

สวนสมยั ใหม่ (Contemporary) เป็นการผสมผสานกนั กบั สวนท้งั ๒ แบบ ไดร้ ับอิทธิพลมาจากศิลปะแบบแอบ สแทรกต์ (Abstract) หรือแบบนามธรรม เป็นการเนน้ เรื่องราวอยา่ งกลมกลืนเหมือนธรรมชาติ จะ คานึงถึงความเป็นระเบียบเรียบร้อย สวยงามและดูแลง่าย องค์ประกอบในการออกแบบ การออกแบบงานศิลปะยอ่ มเกิดจากการนาเอา “องคป์ ระกอบการออกแบบ” ตอ่ ไปน้ีมา สร้างสรรคร์ วมกนั มาเป็นผลงาน แตจ่ ะสวยงามมากนอ้ ยแค่ไหน ยอ่ มข้ึนอยกู่ บั ความเชี่ยวชาญ เฉพาะบุคคลไป องคป์ ระกอบการออกแบบมีดงั น้ี ๑. จุด (Dots) ๒. เส้น (Line) ๓. รูปร่างและรูปทรง (Shape and Form) ๔. มวลและปริมาตร (Mass and Volume) ๕. ผวิ สมั ผสั (Texture) ๖. บริเวณวา่ ง (Space) ๗. สี (Color) ๘. ลวดลาย (Pattern) จุด (Dots) การใชจ้ ุดในสวนก็เพื่อบอกถึงความตอ่ เนื่องเช่ือมโยง การเนน้ นาสายตาสร้างระยะให้ เกิดข้ึน หรือจะใชเ้ นน้ ใหเ้ กิดความเด่นขององคป์ ระกอบอ่ืนๆ เส้น (Line) หมายถึง จุดที่เรียงต่อๆกนั มีอิสระท้งั ขนาด ทิศทาง ระยะ มีสภาพเป็นตวั แบง่ พ้นื ที่ หรือกาหนดบริเวณวา่ ง เส้น ในการออกแบบจดั สวนจะใหค้ วามรู้สึกต่อการมองดว้ ย เช่น ให้ ความรู้สึกเคลื่อนไหวความต่อเนื่องสัมพนั ธ์ และการนาสายตา ลกั ษณะของเส้นในการออกแบบ จดั สวน มีลกั ษณะตา่ งๆ เช่น - เส้นตรง ใหค้ วามรู้สึกมน่ั คงแขง็ แกร่ง สง่า แสดงถึงความสูง - เส้นนอน หรือเส้นระดบั ใหค้ วามรู้สึกราบเรียบ สงบ พกั ผอ่ น - เส้นโคง้ ใหค้ วามรู้สึกนุ่มนวล อ่อนไหว ความเป็ นอิสระ

- เส้นทะแยง เส้นซิกแซ็ก ใหค้ วามรู้สึกเคลื่อนไหว รวดเร็ว ตื่นเตน้ แขง็ กร้าว อิทธิพลของเส้นลกั ษณะน้ีคือความเป็นแบบแผน น่าเกรงขาม จึงเป็นเส้นท่ีมกั ใช้ ตกแต่งในสวนแบบประดิษฐ์ รูปร่างและรูปทรง( Shape and form ) รูปร่างมี 2 มิติ คือมีกวา้ ง กบั ยาว เปรียบกบั รูปท่ีมีลกั ษณะ แบนๆ ส่วนเน้ือท่ีภายในของ ทรงพุม่ หรือรูปทรงกระบอกของลาตน้ น้นั เป็ นรูปทรงเป็ นรูป ๓ มิติ คือมีกวา้ ง ยาวและลึก ให้ ความรู้สึกเป็นกลุ่มกอ้ น มีน้าหนกั มีเน้ือที่ภายใน รูปร่างและรูปทรง เกิดจากเส้นลกั ษณะต่างๆ มา ติดต่อกนั ในทิศทางตา่ งๆ ในการออกแบบจดั สวน รูปทรงนบั เป็นส่ิงสาคญั มาก เพราะใชก้ าหนด ขนาด ปริมาณ พ้นื ท่ี ความงามและการใชป้ ระโยชนข์ องสวน มวลและปริมาตร ( Mass and Volume) มวล หมายถึง เน้ือท้งั หมดของสาร ถา้ เป็นพุม่ ไมก้ ค็ ือพ้ืนท่ีภายในทรงพุม่ ท้งั หมด มวล ของหินกค็ ือเน้ือท่ีแขง็ แกร่งของหิน ส่วนปริมาตร คือพ้นื ท่ีในอากาศ หรือบริเวณวาง หรือหนา มวลและปริมาตรจึงอยรู่ วมกนั ในเชิงการออกแบบจดั สวนแลว้ การกาหนดมวลและปริมาตรมกั จะ ถูกเรียกกลืนไปกบั เรื่องของเน้ือที่และปริมาณ ผวิ สัมผสั (Texture) เป็นลกั ษณะผวิ หนา้ ของวตั ถุ ที่สามารถใหค้ วามรู้สึกและรับรู้ไดด้ ว้ ยสายตา หรือดว้ ยกาย สมั ผสั มีหลายลกั ษณะ เช่น ผวิ สมั ผสั หยาบ ละเอียด มนั ดา้ น การกาหนดผวิ สมั ผสั ในสวนกเ็ พอื่ ผลทางดา้ นการมอง ใหป้ รากฏความงามซ่ึงจะใชส้ ายตาเป็นตวั กาหนดเสมอ พนั ธุ์ไมท้ ี่มีใบขนาด ใหญ่ หรือผวิ ท่ีหยาบขรุขระของลาตน้ ของผนงั กาแพง ลกั ษณะผวิ สัมผสั ก็หยาบ ถา้ พนั ธุ์ไมท้ ่ีมี ขนาดของใบโดยรวมเลก็ ฝอยหรือพ้ืนผวิ ที่เรียบสม่าเสมอ จะมีลกั ษณะผวิ สมั ผสั ละเอียด อิทธิพลของผวิ สมั ผสั ตอ่ ความรู้สึกน้นั ผวิ สัมผสั ท่ีหยาบ จะรู้สึกหนกั ทึบ แขง็ เก่าแก่ โบราณ ผวิ สัมผสั ระเอียดจะใหค้ วามรู้สึกอ่อน บางเบา สวา่ ง น่าสัมผสั ผวิ สมั ผสั ปาน กลางจะใหค้ วามรู้สึกในลกั ษณะของความเช่ือมใหเ้ กิดความกลมกลืน บริเวณว่าง (Space) ในการจดั สวนอาจเรียกวา่ “พ้นื ท่ี” ก็ได้ แต่ในการออกแบบ คาวา่ Space ถูู กใชเ้ รียก อยา่ ง

กวา้ งขวาง และในส่วนของการออกแบบทางภูมิสถาปัตยกรรมน้นั จะเห็นวา่ บริเวณวา่ ง หมาย รวมถึงท่ีที่เป็นท้งั รูปร่าง เรียกวา่ Positive Space หรือตรงกบั ส่วนที่เป็น Solid mass (ส่ิงที่ทึบ) เช่น กลุ่มพนั ธุ์ไม้ ภูเขา อาคารบา้ นเรือน ฯลฯ และที่ที่นอกเหนือจากความเป็นรูปร่างเรียกวา่ Negative Space หรือตรงกบั Open Space (ส่ิงท่ีโล่ง) เช่น พ้ืนดิน สนามหญา้ พ้นื น้า ทอ้ งฟ้า สี (Color) สีนอกจากจะใหค้ ุณค่าทางดา้ นความงดงามแลว้ ยงั ใหค้ วามรู้สึกและมีผลทางดา้ นจิตวิทยา ของมนุษยด์ ว้ ย งานออกแบบสวนเป็นงานท่ีผอู้ อกแบบตอ้ งรู้จกั เลือกสีสนั ของพืชพรรณ วสั ดุ อุปกรณ์ต่างๆมาจดั วางใหเ้ กิดความสวยงาม ผอู้ อกแบบจึงตอ้ งเรียนรู้เก่ียวกบั ทฤษฎีสีพอสมควร และตอ้ งรู้วา่ พชื พรรณชนิดใดมีสีอะไร เพื่อนามากาหนดออกแบบไดถ้ ูกตอ้ ง พนั ธ์ุไม้ทใ่ี ช้ในการออกแบบจัดสวน การแบ่งจะแบ่งตามลกั ษณะรูปร่างที่ปรากฏภายนอกรวมท้ังวตั ถุประสงค์การใช้ ๑. ไมต้ น้ (Tree) เป็นไมเ้ น้ือแขง็ มีอายหุ ลายฤดู มีลาตน้ เด่ียว สูง คือช่วงของลาตน้ ที่สูงจาก พ้ืนดินถึงก่ิงแรก แบง่ ไดด้ งั น้ี - ไมต้ น้ ขนาดเลก็ มีความสูงประมาณ ๔-๖ เมตร เช่น หมากเหลือง แปรงลา้ งขวด - ไมต้ น้ ขนาดกลาง มีความสูงประมาณ ๑๐-๑๕ เมตร เช่น ชมพูพนั ธุ์ทิพย์ ชงโค จาปี - ไมย้ นื ตน้ ขนาดใหญ่ มีความสูงประมาณ ๑๕ เมตร ข้ึนไป เช่น จามจุรี ไทร ประดู่ ๒. ไมพ้ ุม่ (Shrubs) เป็นไมเ้ น้ือแขง็ มีอายหุ ลายฤดู ลาตน้ เต้ีย แตกก่ิงกา้ นชิดดิน ทาใหด้ ูมี หลายตน้ ก่ิงกา้ นจะแผอ่ อกเป็นพมุ่ ควบคุมรูปทรงไดง้ ่าย แบ่งไดด้ งั น้ี - ไมพ้ มุ่ เต้ีย มีความสูงไม่เกิน 1เมตร เช่น ชบาหนู ชวนชม พยบั หมอก - ไมพ้ ุม่ กลาง มีความสูง ๑.๕๐ –๒.๕๐ เมตร เช่น เขม็ มว่ ง ลิ้นกระบือ หูปลาช่อน โกสน - ไมพ้ มุ่ สูง มีความสูง ๓-๕ เมตร เช่น ทรงบาดาล โมก ๓. ไมเ้ ล้ือย (Vine) เป็นไมท้ ่ีตอ้ งอาศยั เกาะเกี่ยวพนั กบั สิ่งค้าจุนเพ่ือใหล้ าตน้ เจริญอยไู่ ดเ้ ป็นไม้ ที่เจริญเติบโตเร็ว เพราะไมม้ ีน้าหนกั กดตวั เอง ในไมป้ ระเภทน้ีรวมถึงไมพ้ วกรอเล้ือยดว้ ย โดยทว่ั ไปไมเ้ ล้ือยจะมีขนาดต้งั แต่ ๓ เมตรข้ึนไป เช่น การเวก กระเทียม เถา อญั ชนั ๔. ไมค้ ลุมดิน (Ground cover)เป็นพนั ธุ์ไมท้ ่ีมีขนาดเต้ีย เลก็ สวยงาม ขยายพนั ธุ์ง่ายโตเร็ว แผข่ ยายออกดา้ นขา้ งรวดเร็ว ใชค้ ลุมผวิ ดินเพ่ือสร้างความสวยงามหรือเพื่อประโยชนอ์ ่ืนๆในเชิง ประดบั ตกแตง่ มีความสูงประมาณ ๐.๓๐ เมตร เช่น ดาดตะกว่ั ผกั โขมแดง ผกั เป็ด

๕. ไมน้ ้า (Aquatic plant) เป็นพนั ธุ์ไมท้ ี่มีลกั ษณะพิเศษออกไป ท้งั รูปร่างของลาตน้ และใบ สามารถเจริญเติบโตไดด้ ีในน้า หรือริมน้า เช่น บวั ตา่ งๆ กกธูป เตย พทุ ธรักษาน้า ๖. ไมใ้ บ เป็นพนั ธุ์ไมท้ ี่ปลูกเพือ่ วตั ถุประสงค์ ท่ีจะใชป้ ระโยชน์จากรูปลกั ษณ์ของใบอนั สวยงาม สีสันแปลก มกั เป็นพนั ธุ์ไมท้ ่ีตอ้ งการแสงนอ้ ยถึงปานกลาง ความช้ืนสูง เช่นไมใ้ นสกลุ ฟิ โลเด็นดรอน พลูฉลุ ๗ ไมด้ อก เป็ นพนั ธุ์ไมท้ ่ีปลูกไวเ้ พ่ือวตั ถุประสงคท์ ่ีใชป้ ระโยชน์จากสีและความสวยงามของ ดอกท้งั ในเชิงการประดบั ตกแตง่ หรือปลูกเพ่ือจาหน่าย เป็นไดท้ ้งั ไมพ้ ุม่ ไมค้ ลุมดิน ไม้ เล้ือย หรือเป็นไมด้ อกลม้ ลุก ไดแ้ ก่ บานชื่น ดาวเรือง กหุ ลาบ ๘. ไมอ้ วบน้า เป็ นไมท้ ี่เจริญเติบโตไดด้ ีในพ้ืนที่ที่แหง้ แลง้ เป็นไมท้ ่ีมีน้าเป็นองคป์ ระกอบ ในลาตน้ สูง เช่น อากาเว่ หางจระเข้ ลิ้นมงั กร ๙. ไมด้ ดั ไมแ้ คระ เป็ นพนั ธุ์ไมท้ ี่ควบคุมการเจริญเติบโตทางรูปทรงลาตน้ เอาไว้ เพอ่ื ใหไ้ ด้ รูปทรง และขนาดตามที่ตอ้ งการ ไมแ้ คระมกั จะคงรูปท่ีแทจ้ ริงตามธรรมชาติไวเ้ พียงแต่ถูก ยอ่ ส่วนลงมา ไดแ้ ก่ ชาฮกเก้ียน สน ไทร การออกแบบ ปรับปรุงภูมิทัศน์ ในโรงเรียน การออกแบบ ปรับปรุงภูมิทศั น์ในโรงเรียน เป็นการเรียนรู้ในองคป์ ระกอบแห่งธรรมชาติ เขา้ ใจกระบวนการของธรรมชาติ กระบวนการทางสังคม ประเพณี วฒั นธรรม และสร้างสรรค์ แนวคิด แนวทาง วิธีการในการอยู่ร่วมกนั อย่างสันติ ระหวา่ งมนุษยก์ บั ส่ิงแวดลอ้ ม เอ้ืออาทรต่อ สรรพชีวติ สรรพสิ่ง คาวา่ “ภูมิทศั น์” เป็นคาผสม พจนานุกรม ฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ บญั ญตั ิวา่ ภูมิ ๑, ภูมิ- [พมู ,พูมิ-, พมู มิ-] น. แผน่ ดิน, ที่ดิน ทศั น-, ทศั น์, ทศั นะ, ทศั นา [ทดั สะนะ-, ทดั , ทดั สะ-] น. ความเห็น, การเห็น, เครื่องรู้เห็น, สิ่งที่เห็น, การแสดง, ทรรศนะ กใ็ ช.้ ภูมิทศั น์ หรือภูมิภาพ ตรงกบั ภาษาองั กฤษวา่ Landscape เป็นคาผสม land แปลวา่ ภูมิ (แผน่ ดิน) scape แปลวา่ ทศั น์ (สิ่งที่เห็น) หรือภาพ (รูปที่ปรากฏเห็น) แนวทาง การออกแบบ ปรับปรุงภูมิทศั น์ในโรงเรียน

๑. การสารวจสภาพภูมิศาสตร์ ๑.๑ การวเิ คราะห์ด้านกายภาพ เป็นการศึกษาและสารวจทรัพยากรทางกายภาพ ในพ้ืนท่ีและศึกษาความสมั พนั ธ์ระหวา่ งขอ้ มูลทรัพยากรดา้ นกายภาพ มีแนวทางการ ดาเนินงาน ดงั น้ี ๑) ศึกษาและสารวจทรัพยากรกายภาพท่ีมีในพ้ืนที่ ๑.๑) ลกั ษณะพ้นื ท่ี เช่นความลาดชนั ภูมิประเทศท่ีต้งั และการเขา้ ถึง พ้ืนท่ี เป็นตน้ ๑.๒) ลกั ษณะภูมิอากาศ เช่นอุณหภูมิ ทิศทางลม น้า การระบายน้าตาม ธรรมชาติและทิศทางการโคจรของดวงอาทิตย์ เป็ นตน้ ๑.๓) ลกั ษณะดิน เช่นชนิด ประเภทของดิน และความเป็นกรด-ด่าง เป็ น ตน้ ๑.๔) ลกั ษณะทางธรณีวทิ ยาและภูมิสัณฐาน เช่นชนิด-ประเภทของหิน แร่ และช่วงการกาเนิดของหินแร่ เป็นตน้ ๑.๕) ลกั ษณะของกายภาพอื่นๆ เช่นลกั ษณะมุมมอง และสาธารณูปโภค เป็ นตน้ ๒) ศึกษาความสัมพนั ธ์ระหวา่ งขอ้ มูลทรัพยากรดา้ นกายภาพ ๑.๒ การวเิ คราะห์ด้านชีวภาพ เป็นการศึกษาและสารวจทรัพยากรทางชีวภาพในพ้ืนท่ี และศึกษาความสัมพนั ธ์ระหวา่ งขอ้ มูลทรัพยากรดา้ นชีวภาพ มีแนวทางการดาเนินงาน ดงั น้ี ๑) ศึกษาและสารวจทรัพยากรชีวภาพท่ีมีในพ้ืนที่ ๑.๑) พืชพรรณเดิม นาขอ้ มูลจากผงั พรรณไม้ มาเป็นฐานในการศึกษา รายละเอียด ๑.๒) ชีวภาพ - สิ่งมีชีวติ อ่ืนๆที่เก่ียวขอ้ งกบั พืชพรรณ ๒) ศึกษาความสัมพนั ธ์ระหวา่ งขอ้ มูลทรัพยากรดา้ นชีวภาพ ๑.๓ การวเิ คราะห์พืน้ ทดี่ ้านสังคม ศิลปะ และวฒั นธรรม เป็นการศึกษาดา้ นสงั คม ศิลปะ และวฒั นธรรม ในทอ้ งถิ่นหรือชุมชนท่ีใกลโ้ รงเรียน และศึกษาความสมั พนั ธ์ ระหวา่ งขอ้ มูล มีแนวทางการดาเนินงาน ดงั น้ี ๑) ศึกษาดา้ นสังคม ศิลปะ และวฒั นธรรม ในทอ้ งถิ่นหรือชุมชนที่ใกลโ้ รงเรียน ๒) ศึกษาความสมั พนั ธ์ระหวา่ งขอ้ มูลดา้ นสงั คม ศิลปะ และวฒั นธรรม

แผนภาพแสดง การวเิ คราะห์พ้นื ที่ ๒. การใช้ประโยชน์พืน้ ที่ เป็นการรวบรวม วเิ คราะห์ จาแนกจดั กลุ่มขอ้ มูลจากการสารวจสภาพภูมิศาสตร์ นามากาหนดการใชป้ ระโยชนข์ องพ้นื ท่ี ใหส้ อดคลอ้ งกบั ศกั ยภาพ สุนทรียภาพ และ ความสมดุลของธรรมชาติ แผนภาพแสดง การใชป้ ระโยชนพ์ ้ืนท่ี ๓. จินตนาการสู่แนวคดิ ๓.๑ จินตนาการบนฐานธรรมชาติ การสมั ผสั เรียนรู้ธรรมชาติ สู่การสร้างสรรค์ งานดา้ นนฤมิตศิลป์ (creative art) ก่อเกิดแนวคิดในดา้ นต่างๆ เช่น - ดา้ นการวางแผนทว่ั ไป การมีส่วนร่วม ร่วมคิด ร่วมปฏิบตั ิ

- ดา้ นการกาหนดแนวคิดดา้ นการกาหนดพรรณไมเ้ ขา้ มาปลูกในโรงเรียน เนน้ ความ หลายหลากของพืช นาไปสู่สิ่งอ่ืนๆ อยา่ งสอดคลอ้ ง สมดุล โดยเลือก พรรณไมใ้ นทอ้ งถ่ิน - ดา้ นเทคนิค โดยการเลือกใชว้ สั ดุธรรมชาติที่หาไดง้ ่ายในทอ้ งถิ่น ก่อใหเ้ กิดความกลมกลืน - ดา้ นสภาพแวดลอ้ ม ใหค้ านึงถึงร่มเงา ร่มร่ืน ในช่วงท่ีเยาวชนอยทู่ ี่โรงเรียน เป็ นจุดเร่ิ มสาหรับโรงเรี ยน - ดา้ นหนา้ ที่ใชส้ อย กลุ่มพืชท่ีสนใจ เช่นสมุนไพร ผกั พ้นื เมือง - ดา้ นการวางผงั หลกั ทางกายภาพ ใหม้ ีสถานที่เรียนร่วมกนั นอกหอ้ งเรียน - ดา้ นสุนทรียศาสตร์ จดั ให้สีสนั เพอ่ื ดึงดูดเยาวชน เช่น ไมด้ อกท่ีหลากสี - ดา้ นสงั คมและวฒั นธรรม ความสัมพนั ธ์กบั ทอ้ งถ่ินโดยเป็นการเรียนรู้ ร่วมกนั กบั ชุมชนใกลเ้ คียง - ดา้ นจิตวทิ ยา สีที่นามาใชภ้ ายในโรงเรียนมีอิทธิพลตอ่ ความรู้สึก อารมณ์ เช่นสีแดง ให้ ความรู้สึกร้อนแรง สีเขียว ใหค้ วามรู้สึกสดช่ืน ๓.๒ การนาเสนอแนวคดิ สามารถนาเสนอตามลาดบั ข้นั ตอน ดงั น้ีแบบร่าง (Preliminary Design Stage) แบบแสดงแนวคิด (Concept Plan) พฒั นาแบบ (Development Design Stage) และแบบแนวคิดข้นั สุดทา้ ย (Final Design Stage) โดยในแตล่ ะข้นั ตอนสามารถจดั ทาแผนภาพ ทศั นียภาพ หรือแบบจาลอง(Model) ประกอบในการนาเสนอแนวคิด แผนภาพแสดง ผงั แสดงแนวคิด

๔. การจัดทาผงั ภูมิทัศน์ ๔.๑ เขยี นแบบการตกแต่งภูมิทศั น์ นาแนวคิดข้นั สุดทา้ ย (Final Design Stage) มาเขียนแบบแสดงการตกแต่งภูมิทศั น์ เช่นผงั การปลูกพืช (ไมต้ น้ ไมพ้ ุม่ ไมล้ ม้ ลุก หญา้ ) ผงั วสั ดุอุปกรณ์ ผงั ระบบน้า ผงั ไฟฟ้าส่องสวา่ ง ผงั การปรับพ้นื ที่ และแสดง รูปตดั รูปดา้ น แบบขยายต่างๆ ๔.๒ จัดทารายการประกอบแบบการตกแต่งภูมิทัศน์ ทารายละเอียดการปลูกพชื และส่วนต่างๆ ที่ปรากฏในแบบ เพ่อื ใหท้ ราบมาตรฐานดา้ นภูมิทศั น์ เช่น งาน SOFTSCAPE หมวดท่ี ๑ ดินและเครื่องปลูก หมวดที่ ๒ การเตรียมดินปลูก และป๋ ุย หมวดท่ี ๓ งานปรับระดบั และการปลูก หมวดที่ ๔ วสั ดุพืชพนั ธุ์ หมวดที่ ๕ การดูแล และรักษาภูมิทศั น์ หมวดที่ ๖ อุปกรณ์ และการดูแลรักษา งาน HARDSCAPE หมวดท่ี ๑ ขอ้ กาหนดทวั่ ไป หมวดที่ ๒ งานเตรียมพ้นื ที่ หมวดที่ ๓ งานพ้นื และผวิ พ้นื หมวดท่ี ๔ ส่ิงประกอบภูมิทศั นต์ ่าง ๆ หมวดที่ ๕ งานระบบรดน้าตน้ ไม้ หมวดท่ี ๖ งานระบายน้า หมวดที่ ๗ งานไฟฟ้าส่องสวา่ งภายนอก การตดั แต่งต้นไม้ ธรรมชาติของต้นไม้ การแต่งกิ่งน้ันต้องเข้าใจธรรมชาติของต้นไม้ให้มาก ต้นไม้แต่ละชนิดมี ลกั ษณะวิสัยแตกต่างกนั มีการตอบสนองต่อการแต่งกิ่งแตกต่างกนั ซ่ึงปัจจยั ต่างๆที่ตอ้ ง พิจารณา เช่นช่วงเวลาท่ีเหมาะสมในการแต่งก่ิง ปริมาณการแต่งก่ิง เป็ นตน้ ดง่ั คาพงั เพย ท่ีว่า “ไก่งามเพราะขน คนงามเพราะแต่ง” เปรียบเสมือนคนเราเม่ือไดม้ ีการแต่งตวั หรือ ตกแต่งอาภรณ์ ก็ทาให้ดูมีชีวิตชีวา สดใส สะอาด และเป็ นระเบียบ ตน้ ไมก้ ็เช่นเดียวกนั หากมีการดูแลรักษาและแต่งกิ่งท่ีดีแลว้ กจ็ ะเห็นความสวยงาม

จุดประสงค์ของการแต่งกง่ิ ๑. เพื่อใหต้ น้ ไมม้ ีโครงสร้างแขง็ แรงสมบูรณ์ ๒. เพอื่ ใหต้ น้ ไมม้ ีโครงสร้างเหมาะที่จะปฏิบตั ิงานในสวน รักษารูปทรงใหเ้ ป็ น ระเบียบ ๓. เพอ่ื ตอ้ งการให้ตน้ ไมอ้ อกดอกไดด้ ี ๔. เพอ่ื ใหต้ น้ ไมม้ ีผลกระจายทวั่ ตน้ สม่าเสมอ ๕. เพอ่ื ใหไ้ ดผ้ ลไมท้ ี่มีคุณภาพ ๖. เพอ่ื ป้องกนั การระบาดของโรคและแมลง หลกั การแต่งกง่ิ ๑. เคร่ืองมือสาหรับการแตง่ กิ่ง ๑.๑ เคร่ืองมือท่ีใช้ เช่น กรรไกร มีด ขวาน เล่ือยมือหรือเล่ือยยนต์ ๑.๒ เคร่ืองมือตอ้ งเปลี่ยนไปตามความเหมาะสมของก่ิง ๑.๓ เครื่องมือตอ้ งอยใู่ นสภาพของการใชง้ านไดต้ ลอดเวลา ๒. เทคนิคการแต่งก่ิง ๒.๑ การแตง่ ก่ิง อยา่ ใหก้ ่ิงฉีกขาด จะเป็นช่องทางใหเ้ ช้ือโรคสามารถเขา้ สู่ตน้ ไม้ ไดง้ ่ายข้ึน ๒.๒ พชื แต่ละชนิดมีการตอบสนองต่อการแตง่ ก่ิงต่างกนั ๒.๓ แตง่ กิ่งใหท้ ิศทางของก่ิงท่ีตอ้ งการเจริญออกมาในแนวท่ีกาหนดไว้ ๒.๔ หลงั จากแตง่ กิ่งแลว้ ตาท่ีอยตู่ รงส่วนปลายสุดของก่ิงจะเป็นตาแรกที่เจริญ ข้ึนมา ๒.๕ การแตง่ ก่ิงให้เริ่มจากการตดั ออกนอ้ ยๆ ก่อน และใหค้ านึงถึง ผลดี ผลเสีย ๓. รูปทรง รูปทรงท่ีเหมาะสมของพืชแต่ละชนิดแตกต่างกนั ข้ึนอยกู่ บั ลกั ษณะวสิ ยั ๔. ฤดูกาล การแตง่ กิ่งใหถ้ ูกตอ้ งตามฤดูกาล เช่นตน้ ไมท้ ี่มีการผลดั ใบ มกั จะแตง่ กิ่งในช่วง ระยะทิง้ ใบจนหมดเหลือเฉพาะกิ่งเทา่ น้นั ส่วนตน้ ไมท้ ่ีไม่มีการผลดั ใบ มกั จะแตง่ กิ่งภายหลงั การ เกบ็ เกี่ยว (ส่วนใหญม่ กั อยใู่ นช่วงฤดูฝน) ๕. การรักษาบาดแผลของรอยตดั ๕.๑ รักษาแผลรอยตดั ใหส้ ะอาด ๕.๒ ใชส้ ารเคมี เช่นยากาจดั เช้ือราพวกสารประกอบทองแดง (copper fungicide) หรือสารอื่นๆ เช่น สี น้ามนั ดินหรือปูนแดง ฯลฯ

ระบบการแต่งกงิ่ ๑. แบบเล้ียงยอดกลาง ๑.๑ รักษาลาตน้ กลางไวใ้ หส้ ูงข้ึน ๑.๒ เลือกกิ่งแขนงใหญท่ ่ีออกมาจากลาตน้ ๕ – ๒๐ กิ่ง จดั เรียงเวยี นสลบั กนั ข้ึน ไปไม่ให้ ซอ้ นทบั กนั ๑.๓ ขอ้ ดี คือตน้ มีโครงสร้างสูงและแขง็ แรง ขอ้ เสีย คือทรงตน้ ค่อนขา้ งสูงไม่ สะดวกตอ่ การปฏิบตั ิงาน และโอกาสกิ่งบงั ซอ้ นทบั กนั ไดม้ าก ทาใหก้ ่ิงดา้ นล่าง ไดร้ ับ แสงแดงไม่ทวั่ ถึง เช่น ทุเรียน มงั คุด และพลบั ๒. แบบตดั ยอดกลาง ๒.๑ เม่ือปลูกตน้ ไมไ้ ดป้ ระมาณ ๑ ปี ใหต้ ดั ยอดกลางทิ้ง แลว้ เลือกก่ิงแขนงท่ีอยู่ ใตร้ อยตดั ประมาณ ๓-๔ กิ่ง ที่มีมุมของก่ิงกวา้ ง และกิ่งไมซ่ อ้ นกนั ๒.๒ ขอ้ ดี คือมีทรงพมุ่ ที่เต้ียมาก การดูแลรักษาและการเกบ็ เก่ียวทาไดส้ ะดวก แสงแดด ส่องไดท้ ว่ั ถึง ขอ้ เสีย คือโครงสร้างของก่ิงอ่อนแอ ง่ามก่ิงเปราะและเป็นท่ีขงั น้า เช่น ทอ้ บว๊ ย ๓. แบบผสม ๓.๑ นาผลดีและผลเสียแบบเล้ียงยอดกลางและแบบตดั ยอดกลางมารวมกนั ๓.๒ ช่วงปี แรกเล้ียงตน้ ไมใ้ หต้ น้ สูงข้ึนมา และเลือกกิ่งแขนงท่ีสมบูรณ์ไว้ ๓-๕ กิ่ง ๓.๓ ตดั ยอดกลางทิ้ง แลว้ เล้ียงก่ิงแขนงใหเ้ จริญข้ึนมา ๓.๔ ขอ้ ดี คือโครงสร้างตน้ แขง็ แรง ขนาดความสูงเหมาะสมการดูแลรักษา สะดวก ขอ้ เสีย คือทาไดค้ ่อนขา้ งยาก ผแู้ ตง่ ตอ้ งมีความชานาญสูง ตอ้ งใชเ้ วลานานกวา่ ตน้ ไมจ้ ะเขา้ รูปทรง เช่น มะมว่ ง ส้ม ทุเรียนบางพนั ธุ์(พนั ธุ์ชะนี) ๔. แบบเป็นพุม่ เวน้ ก่ิงใหเ้ จริญมาจากโคน ๔-๕ ก่ิง แต่ละกิ่งมีขนาดคอ่ นขา้ งเท่ากนั ไมน่ ิยมใชเ้ นื่องจากตอ้ งค้ายนั ก่ิง ขอ้ เสีย คือก่ิงฉีกขาดไดง้ ่าย เช่น ลาไย ลิ้นจี่ และเงาะ ๕. การแตง่ กิ่งแบบอื่นๆ พชื บางชนิดตอ้ งการลกั ษณะการแต่งเฉพาะอยา่ งเพราะมีนิสยั การออกดอกตา่ งกนั เช่นองุ่น กาแฟ ปริมาณการแต่งกงิ่ ๑.แตง่ ก่ิงในปริมาณนอ้ ย แตง่ กิ่งไดโ้ ครงสร้างตามตอ้ งการ เช่นกิ่งที่แหง้ กิ่งท่ีเป็นโรค หน่อโคน ตน้ ก่ิงกระโดง และกิ่งท่ี อ่อนแอมากออก เช่น ส้ม ทุเรียน และเงาะ

๒. แตง่ ก่ิงในปริมาณปานกลาง แต่งกิ่งใหม้ ากกวา่ แบบแรก เพ่ือใหอ้ ยใู่ นสดั ส่วนท่ีสมดุล เช่น มะมว่ ง ลิ้นจ่ี ลาไย และมะนาวฝร่ัง โดยเฉพาะส่วนของตาที่อยปู่ ลายยอด เน่ืองจากมีลกั ษณะที่เรียกวา่ อานาจข่มของตายอด (apical dominance) จึงตอ้ งตดั เอาส่วนปลายก่ิงออก ตาขา้ งจึงเจริญข้ึนมาเป็ นยอดออ่ นและมีดอกได้ ๓. แต่งก่ิงในปริมาณมาก แตง่ กิ่งใหม้ าก ยดึ หลกั ของความสมดุล เช่น องุ่น นอ้ ยหน่า การปลูกพืช ระบบของการปลูก ๑. ระบบท่ีเป็นรูปแบบ (Formal system) ๑.๑ แบบสี่เหลี่ยมจตั ุรัส ระยะระหวา่ งตน้ เท่ากบั ระยะระหวา่ งแถว เช่น ๔ x ๔ เมตร ๑๐ x ๑๐ เมตร เป็นตน้ ๑.๒ แบบส่ีเหล่ียมผนื ผา้ ระยะระหวา่ งตน้ และระหวา่ งแถวของดา้ นหน่ึงยาวกวา่ อีกดา้ นหน่ึง เช่น ๖ x ๘ เมตร ๑๐ x ๑๒ เมตร เป็นตน้ ๑.๓ แบบสี่เหล่ียมซอ้ น เป็นการปลูกร่วมกนั ระหวา่ งไมป้ ระธาน (หลกั ) และไมแ้ ซม (รอง) ๒. ระบบเลยี นแบบธรรมชาติ (Informal system) ปลูกใหใ้ กลเ้ คียงกบั ธรรมชาติ เช่นปลูกตามแนวระดบั ความลาดชนั ปลูกปะปนกนั หลาย ชนิด เป็นตน้ การคานวณจานวนต้นปลูก สูตร จานวนตน้ ปลูก เทา่ กบั พ้นื ที่ปลูก(กวา้ งคูณยาว) หารดว้ ย ระยะปลูก (ระยะตน้ คูณระยะแถว) การเตรียมพืน้ ทป่ี ลกู ๑. การไถ แนวปฏิบตั ิ กรณีพ้นื ท่ีปลูกเป็นดินดานควรใช้ (subsoiler) ไถเพือ่ ทาลายช้นั ดินดานก่อนเพ่อื ใหม้ ีการ ระบายน้าท่ีดีข้ึน ๒. การวดั ระยะปลกู แนวปฏิบตั ิ

กรณีปลูกระบบที่เป็ นรูปแบบ (Formal system) อาศยั หลกั ของวชิ าเรขาคณิต โดยการออก มุมฉากที่มุมของจุดที่วดั ไวเ้ ป็ นหลกั ณ จุดแรก การออกฉากน้ีใชร้ ะยะ ๓ ๔ และ ๕ เมตร จดั เป็น สามเหลี่ยมมุมฉาก ก็จะไดแ้ นวปลูกท้งั สองทางเป็นมุมฉาก ๓. การเตรียมหลมุ ปลกู แนวปฏิบตั ิ ๓.๑ หลุมขนาดมาตรฐาน ความกวา้ ง ยาว และลึกดา้ นละ ๑ เมตร หรือตามความเหมาะสม ๓.๒ การขดุ หลุม ใหแ้ ยกช้นั ดินบนและช้นั ดินล่างออกจากกนั โดยสงั เกตท่ีสีของดิน ทิง้ ไว้ ประมาณ ๑ สัปดาห์ ๓.๓ ใหเ้ อาป๋ ุยหมกั ผสมกบั ดินช้นั บนใส่ท่ีกน้ หลุม ๔. การปลูก แนวปฏิบตั ิ ๔.๑ ถา้ เป็นไปไดค้ วรปลูกในตอนเยน็ ซ่ึงเป็ นช่วงท่ีแดดไม่ร้อนจดั ๔.๒ โกยดินผสมท่ีกลางหลุมออกใหก้ วา้ งและลึกมากกวา่ ขนาดของตุม้ ดิน ๔.๓ การใส่ป๋ ุยรองพ้ืนหรือป๋ ุยรองกน้ หลุม เนน้ ใหธ้ าตุอาหารฟอสฟอรัสมากกวา่ ธาตุ อาหารตวั อ่ืนๆ เช่น ป๋ ุยสูตร ๑๕-๓๐-๑๕ (เพราะธาตุฟอสฟอรัสจะเคลื่อนที่ไดไ้ ม่ เกิน ๑ เซนติเมตร) ๔.๔ เมื่อปลูกแลว้ ใหก้ ดดินที่อยรู่ อบๆตน้ ใหก้ ระชบั แต่ไมต่ อ้ งแน่นมาก และรดน้าทนั ที ๕. การคา้ ยนั แนวปฏิบตั ิ การค้ายนั มีหลายวธิ ี แต่ตอ้ งแขง็ แรง เพื่อป้องกนั ลม และยดึ ลาตน้ ในช่วงแรก ที่ตน้ ไมก้ าลงั ต้งั ตวั จะตอ้ งกระทาทนั ทีหลงั การปลูก และหลงั จากการใส่ไมค้ ้ายนั แลว้ ตน้ ไมจ้ ะตอ้ ง ต้งั ตรงแผก่ ่ิงกา้ นไดต้ ามปรกติ ไมค้ ้ายนั ตอ้ งเรียบแขง็ การขยายพนั ธ์ุพืช วธิ ีการขยายพนั ธุ์พืช ๑. การขยายพนั ธุ์โดยใชเ้ มลด็ เป็ นการนาเอาเมลด็ พันธ์ุมาเพาะเพ่ือให้งอกเป็ นต้นใหม่ มรี ากแก้วทสี่ มบูรณ์ หยง่ั ลงดินได้ลกึ ไม่หกั ล้มง่าย ๑.๑ ไม้ต้น แนวปฏบิ ัติ ๑. เตรียมเมล็ดพนั ธุ์ ซ่ึงตอ้ งแก่จดั สมบูรณ์ ๒. เมล็ดพนั ธุ์บางชนิดตอ้ งนามาแช่น้าร้อน กะเทาะเปลือก เพ่อื ใหน้ ้าซึมผา่ นเขา้ ไป

ช่วยเร่งการงอกของเมล็ด ๓. เตรียมแปลงเพาะหรือกระบะเพาะและดินผสมสดั ส่วน ๑:๑:๑ (ดินร่วน ๑ ส่วน ทรายหยาบ ๑ ส่วน ป๋ ุยอินทรีย์ ๑ ส่วน) ๔. โรยเมลด็ แลว้ กลบใหม้ ิดพอประมาณ แลว้ ตบหนา้ ดินใหแ้ น่นพอสมควร ๕. รดน้าใหช้ ุ่ม และใหแ้ ปลงเพาะเมลด็ ถูกแดดพอสมควร หมายเหตุ - การเพาะเมลด็ อาจทาในถุงเพาะชากไ็ ด้ - การเพาะเมล็ดจานวนมาก ควรตรวจสอบเปอร์เซ็นตค์ วามงอกของเมลด็ ก่อนเพาะ ๑.๒ ไม้ดอกไม้ประดบั แนวปฏิบตั ิ ๑. เตรียมวสั ดุเพาะเมลด็ อตั ราส่วน ๑:๑:๑ (ทราย ๑ สู่วน ขยุ มะพร้าว(หรือแกลบเผา) ๑ สู่วน ป๋ ุยอินทรีย์ ๑ ส่วน) ๒. นาวสั ดุปลูกใส่ตะกร้าพลาสติก (กระบะเพาะ) ใหร้ องดว้ ยกระดาษหนงั สือพมิ พ์ ๓. แบง่ ร่องห่างกนั ประมาณ ๒ เซนติเมตร โรยเมลด็ ลงในร่อง แลว้ โรยวสั ดุปลูกบางๆ กลบเมลด็ ๔. ตดั กระดาษหนงั สือพมิ พข์ นาดเท่ากบั ความกวา้ งและยาวของกระบะเพาะแลว้ พรมน้า เลก็ นอ้ ยก่อนวางทบั ดา้ นบนของวสั ดุปลูก หมายเหตุ - ดินผสมเพาะเมลด็ ควรอบฆา่ เช้ือก่อน - ในช่วงแรกหลงั จากเมล็ดงอกแลว้ ใหร้ ดน้าเบาๆ - ถา้ เมล็ดมีขนาดเลก็ มากไม่ตอ้ งทาร่องปลูกก็ได้ โรยเมลด็ ลงบนวสั ดุปลูกไดเ้ ลย ๒. การขยายพนั ธ์ุโดยใช้ส่วนต่างๆของพืช เป็นวธิ ีการที่ทาใหไ้ ดพ้ ืชตน้ ใหม่ที่ตรงตามลกั ษณะเดิม ๒.๑ การปักชา แนวปฏิบตั ิ ๑. เลือกกิ่งคอ่ นขา้ งสมบูรณ์ มีอายอุ ยา่ งนอ้ ย ๔ - ๖ เดือน ๒. ความยาวของกิ่งปักชา ประมาณ ๕ – ๒๐ เซนติเมตร และเป็นก่ิงที่มีตาท่ีสมบูรณ์อยา่ ง นอ้ ย ๑-๒ ตาที่จะเกิดเป็นยอดใหม่ ๓. การตดั ก่ิงตอ้ งใชม้ ีดหรือกรรไกรท่ีคมๆ และสะอาด ส่วนโคนตอ้ งตดั เป็นรูปปากฉลาม เพอ่ื เพิม่ พ้ืนท่ีใหร้ ากงอก ๔. การปักชาก่ิงลงในวสั ดุชา ใหป้ ักส่วนที่เป็นปากฉลามลงในวสั ดุชา ๑/๓ ของความยาว กิ่ง ควรปักใหเ้ อียงทามุมกบั วสั ดุชาเล็กนอ้ ย โดยหนั ส่วนท่ีเป็ นตาสมบูรณ์ไวด้ า้ นบน

๕. วสั ดุชาจะตอ้ งอุม้ น้าและระบายน้าไดด้ ี ๖. แปลงปักชาตอ้ งพรางแสงอยา่ งนอ้ ย ๕๐ เปอร์เซ็นต์ ๒.๒ การแยกหน่อ แนวปฏิบตั ิ ๑. หน่อที่จะทาการแยกน้นั ตอ้ งมีอายแุ ละขนาดพอเหมาะ มีรากออกจากหน่อพอประมาณ ๒. วสั ดุท่ีใชแ้ ยกหน่อตอ้ งคมและสะอาด ๓. หลงั จากแยกหน่อแลว้ ควรนาหน่อน้นั ไปชาในถุงแลว้ ต้งั ไวใ้ นโรงเรือน พรางแสง ประมาณ ๕๐ เปอร์เซ็นต์ ๔. รดน้าใหช้ ุ่มพอประมาณ ๒.๓ การตอนกง่ิ แนวปฏิบัติ ๑. เลือกกิ่งที่มีอายไุ ม่นอ้ ยกวา่ ๔-๖ เดือน ๒. การตอนในฤดูฝนรากจะออกง่ายกวา่ ฤดูอ่ืนๆ ๓. ใชม้ ีดตอนที่คมๆ ขว้นั รอบกิ่งที่จะตอน ๒ รอบ คือรอยขว้นั บนและล่าง ห่างกนั ขนาด เทา่ กบั ขนาดเส้นรอบวงของกิ่งตอน ใชม้ ีดกรีดระหวา่ งรอยขว้นั แลว้ ลอกเปลือกออก จากน้นั ใชม้ ีดขดุ เน้ือเยอ่ื เจริญบริเวณรอยขว้นั จากบนลงล่างใหร้ อบกิ่ง ๔. ใชว้ สั ดุที่สามารถเก็บความช้ืนไวไ้ ดน้ านๆ หุม้ ส่วนที่เป็นรอยขว้นั ๕. สังเกตเห็นรากงอกออกจากก่ิงตอนมีสีน้าตาลอ่อนหรือขาวนวล ก็สามารถตดั กิ่งตอน ไปชาในถุงปลูกได้ ๒.๔ การติดตา แนวปฏบิ ัติ ๑. เลือกตาท่ีจะนาไปติดกบั ตน้ ตอตอ้ งสมบูรณ์ดี ส่วนตน้ ตอน้นั ควรมีขนาดท่ีโต พอประมาณ ๒. วธิ ีการติดตารูปตวั ที (T ) ใชม้ ีดติดตากรีดเปลือกของตน้ ตอตามขวาง พอที่จะสอดตาลง ไปได้ แลว้ จึงกรีดตามยาวอีกคร้ังใหเ้ ป็ นรูปตวั ที (T) ๓. เฉือนตาจากตน้ พนั ธุ์ โดยใหเ้ ฉือนจากล่างข้ึนบน ลอกเอาเฉพาะเปลือกตาไปใชต้ ิดตา ๔. เสียบแผน่ ตาลงในรูปตวั ที (T) ตดั ส่วนเกินของแผน่ ตาใหส้ นิทกบั รอยกรีด ๕. พนั ดว้ ยพลาสติกใสใหแ้ น่นพอสมควร อาจเวน้ ส่วนท่ีเป็นตาอ่อนใหโ้ ผล่ออกมาแต่ตอ้ ง ระวงั ไมใ่ หถ้ ูกน้าจนแฉะและเน่าตาย

๒.๕ การทาบกง่ิ ๒.๕.๑ การทาบกงิ่ เพื่อเสริมราก แนวปฏิบตั ิ ๑. เพาะเมลด็ พนั ธุ์ตระกูลเดียวกนั กบั ตน้ ท่ีจะเสริม ๒. นาตน้ ท่ีเพาะไวม้ าปลูกชิดกบั ตน้ ท่ีจะเสริมราก ๓. ใหบ้ ากตน้ ท่ีจะเสริมใหร้ อยเท่ากบั รอยบากของตน้ ท่ีเพาะใหม่ แลว้ ทาบเขา้ หากนั ๔. พนั ดว้ ยพลาสติกใหแ้ น่น ๒.๕.๒ การทาบกงิ่ เพื่อเปลยี่ นพนั ธ์ุ แนวปฏิบตั ิ ๑. เพาะเมลด็ พนั ธุ์ตระกูลเดียวกนั กบั ตน้ ที่จะทาบกิ่ง ๒. บากก่ิงพนั ธุ์และตน้ ตอใหล้ ึกใกลเ้ คียงกนั แลว้ นามาทาบเขา้ ดว้ ยกนั ๓. พนั ดว้ ยเทปหรือพลาสติกใสใหแ้ น่น ๔. หลงั จากทาบกิ่งไดป้ ระมาณ ๑ เดือน ใหใ้ ชก้ รรไกรหรือมีดคมๆ ขว้นั ส่วนล่างของก่ิง พนั ธุ์ และส่วนบนของตน้ ตอเลก็ นอ้ ย เพอ่ื เป็ นการเตือนก่ิงพนั ธุ์และตน้ ตอ ก่อนตดั แยกจากกนั การบารุงรักษาพืชพรรณ ๑. การให้นา้ แนวปฏิบตั ิ ควรรดน้าอยา่ งสม่าเสมอในปริมาณท่ีเพียงพอกบั ความตอ้ งการของพืชแตล่ ะชนิด การใหน้ ้าควรใหต้ อนเชา้ หรือตอนเยน็ เพราะแดดไมร่ ้อนจดั ๒. การให้ป๋ ยุ แนวปฏิบตั ิ ป๋ ุยมี ๒ ประเภท คือป๋ ุยอินทรียแ์ ละป๋ ุยเคมี การใส่ป๋ ุยตอ้ งพิจารณาสภาพและลกั ษณะของดิน ชนิดของป๋ ุยตอ้ งตรงตามท่ีตน้ ไมต้ อ้ งการ ใส่ป๋ ุยในปริมาณท่ีตน้ ไมส้ ามารถนาไปใชป้ ระโยชนไ์ ดอ้ ยา่ งเพียงพอ และเหมาะสม ควรใส่ป๋ ุยในระหวา่ งท่ีตน้ ไมต้ อ้ งการ เช่นในช่วงการออกดอก หลงั ออกดอก ออกผลแลว้ และระหวา่ งฤดูฝน เป็ นตน้ ๓. การกาจัดวชั พืช แนวปฏิบตั ิ หมนั่ ถอนวชั พชื บริเวณรอบๆโคนตน้ เพราะวชั พืชอาจจะแยง่ อาหารของตน้ ไม้ และเป็นที่ หลบซ่อนของแมลงอนั เป็ นศตั รูของตน้ ไมไ้ ด้

๔. การป้องกนั และกาจัดแมลง แนวปฏิบตั ิ ควรเอาใจใส่ดูแลตน้ ไมอ้ ยา่ งสม่าเสมอ เช่นเก็บไข่แมลงและหนอนผีเส้ือไปทาลาย ตดั แต่งกิ่งใหโ้ ปร่งอยเู่ สมอ เพือ่ ใหแ้ สงแดดสามารถส่องไปยงั กิ่งกา้ นและลาตน้ ไดบ้ า้ ง ทาความสะอาดและถางวชั พชื รอบๆบริเวณท่ีปลูกตน้ ไม้ ซ่ึงอาจจะเป็นแหล่งหลบซ่อน ของแมลงศตั รูพชื บางชนิด ๕. การดูแลรักษาสนามหญ้า การรดน้าสนาม วนั ละ ๒ คร้ัง ในเวลาเชา้ หรือเยน็ ใหช้ ุ่ม ในวนั ฝนตกมากอาจลดปริมาณ การรดน้าได้ การถอนวชั พืช จะตอ้ งทาการถอนวชั พชื ออกทนั ที ตลอดเวลาท่ีทาการดูแลรักษาการแตง่ ผวิ หนา้ ในกรณีท่ีมีการยบุ ของดินข้ึนทาใหส้ นามไม่เรียบ ตอ้ งใชป้ ๋ ุยหมกั ผสมกบั ทรายละเอียด อตั ราส่วน ๑:๑ ร่อนผา่ นตะแกรงมุง้ ลวด แลว้ นามาโรยตามรอยยบุ ของสนามทุกคร้ังท่ีทาการตดั หญา้ และบดลูกกลิ้ง การตดั หญา้ ดว้ ยเคร่ืองโรตารีที่มีใบมีดคม โดยใหต้ ดั หญา้ ใหส้ ูง ๒.๕ เซนติเมตร จึงให้ คงความสูงของการตดั ไวเ้ ท่าเดิมตลอด การใหป้ ๋ ุย ใชป้ ๋ ุยยเู รีย ๔๖% ผสมน้าในอตั รา ๑ ชอ้ นโตะ๊ ต่อน้า ๒๐ ลิตร ฉีดหรือรดสนามใน อตั รา ๑ ลิตร/ ตร.ม. หรือ ๑ ปี๊ บ /๒๐ ตร.ม. ใชป้ ๋ ุย N-P-K สูตร ๑๕-๑๕-๑๕ เดือนละ ๑ คร้ัง กรณีสนามไมส่ วย มีหญา้ ข้ึนไมแ่ น่น มีหลายสาเหตุ เช่นดินแน่นเกินไป น้าขงั มีการ เหยยี บยา่ มาก เป็นตน้ แนวทางการแกไ้ ข คือ แนวทางท่ี ๑ ใหข้ ดุ หญา้ ออก พรวนดิน ใส่ป๋ ุยหมกั ปรับระดบั ปูหญา้ ใหม่ รดน้าและใช้ ลูกกลิ้งบดอดั ใหแ้ น่น แนวทางที่ ๒ ใหพ้ รวนดินโดยใชเ้ หล็กแหลมเจาะลึกประมาณ ๑๐ เซนติเมตร ปลูกหญา้ เสริม ใส่ป๋ ุย รดน้าและใชล้ ูกกลิ้งบดอดั ใหแ้ น่น องค์ประกอบที่ ๓ การศึกษาข้อมูลด้านต่างๆ เมื่อจดั การเรียนรู้ให้เยาวชนสัมผสั พืชพรรณซ่ึงเป็ นปัจจยั หลกั สัมผสั ทรัพยากรชีวภาพ ต่างๆ ท่ีมีชีวิต สัมผสั กับทรัพยากรกายภาพต่างๆ ไม่ว่าจะเป็ นสภาพแวดล้อมท่ีมีข้ึนเองตาม ธรรมชาติ หรือสิ่งที่มนุษยส์ ร้างข้ึน จึงเห็นวา่ ทรัพยากรต่างๆ ในโรงเรียนมีมากมาย การศึกษาให้ ละเอียดลึกซ้ึงจึงจาเป็นตอ้ งมีการจดั การท่ีดี ทาอยา่ งไรใหเ้ ยาวชนเขา้ ใจพรรณไมอ้ ยา่ งละเอียด ลึกซ้ึง เริ่มจากการพิจารณา วิเคราะห์ รูปลักษณ์ภายนอก เพื่อแยกส่วน หรือองค์ประกอบให้เป็ น

องคป์ ระกอบยอ่ ยๆ ผลที่ได้ คือ ไดส้ ่วนท่ีจะศึกษาท่ีเลก็ เมื่อกาหนดส่วนท่ีจะศึกษาและเรื่องที่ศึกษา ในส่วนต่างๆ ของพืชแลว้ จะไดห้ ัวขอ้ ศึกษาจานวนมาก เมื่อเวลามีนอ้ ย แบ่งหวั ขอ้ ศึกษาให้แต่ละ กลุ่ม การศึกษาตามเร่ืองท่ีกาหนดไวเ้ พียงส่วนเล็กๆ ผลการศึกษาจะมีความละเอียด นาผล การศึกษามารวมกนั งานก็จะสาเร็จในเวลาท่ีกาหนดได้ เกิดเป็ นผลงานร่วมกนั และเกิดคุณธรรม ในการทางานร่วมกนั ข้ึน การวเิ คราะห์รูปกายภายนอก เม่ือสัมผสั พืชพรรณ พิจารณา-จาแนก รูปลักษณ์ของร่างกาย ได้อวยั วะภายนอกหรือ ภาพรวมของอวยั วะก่อนในการวิเคราะห์คร้ังแรก เช่น ราก ลาตน้ ใบ ดอกและผล เมื่อพิจารณา- จาแนก รูปลกั ษณ์ของอวัยวะ คร้ังท่ี ๒ ไดอ้ งค์ประกอบของอวยั วะภายนอก เช่น วิเคราะห์ใบ ได้ ก้านใบและแผ่นใบ พิจารณา-จาแนกรูปลักษณ์ ขององค์ประกอบของอวัยวะ คร้ังที่ ๓ ได้ องค์ประกอบย่อยของอวยั วะภายนอก เช่น วิเคราะห์แผ่นใบ ได้ ตวั ใบและเส้นใบ ถ้าวิเคราะห์ ต่อไปไดอ้ ีก ก็วิเคราะห์ ก็จะไดอ้ งคป์ ระกอบย่อยของยอ่ ยของอวยั วะ เช่น แบ่งเส้นใบต่อไปไดอ้ ีก คือ เส้นกลางใบ เส้นแขนงใบ เม่ือวิเคราะห์จนไม่สามารถวิเคราะห์ได้แลว้ ต่อจากน้ัน วิเคราะห์ พ้ืนที่ท่ีจะศึกษา เม่ือไดพ้ ้ืนท่ีที่จะศึกษาแล้ว ให้พิจารณากาหนดคาท่ีใช้เรียกพ้ืนที่ศึกษาน้ัน เช่น พิจารณาใบไมห้ น่ึงใบ กาหนดพ้ืนท่ีศึกษาเป็ นตอนโคน ตอนกลาง และตอนปลาย การพิจารณา กลีบดอกบานบุรีซ่ึงลกั ษณะเชื่อมติดกนั เป็ นหลอดก็จะไดพ้ ้ืนที่ศึกษาเป็ นตอนโคน ตอนกลาง และ ตอนปลาย และแต่ละตอนก็ศึกษาท้งั ดา้ นนอกและดา้ นใน เม่ือไดส้ ่วนขององคป์ ระกอบยอ่ ยท่ีจะ เรียนรู้แลว้ กาหนดเร่ืองที่จะเรียนรู้ เช่น เร่ืองสี ผิว ขนาด เน้ือ รูปร่าง รูปทรง จะไดห้ วั ขอ้ ศึกษา เช่น ศึกษาเร่ืองสีของกลีบดอกตอนโคนดา้ นใน เป็ นตน้ จากน้นั นาผลการศึกษาแต่ละเรื่องมาจดั ระเบียบขอ้ มูล เปรียบเทียบขอ้ มูลเห็นความแตกต่างและความหลายในแตล่ ะเร่ืองท้งั ในชนิดเดียวกนั และต่างชนิดกนั สรุปผลการศึกษาในแต่ละเรื่อง เห็นความต่างในระดบั ต่างๆ เม่ือรู้ความหลายก็ สามารถนาองคค์ วามรู้ในแตล่ ะเรื่องมาจินตนาการสู่การใชป้ ระโยชนใ์ หเ้ หมาะสมได้ หัวข้อปฏบิ ัตกิ าร 1. ใหแ้ ตล่ ะกลุ่มเลือกพืชศึกษา ๑ ชนิด วเิ คราะห์พชื เป็นระดบั ใหไ้ ดล้ ะเอียดท่ีสุด (เฉพาะรูปลกั ษณ์ภายนอก) 2. ใหแ้ ต่ละกลุ่มศึกษาพชื ๑๐ ชนิด ตามหวั ขอ้ ท่ีกาหนดให้ และจาแนกผลการศึกษาเป็นระดบั ตา่ งๆ กลุ่ม ๑ รูปร่างขอบใบ กลุ่ม ๒ สีของใบ กลุ่ม ๓ รูปร่างใบ กลุ่ม ๔ ผวิ ใบ กลุ่ม ๕ เน้ือใบ กลุ่ม ๖ ขนาดของใบ 3. จินตนาการสู่การใชป้ ระโยชน์ดา้ นต่างๆ (แบบกวา้ งๆ ไมต่ อ้ งมีวธิ ีการ แตใ่ หอ้ ยบู่ นพ้นื ฐานของ ความเป็ นไปได)้

องค์ประกอบท่ี ๔ การรายงานผลการเรียนรู้ การรายงานผลการเรียนรู้ ในทางปฏิบตั ิการรายงานผลการเรียนรู้สามารถบูรณาการไดท้ ุกวชิ า ทุกกลุ่มสาระหรือจะ จดั การเรียนรู้แยกตา่ งหากกไ็ ดเ้ น่ืองจากวา่ สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนมีท้งั ชีวภาพ กายภาพท่ีจะให้ นกั เรียนไดส้ มั ผสั เรียนรู้เร่ิมจากชีวภาพที่พืชพรรณเป็นหลกั ซ่ึงไมส่ ามารถเรียนรู้แยกจากชีวภาพอื่น กายภาพอ่ืนไดเ้ นื่องจากวา่ อยใู่ นสิ่งแวดลอ้ มเดียวกนั มีความสัมพนั ธ์ซ่ึงกนั และกนั เสมอ การรายงาน ผลการเรียนรู้มีหลกั การคือ รู้สาระ รู้สรุป รู้สื่อ การวเิ คราะห์เพ่อื ทาความเขา้ ใจความหมายของคา - รู้สาระ จะรู้ไดต้ อ้ งสัมผสั เป็ นโดยใช้ หู ตา จมูก ลิ้น ผวิ กาย และจิตใจ รู้สาระหลกั - รู้สรุป ตอ้ งสรุปใหต้ รงตามที่ตนสัมผสั ไดไ้ มใช่ฟังจากคาบอกเล่า คดั ลอกจากอินเตอร์เน็ต - รู้ส่ือ ตอ้ งสรุปสาระใหส้ ้นั กะทดั รัด ไดใ้ จความ และส่ือใหเ้ ขา้ ใจ การรวบรวมผลการเรียนรู้ เช่น ผล จากเอกสาร ก.7-003 หนา้ ปก - ชื่อ และขอ้ มูล ผศู้ ึกษา หนา้ ๑ - ช่ือพ้ืนเมือง ขอ้ มูลพ้ืนบา้ น ฯลฯ หนา้ ๒-๗ - ลกั ษณะและขอ้ มูลพรรณไม้ ราก ลาตน้ ใบ ดอก ฯลฯ หนา้ ๗ - ภาพวาดทางพฤกษศาสตร์ หนา้ ๙ - ชื่อพ้นื เมือง ช่ือวทิ ยาศาสตร์ ประโยชน์ ฯลฯ หนา้ ๑๐ - ขอ้ มูลเพ่ิมเติมอ่ืนๆ การคดั แยกสาระสาคัญให้เป็ นหมวดหมู่ วเิ คราะห์ เรียบเรียงสาระ แยกสาระสาคญั ออกจากเน้ือหาเป็นสาระหลกั รอง ยอ่ ย สรุป สาระ หาคาเช่ือมประโยค ตดั คาซ้าซอ้ น คาฟ่ ุมเฟื อยเรียบเรียงประโยค ใหส้ ้ัน สื่อไดใ้ จความ สาระหลกั คือ สิ่งท่ีตอ้ งการรายงาน สาระรอง คือ สิ่งท่ีจะหนุนใหส้ าระหลกั มีน้าหนกั น่าเชื่อถือมากข้ึน สาระยอ่ ย คือ สิ่ง/บรรยากาศที่ทาให้ สาระหลกั สาระรอง มีความน่าสนใจ ตัวอย่าง เช่น ผล จากเอกสาร ก.๗-๐๐๓ หมวดชื่อพรรณไม้ - ชื่อพ้นื เมือง ช่ือวทิ ยาศาสตร์ ช่ือวงศ์ ชื่อสามญั หมวดรูปลกั ษณะ - ลกั ษณะวสิ ยั ลาตน้ ใบ ดอก ผล เมลด็ หมวดประโยชน์ - ประโยชนพ์ ้ืนบา้ น และ จากเอกสาร หมวดภาพ - ภาพวาด ภาพถ่าย หมวดสภาพนิเวศน์ - ถ่ินอาศยั นิสยั หมวดการขยายพนั ธุ์ - การขยายพนั ธุ์แบบต่างๆ จัดระเบียบข้อมูลสาระแต่ละด้าน

หมวดช่ือพรรณไม้ หมวดรูปลกั ษณะ หมวดประโยชน์ หมวดภาพ หมวดสภาพนิเวศน์ หมวดการขยายพนั ธุ์ จัดลาดบั สาระหรือกลุ่มสาระ หมวดลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ ลกั ษณะวสิ ยั ความสูง รูปร่างทรงพุม่ ความกวา้ งทรงพุ่ม ลาตน้ ชนิดของลาตน้ ผวิ ลาตน้ การมียาง สีของลาตน้ ใบ ชนิดของใบ การเรียงตวั ของใบบนก่ิง รูปร่างแผน่ ใบ ขนาดแผน่ ใบ รูปร่างปลายใบ รูปร่างโคนใบ รูปร่างขอบใบ สีของใบ ลกั ษณะพเิ ศษของใบ ดอก ชนิดของดอก ตาแหน่งท่ีออกดอก รูปร่างของดอก สีของดอก การมีกล่ิน กา้ นดอก กลีบเล้ียง กลีบดอก เกสรเพศผู้ กา้ นชูอบั เรณู อบั เรณู ละอองเรณู เกสรเพศเมีย ตาแหน่งของรังไข่ กา้ นเกสรเพศเมีย ยอดเกสรเพศเมีย ผล ชนิดของผล รูปร่างของผล สีของผล ลกั ษณะพิเศษของผล เมลด็ จานวนเมลด็ ตอ่ ผล รูปร่างของเมลด็ การงอกของเมล็ด การสรุปและเรียบเรียง ขอ้ มูลดา้ นลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ - ลกั ษณะวสิ ยั - ความสูง - ความกวา้ งทรงพมุ่ - รูปร่างทรงพุม่ ลาตน้ - ชนิดของลาตน้ - ลาตน้ ใตด้ ิน - ลาตน้ เหนือดิน - ผวิ ลาตน้ - สีของลาตน้ - การมียาง

การเรียนรู้รูปแบบการเขยี นรายงาน การเขยี นรายงานแบบวชิ าการ รูปแบบรายงานวชิ าการแบบสรุป (ตวั อยา่ ง) - บทนา - อุปกรณ์วธิ ีการ - ผลการศึกษา - สรุปและวจิ ารณ์ - เอกสารอา้ งอิง รูปแบบรายงานวชิ าการแบบสมบูรณ์(ตวั อยา่ ง) ๑. ส่วนนา - ปกหนา้ ปกใน ชื่อเรื่อง ชื่อผเู้ รียนรู้ สถานศึกษา ปี - บทคดั ยอ่ สรุปเน้ือหาและผลอยา่ งส้ันๆ - กิตติกรรมประกาศ คากล่าวขอบคุณผชู้ ่วยเหลือ - สารบญั เสนอส่วนประกอบ / เน้ือหาท้งั หมด - คาสาคญั และคายอ่ คาอธิบาย / ความหมาย ๒. ส่วนเน้ือเร่ือง - บทที่ ๑ บทนาหรือความเป็ นมา - บทที่ ๒ เอกสารและงานการศึกษาท่ีเกี่ยวขอ้ ง - บทท่ี ๓ วธิ ีดาเนินการศึกษา - บทท่ี ๔ ผลการศึกษา - บทท่ี ๕ สรุปและวจิ ารณ์ผลการศึกษา ๓. ส่วนอา้ งอิง - บรรณานุกรม หรือรายการอา้ งอิง - ภาคผนวก - ประวตั ิผวู้ จิ ยั การรายงานผลการเรียนรู้ทด่ี ีควรมีลกั ษณะสาคญั ๑. มีความถูกตรงตามท่ีตนสัมผสั ตอ้ งนาเสนอแต่สิ่งที่เป็นความจริง จากการสัมผสั จริง แลว้ นามาสรุป ไม่ใช่กะประมาณ ๒. มีความสมบูรณ์ ครบถว้ นท้งั สาระหลกั สาระรอง สาระยอ่ ย เพ่อื ใหผ้ อู้ า่ นมีความเขา้ ใจ ชดั เจน ๓. มีความกะทดั รัดชดั เจน ไมม่ ีขอ้ ความซ้าซอ้ น ใชค้ าเช่ือมประโยค ส้ัน ส่ือ กระชบั ได้ ใจความ

๔. มีความสอดคลอ้ งคงเส้นคงวา เป็นรูปแบบเดียวกนั เช่น ยอ่ หนา้ วรรค หน่วย ช่ือ วทิ ยาศาสตร์ ๕. มีความเชื่อมโยงต่อเนื่อง เน้ือหาเป็นระเบียบ ต่อเนื่องกนั ไมก่ ล่าวกลบั ไปกลบั มา เอกสารและสิ่งอ้างอิง http://wbc. msu.ac.th การเขยี นรายงานการวิจัยและการประเมินผลการวิจัย. 10 กรกฎาคม 2551 http://school.obec.go.th การเขยี นรายงาน . 10 กรกฎาคม 2551

องค์ประกอบท่ี ๕ การนาไปใช้ประโยชน์ทางการศึกษา การนาองค์ความรู้บูรณาการสู่การเรียนการสอน วตั ถุประสงค์ ๑. เพ่อื นาองคค์ วามรู้ที่ไดไ้ ปประกอบในการเรียนการสอนตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ ๒. เพ่อื เป็นการเผยแพร่องคค์ วามรู้เพื่อใหเ้ กิดองคค์ วามรู้ใหม่ ๓. เพอื่ สร้างแหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน ลาดับการเรียนรู้ ๑. การนาสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนบูรณาการสู่การเรียนการสอน ๑.๑ การจดั ทาหลกั สูตรและการเขียนแผนการสอนใหส้ อดคลอ้ งกบั หลกั สูตรแกน กลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ๑.๒ การจดั เก็บผลการเรียนรู้ ๒. เรียนรู้วธิ ีการเผยแพร่องค์ความรู้ ๒.๑ รวบรวมองค์ความรู้ทไี่ ด้จากการปฏบิ ัตกิ ารงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ในการเรียนรู้งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน เป็ นการเรียนรู้กบั ธรรมชาติ โดยมีพชื เป็ น ปัจจยั หลกั และชีวภาพอื่นเป็ นปัจจยั รอง เพื่อใหเ้ กิดองคค์ วามรู้ที่หลากหลาย จึงมีการดาเนินงาน ๕ องคป์ ระกอบ ซ่ึงแต่ละองคป์ ระกอบมีความรู้และ องคค์ วามรู้ ท่ีแตกตา่ งกนั ไป ตัวอย่าง การรวบรวมองค์ความรู้ในการปฏิบัติงานองค์ประกอบท่ี ๑ การจัดทาป้ายชื่อพรรณไม้ องคค์ วามรู้ ๑ ความหลากหลายของพรรณไม้ ๒ การทาผงั พรรณไม้ ๓ การบนั ทึกภาพหรือการวาดภาพทางวทิ ยาศาสตร์ ๔ การทาตวั อยา่ งพรรณไม้ ๕ แบบศึกษาพรรณไม้ ก.๗-๐๐๓ ๖ การสืบคน้ หาขอ้ มูลพรรณไม้ ๗ การจดั ระบบขอ้ มูลพรรณไม้ ๘ การทาป้ายชื่อพรรณไม้ เม่ือรวบรวมองคค์ วามรู้ในองคป์ ระกอบต่างๆ แลว้ กน็ าไปสู่การเรียนรู้ในลาดบั ต่อไป ๑.๒ วเิ คราะห์ พจิ ารณา หาวธิ ีการ ทจี่ ะนาไปใช้ประกอบการเรียนการสอน เมื่อไดอ้ งคค์ วามรู้มาแลว้ ใหว้ เิ คราะห์องคค์ วามรู้ดูเน้ือหาส่วนใด องคค์ วามรู้ใดท่ีสอดคลอ้ ง กบั วชิ าที่ตนสอน เพ่อื นามาเป็นส่ือ หรือใชเ้ ป็ นฐานในการจดั การเรียนการสอน จดั แหล่งเรียนรู้ ต่อไป

ตวั อย่าง การวเิ คราะห์ องค์ความรู้ แบบศึกษาพรรณไมต้ าม ก.๗-๐๐๓ วเิ คราะห์ กลุ่มพรรณไม้ ๑. กลุ่ม พืชไมผ้ ล ๒. กลุ่ม พืชไมด้ อกไมป้ ระดบั ๓. กลุ่ม พืชไมห้ อม ๔. กลุ่ม พืชสมุนไพร ๒. เผยแพร่องค์ความรู้ ๒.๑ การจัดกจิ กรรมบูรณาการสู่การเรียน การสอน การจดั กิจกรรมการเรียน การสอน เม่ือเราวเิ คราะห์องคค์ วามรู้จะเห็นวา่ มีองคค์ วามรู้ บางส่วนท่ีเก่ียวกบั วชิ าที่ตนสอนจึงนามาเป็นส่ือ หรือใชเ้ ป็ นฐานในการจดั การเรียนการสอน ตัวอย่าง สอนวชิ า สุขศึกษา เร่ือง พืชสมุนไพร ( จดั ทาสวนสมุนไพรในโรงเรียน ) เริ่มการเรียนรู้ วเิ คราะห์ กล่มุ พรรณไม้ ทาสวน กล่มุ พืชไม้ผล สมนุ ไพร รวบรวม กล่มุ พืชไม้ดอก กล่มุ พืชไม้หอม แบบศึกษาพรรณไม้ กล่มุ พืชสมนุ ไพร ก.๗-๐๐๓ ( องค์ความรู้ ) ๒.๒ การสร้าง การใช้ การดูแลรักษา และพฒั นาแหล่งเรียนรู้ การจดั แสดงพิพธิ ภณั ฑ์ เป็นสถานท่ีเกบ็ รวบรวมและแสดงสิ่งตา่ งๆโดยมีจุดมุ่งหมาย เพอื่ ใหเ้ กิดประโยชน์ต่อการ ศึกษา และก่อใหเ้ กิดความเพลิดเพลินใจ (หอ้ งงานสวนพฤกษศาสตร์ โรงเรียน ) การจดั พพิ ิธภณั ฑเ์ ฉพาะเร่ือง เฉพาะประเภท เช่น พิพิธภณั ฑพ์ ชื พิพิธภณั ฑส์ ัตว์ พพิ ิธภณั ฑด์ ิน หิน ฯลฯ

การจดั พพิ ธิ ภณั ฑธ์ รรมชาติวทิ ยา เป็นพพิ ธิ ภณั ฑท์ ่ีแสดงรวมท้งั ส่ิงมีชีวติ และส่ิงท่ีไมม่ ีชีวติ ไวใ้ นท่ี เดี่ยวกนั การใช้แหล่งเรียนรู้ ทสี่ ร้างขึน้ (๑) เป็นสื่อการเรียนการสอน (๒) แหล่งศึกษาหาความรู้ดว้ ยตวั เอง (๓) ท่ีพกั ผอ่ นหยอ่ นใจ ฯลฯ การดูแลรักษาแหล่งเรียนรู้ การพฒั นาแหล่งเรียนรู้ เม่ือเรามีพพิ ิธภณั ฑต์ า่ งๆ หรือ มีหอ้ งสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนแลว้ โดยสรุปตอ้ ง ทาใหพ้ พิ ธิ ภณั ฑน์ ้นั มีชีวติ น้นั หมายถึงวา่ เมื่อมีพพิ ิธภณั ฑ์แลว้ จะตอ้ งมีการใชห้ อ้ งพิพิธภณั ฑ์ มีการ ดูแลรักษาและมีการดูแลรักษาแหล่งเรียนรู้ การเปลี่ยนแปลง มีส่ิงใหม่ อยใู่ น พิพธิ ภณั ฑอ์ ยา่ ง ตอ่ เน่ือง

สาระการเรียนรู้ : ธรรมชาติแห่งชีวติ ธรรมชาติสร้างปัญญา โลกของเรามีท้งั ทรัพยากรชีวภาพและทรัพยากรกายภาพมากมาย โดยเฉพาะประเทศไทย อยใู่ นเขตร้อนช้ืนมีความหลากหลายทางชีวภาพ(Biological Diversity) ที่อุดมไปดว้ ยส่ิงมีชีวิต สัตว์ พืชพรรณ ทาให้เราไม่ขาดแคลนปัจจยั สี่ซ่ึงเป็ นพ้ืนฐานของชีวิต พืชพรรณดารงมีชีวิตอยู่ได้เหตุ เพราะมีการปรับตวั ให้เขา้ กบั สภาพแวดลอ้ มเฉกเช่นมนุษยถ์ า้ ไม่มีการปรับตวั เพื่อสนองต่อการกิน การนอน การหลบภยั การสืบพนั ธุ์ กจ็ ะสูญพนั ธุ์ ปัจจุบนั สภาพอากาศของโลกเปล่ียนแปลงไปเกิดสภาวะโลกร้อน ฤดูกาลที่แปรปรวนไป มนุษยม์ ิไดย้ งิ่ ใหญ่ไปกวา่ ธรรมชาติเลย มนุษยเ์ ป็ นเพียงส่วนหน่ึงของธรรมชาติท้งั มวล สิ่งที่มนุษย์ ทาไดก้ ็คือ เรียนรู้ ทาความเขา้ ใจและเขา้ ถึงธรรมชาติและกฎแห่งธรรมชาติเท่าน้นั จึงเป็ นหน้าท่ีที่ มนุษยพ์ ึงใชค้ วามรู้ความเขา้ ใจในธรรมชาติและกฎแห่งธรรมชาติน้นั ๆมารับใชม้ นุษยแ์ ละธรรมชาติ แวดลอ้ มท้งั มวล ภายใตค้ วามสานึกเขา้ ใจท่ีวา่ สรรพสิ่งลว้ นมีการเปล่ียนแปลงไปตามเงื่อนไขปัจจยั เคลื่อนตวั ไปในท่ามกลางเหตุและผล เพราะสิ่งน้ีมี สิ่งน้ีจึงมี เพราะส่ิงน้ีเกิด ส่ิงน้ีจึงเกิด เพราะส่ิงน้ี ดบั ส่ิงน้ีจึงดบั สรรพสิ่งจึงล้วนมีความเก่ียวขอ้ งสัมพนั ธ์กนั ไปตามกฎเกณฑ์แห่งธรรมชาติน้ีเอง ดงั น้ันการดาเนินการจดั การใดๆของมนุษย์ จึงตอ้ งคานึงถึงความเป็ นจริงภายใตเ้ งื่อนไขอนั จากดั แห่งการยอมรับได้ ท้งั การยอมรับไดท้ างธรรมชาติ การยอมรับไดท้ างโครงสร้างพ้ืนฐานและการ ยอมรับไดท้ างสงั คม ป่ าคือ อาหาร ป่ าคือ บา้ น ป่ าคือ เคร่ืองนุ่งห่ม ป่ าคือ ยารักษาโรค ป่ าคือ น้า ป่ า คือ ตวั ปรับสมดุลแห่งบรรยากาศแวดลอ้ ม และที่สุดป่ าคือ ชีวติ น่ีคือคุณค่าและความหมายแห่งป่ าท่ี เป็ นพ้ืนฐานของสรรพชีวิตท้งั มวล องคป์ ระกอบของป่ าก็มีพืชพรรณ สัตวอ์ ยูด่ ว้ ย มนุษยร์ ู้จกั ฝึ กฝน เรียนรู้และพฒั นา ดงั น้นั หากจะอนุรักษก์ ็ใชแ้ นวทางเริ่มจากการสัมผสั เรียนรู้ธรรมชาติ หรือส่ิงท่ีมี อยนู่ ้นั ๆโดยมีวธิ ีการที่เรียบง่ายเป็นธรรมชาติจะส่งผลต่อความสมดุลของสภาพแวดลอ้ ม พืชพรรณท่ีอยู่รอบตัวเราบอกกล่าวไม่ได้แต่เป็ นครูแสดงให้เราเข้าใจโดยปรากฏท่ี รูปลกั ษณ์ คุณสมบตั ิ พฤติกรรม ดงั น้นั เราตอ้ งเขา้ ไปสมั ผสั เรียนรู้ความจริงท่ีมีอยู่ คน้ หาความรู้แทท้ ี่ รู้ตรง รู้ชัด รู้รอบ รู้ประโยชน์ นามาพิจารณาให้เขา้ ใจถ่องแท้ และผสมผสานให้ลงตวั เพื่อสนอง พ้นื ฐานของชีวติ ซ่ึงความรู้ความเขา้ ใจและความสานึกท่ีถูกตอ้ งน้ีก็คือ ปัญญานน่ั เอง เอกสารและส่ิงอ้างอิง http://www.panyathai.th.gs ๑๐ กรกฎาคม ๒๕๕๑

สาระการเรียนรู้ : สรรพส่ิงล้วนพนั เกย่ี ว การศึกษาทรัพยากรชีวภาพและกายภาพ เป็นเรียนรู้วธิ ีการท่ีใชเ้ พ่ือให้เกิดมีความรู้เกี่ยวกบั ธรรมชาติ ของสรรพชีวติ ที่ใชเ้ ป็นปัจจยั ศึกษา และความเกี่ยวพนั ของสรรพส่ิงในธรรมชาติกบั ปัจจยั ที่ศึกษา ๑. บทนา กายภาพ หมายถึงสิ่งไม่มีชีวติ ที่มีการเปลี่ยนแปลง แตกตา่ ง ไปตามเหตุ และปัจจยั โลกมีอายปุ ระมาณ ๔,๖๐๐ ลา้ นปี เมื่อเริ่มแรกไม่มีสิ่งมีชีวิต โลกมีสัณฐานกลม เส้นผา่ น ศูนยก์ ลางจากข้วั โลกเหนือถึงข้วั โลกใต้ ๑๒,6๔๐ กิโลเมตร และเส้นผ่านศูนยก์ ลางในแนวนอน ๑๒,6๘6 กิโลเมตร ประกอบดว้ ย ๗ ทวปี ไดแ้ ก่ เอเชีย แอฟริกา อเมริกาเหนือ อเมริกาใต้ ยโุ รป ออสเตรเลีย และแอนตาร์กติกา ประกอบไปด้วย ๔ มหาสมุทรได้แก่ แปซิฟิ ก แอตแลนติก อินเดีย และอาร์กติก (ยุพดี เสตพรรณ, ๒๕๔๔) บนพ้ืนโลกมีลกั ษณะภูมิประเทศ ภูมิอากาศท่ี แตกตา่ งกนั และมีการเปล่ียนแปลงทางกายภาพตลอดเวลา ชีวภาพ หมายถึง สิ่งมีชีวติ ที่มีการเปล่ียนแปลง แตกต่าง ไปตามเหตุ และปัจจยั ส่ิงมีชีวติ คือการท่ีมีคุณสมบตั ิสามารถจาลองแบบตวั เองไดเ้ พื่อให้เกิดการถ่ายทอดเผา่ พนั ธุ์ สู่ รุ่ น ถัดไป ได้อย่างต่อ เน่ื อ งแล ะส ามารถด ารงชี วิต อยู่ได้ด้วยก ลไกก ารท างาน ท างเคมี ภ ายใน โครงสร้างตา่ งๆ ของส่ิงมีชีวติ น้นั (ประเวศ วะสี และคณะ, ๒๕๔๗) ๒. แนวทางการเรียนรู้ การจดั การใหผ้ เู้ รียน ไดส้ ัมผสั ปัจจยั ศึกษาดว้ ยกายและจิต คือตา หู จมูก ลิ้น ผวิ กาย และจิต ท่ีแน่วจรดจ่อ อ่อนโยน ดว้ ยอารมณ์ท่ีไหวใคร่รู้ แลว้ การรู้ ความรู้จริง เป็ นวทิ ยาการท่ีเกิดข้ึนใน ผเู้ รียน

วธิ ีการเรียนรู้ โดยการต้งั “คาถามที่เน่ืองต่อ” ๑. วตั ถุประสงคก์ ารต้งั คาถาม ๑.๑ เพอื่ ฝึกกระบวนการคิด วเิ คราะห์อยา่ งเป็ นระบบ ๑.๒ เพอ่ื ใหส้ มั ผสั ธรรมชาติและนาเขา้ สู่ ความรู้จริง ๒. เน้ือหาสาระในการต้งั คาถาม ๒.๑ การเรียนรู้ ธรรมชาติแห่งชีวิต เรียนรู้ธรรมชาติดา้ นรูปลกั ษณ์ คุณสมบตั ิและพฤติกรรม ผลการศึกษามีเน้ือหา สาระที่ละเอียด ๒.๒ การเรียนรู้ สรรพสิ่งลว้ นพนั เกี่ยว (ความสัมพนั ธ์ ผกู พนั หรือดุลยภาพ) เรียนรู้ธรรมชาติแห่งชีวติ ของปัจจยั ท่ีเขา้ มาพนั เกี่ยว(กายภาพ-ชีวภาพ) และเรียนรู้ ธรรมชาติของความพนั เก่ียว ระหวา่ งปัจจยั หลกั (พชื ) กบั ปัจจยั อื่นๆ ชีวภาพ ๑ ธรรมชาติของ ชีวภาพ ๒ ความพนั เกยี่ วระหว่างปัจจยั (สัมพนั ธ์ ผกู พนั ) ธรรมชาตขิ องปัจจยั หลกั (พืช) ธรรมชาตขิ องปัจจยั ทเี่ ข้ามาเกยี่ วข้อง รูปลกั ษณ์ รูปลกั ษณ์ คุณสมบัติ คุณสมบตั ิ พฤติกรรม พฤตกิ รรม ๓. ศิลปะของการต้งั คาถาม ๓.๓ คาถามนาหรือคาถามเร่ิมตน้ ตอ้ งเป็นคาถามที่กวา้ ง ไม่เฉพาะเจาะจง เปิ ดโอกาสให้ ผตู้ อบมีเวลาคิดวเิ คราะห์ คน้ หาคาตอบ และในช่วงตน้ ของการเรียนรู้ควรหลีกเลี่ยง คาถามท่ีปิ ดหรือคาถามท่ีแคบคือถามแลว้ ตอ้ งการคาตอบทนั ที ๓.๑ ผเู้ รียนต้งั คาถามในปัจจยั ศึกษา หรือเรื่องท่ีมีความสนใจ

๓.๒ ผเู้ รียนต้งั คาถามกบั ปัจจยั ศึกษาส่วนใดก่อนกไ็ ด้ และขณะเรียนรู้น้นั คาถามจะนาไปสู่ศาสตร์และศิลป์ วชิ าต่างๆ ๓.๔ ความเน่ืองต่อ ของคาถาม - ผถู้ ามต้งั คาถามท่ี ๑ หรือคาถามนา ผตู้ อบคน้ หาคาตอบท่ี ๑ - ผถู้ ามพจิ ารณาคาสาคญั (key word) ในคาตอบท่ี ๑ นามาต้งั เป็นคาถามที่ ๒ ผตู้ อบคน้ หาคาตอบท่ี ๒ การต้งั คาถามต่อไปใหน้ าคาสาคญั (key word) ใน คาตอบของคาถามก่อนหนา้ มาเป็ นแกนหลกั ๓.๕ ผถู้ ามต้งั คาถามในข้นั ตน้ ๑๐-๑๕ คาถามท่ีเนื่องตอ่ กนั เจาะลึกเรื่องใดเร่ืองหน่ึงให้ ละเอียด เรียนรู้ไปทีละเรื่องเช่นหวั ขอ้ ศึกษาเช่นสีของราก ผตู้ อบคน้ หาคาตอบจาก คาถาม แลว้ จึงต้งั คาถามต่อไปอีก (จานวนคาถามข้ึนอยกู่ บั ความสนใจของผตู้ อบ) ๓.6 การเปลี่ยนแนวการเรียนรู้ เพ่ือไมใ่ หเ้ กิดความซ้า ความน่าเบ่ือ การเปลี่ยนแนวคือ เม่ือผเู้ รียนไดเ้ รียนรู้ศาสตร์ใดมาระยะเวลาหน่ึงกอ็ าจจะเปลี่ยนไปเป็ นศาสตร์อื่นได้ ตามความเหมาะสม เช่นวทิ ยาศาสตร์เปล่ียนเป็นศิลปะศาสตร์ ศิลปะศาสตร์ เปล่ียนเป็นคณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์เปล่ียนเป็ นสงั คมศาสตร์ เป็นตน้ และตอ้ งมี จุดเปลี่ยนที่ดี คือเปล่ียนอยา่ งกลมกลืน ๓.๗ การส่ือภาษาในการต้งั คาถามระหวา่ งผถู้ ามกบั ผตู้ อบตอ้ งชดั เจน ๓.๘ ผถู้ ามควรฝึ กการต้งั คาถามในสิ่งที่ไมเ่ คยรู้มาก่อน ๔. การสรุปองคอ์ งคค์ วามรู้ ๔.๑ ผถู้ ามไม่ควรสรุปในเบ้ืองตน้ ๔.๒ ผตู้ อบแต่ละคนสรุปส่ิงที่ไดค้ น้ พบ ๔.๓ ผตู้ อบสรุปส่ิงท่ีคน้ พบเป็นองคค์ วามรู้ และนาไปเปรียบเทียบกบั องคค์ วามรู้เดิม หากมีความสอดคลอ้ งกนั ก็เป็นการยนื ยนั องคค์ วามรู้น้นั แตห่ ากไมส่ อดคลอ้ งกนั กเ็ ป็นการกาหนดองคค์ วามรู้ท่ีคน้ พบใหม่ เอกสารอ้างอิง : ประเวศ วะสี และคณะ, ๒๕๔๗. ธรรมชาตขิ องสรรพส่ิง การเข้าถึงความจริงทั้งหมด . บริษทั โอ. เอส.พริ้นติง้ เฮ้าส จากดั , กรุงเทพฯ. ๓๐๘ หน้า. ยพุ ดี เสตพรรณ, ๒๕๔๔. ชีวติ กบั ส่ิงแวดล้อม . พิศิษฐ์การพิมพ์ , กรุงเทพฯ. ๔๖๗ หน้า.

สาระการเรียนรู้ : ประโยชน์แท้แก่มหาชน การวเิ คราะห์ศักยภาพ ศักยภาพ เป็นอานาจแฝง คุณสมบตั ิ หรือภาวะท่ีแฝงอยใู่ นสิ่งต่างๆ วตั ถุประสงค์ของวเิ คราะห์ศักยภาพ ๑. ฝึกการคิด วเิ คราะห์ กระบวนการคน้ หาศกั ยภาพ ๒. ใหเ้ ห็นแนวทางการวเิ คราะห์ศกั ยภาพ การคิด วิเคราะห์ศักยภาพ ของธรรมชาติ มีกระบวนการเรียนรู้ ท่ีเล็ก ลึก ละเอียด โดยใช้ปัจจยั ศึกษาที่เป็ นธรรมชาติ คือ มีปัจจยั ศึกษาชีวภาพ คือ พืช เป็ นปัจจยั หลกั ชีวภาพอ่ืนเป็ นปัจจยั รอง ทรัพยากรกายภาพ เช่น ดิน น้ า แสง อากาศ เป็ นปัจจยั เสริม และมีวสั ดุ อุปกรณ์ เป็ นปัจจยั ประกอบ กระบวนการค้นหาศักยภาพ ๑. สัมผสั ปัจจยั ศึกษา ๒. เรียนรู้ปัจจยั ดา้ นรูปลกั ษณ์ โดยการพจิ ารณา ๓. เรียนรู้ปัจจยั ดา้ นคุณสมบตั ิ โดยการจิตนาการ ๔. เรียนรู้ปัจจยั ดา้ นพฤติกรรม โดยการวิเคราะห์ ๕. ฝึกวเิ คราะห์ศกั ยภาพ ของรูปลกั ษณ์ คุณสมบตั ิ พฤติกรรม ตัวอย่างที่ ๑ แนวทางการวเิ คราะห์ศักยภาพบนฐานธรรมชาติ การวเิ คราะห์ศกั ยภาพปัจจยั ชีวภาพ ดา้ นรูปลกั ษณ์ คุณสมบตั ิ พฤติกรรม ของพืช ๑. สมั ผสั ปัจจยั ศึกษา คือ ใบไผ่ ๒. กาหนดหวั ขอ้ การเรียนรู้ คือ ขอบใบส่วนซา้ ยตอนกลาง ของใบไผ่ ๓. พจิ ารณาศกั ยภาพดา้ นรูปลกั ษณ์ ขอบใบส่วนซา้ ยตอนกลาง ของใบไผ่ พบวา่ มีความบาง มีศกั ยภาพ เช่น ทาใหบ้ าด หรือเป็ นแผลได้ ๔. จินตนาการศกั ยภาพดา้ นคุณสมบตั ิ ขอบใบส่วนซา้ ยตอนกลาง ของใบไผ่ พบวา่ มีความคม แขง็ เหนียว น้าหนกั นอ้ ย มีศกั ยภาพ เช่น ทาใหบ้ าด หรือเป็นแผลได/้ ทาใหย้ ดึ หรือติด ๕. วิเคราะห์ศกั ยภาพดา้ นพฤติกรรม ขอบใบส่วนซ้ายตอนกลาง ของใบไผ่ พบวา่ เม่ือมีลมมากระทบกบั ขอบใบส่วนซา้ ยตอนกลางของใบไผ่ พบวา่ มีความไมน่ ่ิง เคลื่อนไหว เอนเอียงเลก็ นอ้ ย มีศกั ยภาพ เช่น ป้องกนั ภยั

๖. วเิ คราะห์ ศกั ยภาพรวม ของขอบใบส่วนซา้ ยตอนกลาง ของใบไผ่ มีศกั ยภาพ ทาใหบ้ าด หรือเป็ นแผลได/้ ทาใหย้ ดึ หรือติด / ป้องกนั ภยั ทาใหบ้ าด หรือเป็ นแผลได(้ มีความบาง มีความคม) เป็ นอานาจแฝง ทาใหย้ ดึ หรือติด เป็นคุณสมบตั ิแฝง ป้องกนั ภยั เป็นภาวะแฝง ตวั อย่างท่ี ๒ แนวทางการวเิ คราะห์ศักยภาพบนฐานธรรมชาติ การวเิ คราะห์ศกั ยภาพปัจจยั กายภาพ ดา้ นรูปลกั ษณ์ คุณสมบตั ิ พฤติกรรม ของ น้า ๑. สมั ผสั ปัจจยั ศึกษา คือ น้า ๒. กาหนดหวั ขอ้ การเรียนรู้ คือ น้า ๓. พิจารณาศกั ยภาพดา้ นรูปลกั ษณ์ น้ามีลกั ษณะเป็นของเหลว มีศกั ยภาพ คือ เปล่ียนสถานะได้ ๔. จินตนาการศกั ยภาพดา้ นคุณสมบตั ิ น้าเป็นสารทาละลาย มีศกั ยภาพ การอ่อนตวั / การรวมตวั ๕. วเิ คราะห์ศกั ยภาพดา้ นพฤติกรรม น้า เมื่อน้าไหลจากที่สูงลงสู่ท่ีต่า มีศกั ยภาพ คือ พลงั งาน ๖. วเิ คราะห์ ศกั ยภาพรวม ของ น้า มีศกั ยภาพ เปล่ียนสถานะได/้ การออ่ นตวั หรือการรวมตวั / พลงั งาน พลงั งาน เป็นอานาจแฝง การออ่ นตวั หรือการรวมตวั เป็นคุณสมบตั ิแฝง เปล่ียนสถานะได้ เป็นภาวะแฝง ตวั อย่างท่ี ๓ แนวทางการวเิ คราะห์ศักยภาพบนฐานธรรมชาติ (เชิงนามธรรม) การวเิ คราะห์ศกั ยภาพในลกั ษณะของปัจจยั ศึกษาท่ีเป็นนามธรรม อาจเป็ นความรู้สึก หรือ ภาวะของอารมณ์ท่ีเกิดข้ึนระหวา่ ง หรือหลงั จากเสร็จสิ้นกระบวนการเรียนรู้การวเิ คราะห์ศกั ยภาพ ของปัจจยั ศึกษา และการสร้างจินตนาการในการวเิ คราะห์ศกั ยภาพเพอื่ ใหเ้ ห็นภาพความเป็นจริง และแนวทางที่ปฏิบตั ิได้ เช่น การวเิ คราะห์ศกั ยภาพของพระราชดาริ ศกั ยภาพของส่ิงดีงาม ศกั ยภาพของคติธรรม ฯลฯ ตวั อย่าง การวเิ คราะห์ศกั ยภาพของ ของ พระราชดาริ คาวา่ ประโยชนแ์ ท้ ๑. กาหนดปัจจยั ศึกษา คือ ประโยชนแ์ ท้

๑.๑ ศึกษาความหมายของคาวา่ ประโยชนแ์ ท้ ตามความหมายในพจนานุกรมฉบบั ราช บณั ฑิตสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ - ประโยชน์ น. ส่ิงที่มีผลใชไ้ ดด้ ีสมกบั ที่คิดมุ่งหมายไว,้ ผลท่ีไดต้ ามตอ้ งการ, สิ่ง ท่ีเป็นผลดีหรือเป็นคุณ, เช่น ประโยชนข์ องการศึกษา ประโยชน์ของโรงเรียน. - แท้ ว. ลว้ นๆ เช่น เทียนข้ีผ้งึ แท,้ ไม่มีอะไรเจือปน, ไม่ปลอม, เช่น ทองแท.้ ๑.๒ ศึกษาความหมายคาวา่ ประโยชนแ์ ท้ จากพระราชดารัส พระบาทสมเด็จพระ เจา้ อยหู่ วั ฯ ปี พุทธศกั ราช ๒๕๔๐ “..ประโยชนแ์ ท้ เป็นผลประโยชนท์ ่ีสืบเนื่องมิรู้จบ ผกู พนั กบั ชีวติ ท้งั บาบดั ความขาด แคลนทางกาย ท้งั บารุงความผาสุกทางจิตใจของมหาชนทว่ั แผน่ ดิน..” ๒. พิจารณาศกั ยภาพดา้ นรูปลกั ษณ์ของ ประโยชนแ์ ท้ เป็นลกั ษณะของส่ิงดี เป็นคุณ ต่อตนและมหาชน ๓. จินตนาการศกั ยภาพดา้ นคุณสมบตั ิของ ประโยชนแ์ ท้ เป็นส่ิงที่มีความจาเป็ นต่อการดารงชีวติ ไมเ่ ป็นอนั ตรายต่อตนและสรรพส่ิง เกิดข้ึนสืบเน่ืองยาวนาน ชีวติ เป็นสุข พอเพยี ง แก่มหาชน ๔. วเิ คราะห์ศกั ยภาพดา้ นพฤติกรรมของ ประโยชนแ์ ท้ เป็นวธิ ีการในการจดั การ หรือภูมิปัญญา ท่ีต้งั อยบู่ นฐานคุณธรรม ที่มีความรัก ความปรารถนาดี มุง่ สู่ ผล ท่ีดีงามแก่มหาชน ๕. วเิ คราะห์ศกั ยภาพรวมของ ประโยชนแ์ ท้ ความสุขอยา่ งยงั่ ยนื สรุป การวเิ คราะห์ศักยภาพ คือ การสัมผสั ปัจจยั ศึกษา ที่เป็ นธรรมชาติ แลว้ เกิดกระบวนการคิด วเิ คราะห์ จากรูปลกั ษณ์ คุณสมบตั ิ พฤติกรรม ของปัจจยั ศึกษา เห็นศกั ยภาพที่มีในแต่ส่วน แต่ละข้นั แต่ละตอน เพื่อที่จะนาศกั ยภาพเหล่าน้นั ไปก่อเกิดการจินตนาการ เห็นคุณ ที่จะพฒั นาส่ิงใหม่หรือ วธิ ีการใหมด่ ว้ ยปัญญา จนเกิดมีภูมิปัญญา ท่ีต้งั อยบู่ นฐานคุณธรรม. เอกสารและสิ่งอ้างอิง พจนานกุ รม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ คู่มือการดาเนินงานสวนพฤกษศาสตร์ โรงเรี ยน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook