ความหมายของกฎหมายแรงงาน กฎหมายคุ้มครองแรงงานเป็ นกฎหมายท่ีบัญญัติถึงสิทธิและหน้าที่ระหว่างนายจ้างและลูกจ้าง โดยกาหนดมาตรฐานข้ันต่าในการจ้าง การใช้แรงงานและการจัดสถานที่และอุปกรณ์ในการทางาน เพื่อให้ผู้ทางานมีสุขภาพอนามัยดี มีความปลอดภัยในชีวิตและร่างกาย และได้รับค่าตอบแทนตามสมควร นายจ้างมีแรงงานในกรผลิตหรือบริการที่คงสภาพในระยะยาว ประเทศมีความเจริญทางเศรษฐกจิ และมคี วามสงบมน่ั คงทางสังคม
กฎหมายคุ้มครองแรงงานท่ใี ช้บังคบั ในปัจจุบัน คอื พระราชบญั ญตั คิ ุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 ซึ่งมผี ลบงั คับใช้ต้ังแต่วนั ที่ 19 สิงหาคม 2541 เป็ นต้นมา กฎหมายคุ้มครองแรงงาน เป็ นกฎหมายท่ีมีโทษทางอาญา เม่ือไม่ปฏิบัติตาม และพนักงานเจ้าหน้าท่ี (พนักงานตรวจแรงงาน) อาจดาเนินคดอี าญาได้เมอื่ ตรวจพบ แม้จะไม่มีลกู จ้างหรือผู้ใดร้องทุกข์หรือกล่าวโทษก็ตาม นอกจากได้รับโทษทางอาญาแล้ว นายจ้างที่ฝ่ าฝื นกฎหมายโดยไม่ให้สิ ทธิประโยชน์ แก่ ลูกจ้ างอาจถูกดาเนินคดีแพ่ งเพื่อบังคับให้ จ่ ายเงินหรื อชดใช้ค่าเสียหายแก่ลูกจ้าง หรือมีผู้มีสิทธิด้วยกฎหมายคุ้มครองแรงงานเป็ นกฎหมายเกี่ยวกับความสงบเรียบร้อย สัญญาหรือข้อตกลงระหว่างนายจ้างและลกู จ้างข้อใดทเ่ี ป็ นการต้องห้ามชัดแจ้งโดยกฎหมายคุ้มครองแรงงาน
แนวคิดในการปฏิบตั ิตามกฎหมายการตีความกฎหมายคุม้ ครองแรงงานในส่วนท่ีกาหนดความผิดและมีโทษทางอาญาจะตอ้ งให้เป็ นไปเช่นเดียวกบั การตีความกฎหมายอาญาทว่ั ไป ส่วนการตีความในกรณีมีปัญหาหรือขอ้ สงสัยวา่ จะตีความบทกฎหมายที่ไม่ชดั แจง้ ไปในทางใด ให้ตีความไปในทางหรือนยั ที่จะให้การคุม้ ครองลกู จา้ ง และสร้างปทสั ถานที่ดีแก่สังคมแรงงาน ยงิ่กวา่ ที่จะตีความไปในทางหรือนยั ท่ีจะใหป้ ระโยชน์แก่นายจา้ งหรือปัจเจกบุคคล
สภาพบงั คบั พระราชบญั ญตั คิ ุ้มครองแรงงาน พ.ศ.2541 เป็ นกฎหมายทมี่ โี ทษทางอาญา โทษทางอาญาทไี่ ด้บญั ญตั ไิ ว้มีท้งั หมด 9 ข้นั ข้นั ตา่ สุด ปรับไม่เกนิ 5,000บาท (มาตรา 145) ส่วนข้นั สูงสุด จาคุกไม่เกนิ 1 ปี ปรับไม่เกนิ 200,000 บาทหรือท้งั จาท้งั ปรับ (มาตรา 148) แต่ความผดิ ตามกฎหมายคุ้มครองแรงงานฉบบั นี้เป็ นความผดิ ทเ่ี ปรียบเทยี บได้ (ปรับได้) ผู้ทมี่ อี านาจเปรียบเทยี บปรับผู้กระทาความผดิ ทางอาญาตามกฎหมายคุ้มครองแรงงานสาหรับความผดิ ทเ่ี กดิ ขนึ้ ในกรุงเทพมหานคร ได้แก่ อธิบดกี รมสวสั ดกิ ารและคุ้มครองแรงงานหรือ ผู้ซ่ึงอธิบดมี อบหมาย สาหรับความผดิ ทเี่ กดิ ขนึ้ ในจงั หวดั นอกจากกรุงเทพมหานครได้แก่ผู้ว่าราชการจงั หวดั หรือผู้ซึ่งผู้ว่าราชการจังหวดั มอบหมาย (มาตรา 159)
Search
Read the Text Version
- 1 - 4
Pages: